การคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ต้องย่ืนชาระภาษีมีวิธี ดงั ต่อไปนี้ การคานวณภาษีเงินได้นิติบคุ คล การคานวณภาษีเงินได้ เมอ่ื สิ้นรอบระยะเวลาบญั ชี 2 1 นิติบคุ คลครึง่ รอบ วิธีคานวณ ระยะเวลาบญั ชี ภาษีเงินได้ เพือ่ ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี นิติบคุ คล เพอ่ื ย่นื แบบแสดงรายการชาระภาษี ตามประมวลรษั ฎากร ได้แก่ แบบ เงินได้นิติบคุ คลสาหรบั รอบระยะเวลา ภ.ง.ด.51 โดยคานวณภาษีจากฐาน บญั ชีได้แก่ ภ.ง.ด.50, ภ.ง.ด.52 และ กาไรสทุ ธิ ภ.ง.ด.55 15
สรปุ ตารางปรบั ลดอตั ราภาษีเงินได้นิติบคุ คล ปี 2557 ถงึ ปี 2558 ลาดบั ท่ี คาอธิบายการใช้อตั ราในการคานวณภาษี กาไรสทุ ธิ อตั ราภาษี ร้อยละ 1. กรณีลดอตั ราภาษี 20 (1.1) บริษทั หรอื ห้างห้นุ ส่วนนิติบุคคลรวมถงึ บริษทั จด ทงั้ จานวน ทะเบียนกบั ตลาดหลกั ทรพั ยฯ์ สาหรบั รอบ ยกเว้น ระยะเวลาบญั ชีปี ภาษี 2557-2558 ตาม พ.ร.ฎ. 15 (ฉบบั ที่ 530) แก้ไขเพ่ิมเติมโดย พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ 555) 20 (1.2) บริษทั หรอื ห้างห้นุ ส่วนนิติบุคคลท่ีมีทุนที่ชาระแล้ว ไมเ่ กิน 300,000 16 ในวนั สดุ ท้ายของรอบระยะเวลาบญั ชีไมเ่ กิน 5 ล้าน เกิน 300,000 บาท และมีรายได้จากการขายสินค้าและการให้ แต่ไม่เกิน 1,000,000 บริการในรอบระยะเวลาบญั ชีไมเ่ กิน 30 ล้านบาท เกิน 1,000,000 ขึน้ ไป ต่อเนื่องกนั สาหรบั กาไรสทุ ธิท่ีเกิดขึ้นในรอบ ระยะเวลาบญั ชี ให้เป็นไปตาม พ.ร.ฎ. (ฉบบั ท่ี 530) แก้ไขเพ่ิมเติมโดย พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ 555) และ พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ 564)
ลาดบั ท่ี คาอธิบายการใช้อตั ราในการคานวณภาษี กาไรสทุ ธิ อตั ราภาษี ทงั้ จานวน รอ้ ยละ (1.3) กิจการสานักงานปฏิบตั ิการภมู ิภาคตาม พ.ร.ฎ. (ฉบบั ท่ี 405) แก้ไขเพ่ิมเติม โดย พ.ร.ฎ. (ฉบบั ท่ี 508) และ พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ 535) ทงั้ จานวน 10 (1.4) กิจการนาเข้าส่งออกท่ีได้รบั อนุญาตจากกระทรวงพลงั งาน 10 ให้ค้าน้ามนั เชื้อเพลิงตาม พ.ร.ฎ. (ฉบบั ท่ี 426) (1.5) กิจการตงั้ อย่ใู นเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจตาม พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ ทงั้ จานวน 3 566) ทงั้ จานวน 3 (1.6) กิจการศนู ยก์ ลางการจดั หาสินค้าเพื่อการผลิต ระหว่างประเทศตาม พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ 518) 2. กรณีได้รบั อนุมตั ิจากกรมสรรพากรให้เสียภาษีจากยอดรายรบั ก่อนหกั รายจา่ ย ให้เสียภาษี ร้อยละ5 ของยอดรายรบั 3. กรณีประกอบกิจการที่ได้รบั ยกเว้นภาษีตามกฎหมาย หมายเหตุ : อตั ราภาษีเงินได้นิติบุคคลนัน้ จะเปล่ียนแปลงไปตามนโยบายของแต่ละรฐั บาล แต่วิธีการ คานวณภาษีเงินได้นิติบคุ คลยงั คงปฏิบตั ิเช่นเดิม 17
การคานวณภาษีเงินได้นิ ติบุคคลคร่ึงรอบระยะเวลาบญั ชี เพื่อยื่นแบบแสดง รายการ ภ.ง.ด.51 ซ่ึงเป็นภาษีเงินได้นิติบคุ คลครึง่ รอบระยะเวลาบญั ชีแรก ผ้มู ีหน้าท่ีเสียภาษีเงินได้นิ ติบุคคล ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจากดั บริษัทหรือห้าง ห้นุ ส่วนนิติบคุ คลตามกฎหมายไทย กิจการร่วมค้า บริษทั ที่ตงั้ ขึน้ ตามกฎหมายต่างประเทศ ท่ีประกอบกิจการในไทย นิ ติบุคคลอ่ืนท่ีตงั้ ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศกิจการของรฐั บาล ต่างประเทศและองคก์ รของรฐั บาลต่างประเทศ 18
รายได้และรายจ่ายที่นามาใช้คานวณภาษี ได้แก่ 1) เป็นรายได้และรายจ่ายท่ีเกิดขึน้ ในรอบ 6 เดือนแรก นับแต่วนั เร่ิมต้นของรอบระยะเวลาบญั ชี 2) ใช้เกณฑส์ ิทธ์ิในการรบั รรู้ ายได้และรายจ่าย วิธีคานวณภาษี 1) ประมาณการกาไรสุทธิ บริษทั หรือห้างห้นุ ส่วนนิ ติบุคคลต้องประมาณ การกาไรสทุ ธิจากรายได้และรายจ่ายท่ีเกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบญั ชีเมื่อได้ประมาณ การกาไรสุทธิทงั้ รอบระยะเวลาบญั ชีแล้ว ให้นาก่ึงหน่ึงของประมาณการกาไรสุทธิไป คานวณภาษีตามบญั ชีอตั ราภาษีเงินได้นิ ติบุคคล จะได้ภาษีเงินได้ นิ ติบุคคลท่ีต้อง ชาระครึ่งปี หากมีภาษีถกู หกั ณ ที่จ่ายสามารถนามาหกั ออกจากภาษีต้องชาระได้ 19
วิธีคานวณภาษีต้องเป็ นไปตามมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรษั ฎากร หมายเหตุ : - ประมาณการกาไรสุทธิขาดไปเกินกว่าร้อยละ 25 ต้อง เสียเงินเพ่ิมร้อยละ 20 ของภาษีจากกาไรสุทธิที่ขาดไป แต่เงิ นเพ่ิ มอาจลดลงเสียสูงสุดไม่เกิ นร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของภาษีที่ชาระขาดไปได้ - ขาดทนุ สทุ ธิหรือไม่มีรายได้กต็ ้องย่ืนแบบฯ 20
2) กาไรสุทธิ ธนาคารพาณิ ชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ บริษัท เครดิ ตฟองซิ เอร์หรือบ ริ ษัทที่ อธิ บดี ก ร ม ส ร ร พ า ก ร ป ร ะ ก า ศ ก า ห น ด ใ ห้ น า รายได้ แ ละราย จ่ ายที่ เกิ ดขึ้นจริ งในคร่ึง ร อ บ ร ะ ย ะ เ ว ล า บ ัญ ชี แ ร ก ม า ค า น ว ณ ห า กาไรสุทธิวิธีคานวณภาษีต้องเป็ นไปตาม มาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่ง ประมวลรษั ฎากรเมื่อได้กาไรสุทธิแล้วให้ นาไปคานวณภาษีตามบญั ชีอตั ราภาษีเงิน ได้นิ ติบุคคลจะได้ภาษีเงินได้นิ ติบุคคลท่ี ต้องชาระครึ่งปี ถ้ามีภาษีถกู หกั ณ ท่ีจ่าย ให้นามาหกั ออกจากภาษีต้องชาระได้ 21
เม่ือบริษทั หรือห้างห้นุ ส่วนนิ ติบุคคลที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้ นิ ติบุคคล ได้คานวณกาไรสุทธิตามเงื่อนไขท่ีบญั ญตั ิไว้ในประมวลรษั ฎากร แล้วให้นากาไรสุทธิมาคณู กบั อตั ราภาษีเงินได้นิ ติบุคคล จะได้ภาษีเงินได้นิ ติ บุคคลท่ีต้องชาระ ถ้าคานวณกาไรสุทธิออกมาแล้วปรากฏว่าไม่มีกาไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิ บริษัทไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิ ติบุคคล ซ่ึงในการคานวณ กาไรสุทธิตามหลกั กฎหมายภาษีอากรนัน้ กิจการ ต้องปรบั ปรุงรายการใน ส่วนที่เกี่ยวกบั รายได้และรายจ่าย เฉพาะรายการที่มีการบนั ทึกรายการตาม หลกั การบญั ชีท่ีรบั รองทวั่ ไป ซ่ึงแตกต่างไปจากที่กฎหมายภาษีอากรกาหนด ไว้ให้ถกู ต้องและสอดคล้องกบั กฎหมายภาษีอากร 22
การปรบั ปรงุ บญั ชีการเงินให้ถกู ต้องและสอดคล้องกบั กฎหมายภาษีอากร สามารถแสดง ได้ดงั นี้ กาไรสทุ ธิทางบญั ชี XX บวก รายจ่ายท่ีต้องห้ามหรือส่วนท่ีเกินเง่อื นไข XX รายจ่ายที่กฎหมายภาษีอากรกาหนดขึน้ XX รายได้ฝ่ ายทุน (Capital Gain) XX เงินบริจาคเพ่ือการกศุ ลสาธารณะหรือเพ่ือการสาธารณประโยชน์ XX เงินบริจาคเพื่อการศึกษาหรอื เพ่ือการกีฬา XX XX รวม XX หกั รายได้ท่ีได้รบั ยกเว้นภาษี XX ผลขาดทนุ สุทธิย้อนหลงั ไม่เกิน 5 ปี XX XX กาไรสทุ ธิก่อนหกั รายจ่ายเงินบริจาค XX หกั เงินบริจาคเพื่อการกศุ ลฯ (ไม่เกิน 2% ของกาไรสทุ ธิ) XX เงินบริจาคเพ่ือการศึกษาฯ (ไม่เกิน 2% ของกาไรสทุ ธิ) XX XX (กรณีมีรายจ่ายเงินบริจาคประเภทเดียวจะคณู ด้วย 2/102) กาไรสทุ ธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบคุ คล XX ภาษีเงินได้นิติบุคคลตามอตั ราภาษีของกาไรสทุ ธิท่ีกาหนด XX 23
บริษทั หรอื ห้างห้นุ ส่วนนิติบคุ คลที่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิ ติบคุ คลจากกาไร สทุ ธิ ต้องคานวณภาษีเงินได้นิติบคุ คล และยื่นแบบแสดงรายการเพื่อชาระภาษีปี ละ 2 ครงั้ ดงั นี้ 1) การคานวณเงินได้นิติบคุ คลครึ่งรอบระยะเวลาบญั ชี (หกเดือนแรก) มีรายละเอียดดงั นี้ 1.1 การคานวณภาษีเงินได้นิติบคุ คลครง่ึ รอบระยะเวลาบญั ชีจาก ประมาณการกาไรสทุ ธิตามมาตรา 67 ทวิ แห่งประมวลรษั ฎากร กาหนดให้บริษทั หรือห้าง ห้นุ ส่วนนิติบคุ คลที่มิใช่ บริษทั หรอื ห้างห้นุ ส่วนนิติบคุ คลจดั ทาประมาณการกาไรสทุ ธิหรอื ขาดทนุ สทุ ธิซ่ึงได้จากกิจการหรือเน่ืองจากกิจการท่ีได้กระทาหรอื จะได้กระทาในรอบ ระยะเวลาบญั ชีนัน้ และให้คานวณและชาระภาษีเงินได้นิติบุคคลจากจานวนกึ่งหนึ่งของ ประมาณการกาไรสทุ ธิในรอบระยะเวลาบญั ชีนัน้ 1.2 การคานวณภาษีเงินได้นิติบคุ คลคร่ึงรอบระยะเวลาบญั ชีจากกาไร สทุ ธิของรอบระยะเวลาหกเดือนแรก บริษทั หรอื ห้างห้นุ ส่วนนิติบคุ คลท่ีจะต้องคานวณภาษี และชาระภาษีจากกาไรสทุ ธิของรอบระยะเวลาหกเดือนนับแต่วนั แรกของรอบระยะเวลาบญั ชี ตามเง่ือนไขที่ระบไุ ว้ในมาตรา 65 ทวิ และ 65 ตรี แห่งประมวลรษั ฎากร ได้แก่ 24
1.2.1 บริษทั จดทะเบียน ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลกั ทรพั ย์ 1.2.2 ธนาคารพาณิชย์ ตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารพาณิชย์ 1.2.3 บริษทั เงินทุน บริษทั หลกั ทรพั ย์ หรือบริษทั เครดิตฟองซิเอร์ ตามกฎหมาย ว่าด้วยธรุ กิจเงินทนุ ธรุ กิจหลกั ทรพั ย์ และธรุ กิจเครดิตฟองซิเอร์ 1.2.4 บริษทั หรอื ห้างห้นุ ส่วนนิติบคุ คล ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ อธิบดีกรมสรรพากรได้กาหนดตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเก่ียวกบั ภาษีเงินได้ 2. การคานวณภาษีเงินได้นิติบคุ คลเม่ือสิ้นรอบระยะเวลาบญั ชีเมือ่ บริษทั หรือห้าง ห้นุ ส่วนนิติบคุ คลได้คานวณกาไรสทุ ธิตามเงื่อนไขที่บญั ญตั ิไว้ในประมวลรษั ฎากรแล้ว ให้นา กาไรสทุ ธิคณู กบั อตั ราภาษีเงินได้นิติบคุ คล จะได้ภาษีเงินได้นิติบคุ คลที่ต้องชาระ ถ้าคานวณ กาไรสทุ ธิออกมาแล้วปรากฏว่าไมม่ ีกาไรสทุ ธิหรอื ขาดทุนสทุ ธิ บริษทั ไมต่ ้องคานวณภาษีเงิน ได้นิติบคุ คล กล่าวคือไมต่ ้องเสียภาษีเงินได้นิติบคุ คล ซึ่งในการคานวณกาไรสทุ ธิตามหลกั กฎหมายภาษีอากรนัน้ กิจการต้องปรบั ปรงุ รายการในส่วนท่ีเก่ียวกบั รายได้และรายจ่าย เฉพาะรายการท่ีมีการบนั ทึกรายการตามหลกั การบญั ชีที่รบั รองทวั่ ไป ซ่ึงแตกต่างไปจากท่ี กฎหมายภาษีอากรกาหนดไว้ให้ถกู ต้องและสอดคล้องกบั กฎหมายภาษีอากร 25
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: