Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารสนเทศ

สารสนเทศ

Published by armpnd, 2016-02-13 03:55:42

Description: สารสนเทศ

Keywords: none

Search

Read the Text Version

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) เป็นรูปแบบหนึ่งของการท่องเที่ยวในปัจจุบันที่นานาประเทศ ให้การส าคัญ เพื่อการมุ่งไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศและนานาชาติ ตามหลักปฏิญญาสากลว่าด้วยการ พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน (Environmentally Sustainable Development) โดยให้ความส าคัญแก่ การให้การศึกษาหรือการเรียนรู้ หรือมุ่งเน้นให้เกิดการอนุรักษ์มากกว่าการจัดการลดหรือปราศจากผลกระทบ และนักท่องเที่ยวพึงพอใจเท่านั้น แต่การท่องเที่ยวเชิงนิเวศจะต้องเป็นการท่องเที่ยวที่มีความรับผิดชอบในแหล่ง ท่องเที่ยวธรรมชาติ มีการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม และให้การศึกษาแก่นักท่องเที่ยว ความหมายของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มีผู้ให้ความหมายของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ดังนี้ บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2542) ให้ความหมายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง การท่องเที่ยว ในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ โดยมีการให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้อง และให้ชุมชนท้องถิ่น และสร้างจิตส านึกให้ทุก ฝ่ายร่วมกันรับผิดชอบต่อระบบนิเวศอย่างยั่งยืน ราฟ บุคเลย์ (Raff Buckley, 1992 อ้างใน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย, 2542) นิยามว่า คือการท่องเที่ยวที่ถูกจัดการดูแลอย่างยั่งยืน อยู่บนพื้นฐานของธรรมชาติ มี การศึกษาด้านการเรียนรู้วัฒนธรรม และ/หรือ สิ่งแวดล้อมเอื้อประโยชน์ต่อการอนุรักษ์ และสร้างความพึง พอใจแก่นักท่องเที่ยว สาระส าคัญของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ศูนย์วิจัยป่าไม้ (2538) ได้สรุปสาระส าคัญของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศไว้ ดังนี้ 1. แหล่งท่องเที่ยวที่จะส่งเสริมควรเป็นพื้นที่ธรรมชาติ ที่มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดล้อมเป็นหลัก และอาจรวมถึงแหล่งประวัติศาสตร์ โบราณคดี และวัฒนธรรมที่ปรากฏในพื้นที่ ด้วย 2. ควรเป็นการท่องเที่ยวที่ทุกฝ่ายมีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมธรรมชาติและระบบ นิเวศ เป็นการท่องเที่ยวที่ไม่ท าให้ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม 3. เน้นให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัส ได้รับประสบการณ์ และการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติโดยตรง อีกทั้งเสริมสร้างจิตส านึกด้านสิ่งแวดล้อมอีกด้วย 4. เป็นการท่องเที่ยวที่ให้ประโยชน์กลับคืนสู่ธรรมชาติ เอื้อประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่นทั้ง ทางตรงและทางอ้อม

5. มุ่งเน้นคุณค่าลักษณะเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ของธรรมชาติที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวในการดึงดูดใจ นักท่องเที่ยว แต่ไม่เน้นที่การเสริมแต่ง พัฒนาสิ่งอ านวยความสะดวก จากที่กล่าวมาข้างต้น ได้สะท้อนภาพของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศไว้อย่างชัดเจน ว่าเป็นการ ท่องเที่ยวและการพัฒนาไปพร้อมๆกัน โดยเฉพาะการพัฒนาจิตส านึกของนักท่องเที่ยวให้มีความตระหนักใน การรักษาสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2544) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบหลักที่ส าคัญของการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มี 4 ประการคือ 1. องค์ประกอบด้านพื้นที่ เป็นการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติที่มี เอกลักษณ์เฉพาะถิ่น รวมทั้งแหล่งวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ (Eco- system) ในพื้นที่นั้นๆ 2. องค์ประกอบด้านการจัดการ เป็นการท่องเที่ยวที่มีความรับผิดชอบ (Responsible Travel) โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม มีการจัดการที่ยั่งยืน ครอบคลุมไปถึงการอนุรักษ์ทรัพยากร การจัดการสิ่งแวดล้อม การป้องกันและจ ากัดมลพิษ ภาวะ และควบคุม อย่างมีขอบเขต จึงเป็นการท่องเที่ยวที่มีการจัดการยั่งยืน 3. องค์ประกอบด้านกิจกรรมและกระบวนการ เป็นการท่องเที่ยวที่มีกระบวน การ เรียนรู้ โดยมีการให้ศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม และระบบนิเวศของแหล่งท่องเที่ยว เป็นการเพิ่มพูน ความรู้ ประสบการณ์ ความประทับใจ เพื่อสร้างความตระหนักและปลูกจิตส านึกที่ถูกต้องต่อนักท่องเที่ยว ประชาชนท้องถิ่น และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง 4. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม เป็นการท่องเที่ยวที่มีการค านึงถึงการมีส่วนร่วมของชุมชน และประชาชนท้องถิ่น และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง ที่มีส่วนร่วมในการคิด วางแผน ปฏิบัติตามแผน ได้รับ ประโยชน์ติดตามตรวจสอบ ตลอดจนร่วมบ ารุงรักษาทรัพยากรการท่องเที่ยว อันจะก่อให้เกิดผลประโยชน์ใน ท้องถิ่น ทั้งการกระจายรายได้ การยกระดับคุณภาพชีวิต และการได้รับผลตอบแทนเพื่อกลับมาบ ารุงรักษา และจัดการแหล่งท่องเที่ยวด้วย จากองค์ประกอบหลักที่ส าคัญของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศดังกล่าว จะเห็นว่าองค์ประกอบด้านการมี ส่วนร่วมนั้นจะก่อให้เกิดผลประโยชน์ในท้องถิ่น ทั้งการกระจายรายได้ การยกระดับคุณภาพชีวิต และการ ได้รับผลตอบแทนเพื่อกลับมาบ ารุงรักษา และจัดการแหล่งท่องเที่ยวด้วย

พื้นที่ตั้ง .. ดอยม่อนแจ่ม แจมไอดิน กลิ่นเมืองเหนือ ตั้งอยู่ ในอ ำเภอแม่ริม ห่ำงจำกตัว เมืองเชียงใหม่เพียงแค่ 40 นำทีเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์พัฒนำโครงกำรหลวงหนองหอย มี อำกำศเย็นสบำยตลอดปี มีหมอกยำมเช้ำ สำมำรถมองเห็นวิวทิวทัศน์ โดยรอบ มองเห็น ทิวเขำสลับกันไปไกลสุดลูกหูลูกตำ อีกด้ำนก็จะเป็นไร่ปลูกพืชต่ำงๆของโครงกำรหลวง บน ยอดม่อนแจ่มมีพื้นที่ ไม่มำกนักสำมำรถเดินชมได้จนทั่วได้อย่ำงสบำย ม่อนแจ่ม'อยู่บนสัน เขำบริเวณหมู่บ้ำนม้งหนองหอย เดิมที่บริเวณนี้ชำวบ้ำน เรียกว่ำกิ่วเสือเป็นป่ำรกร้ำง ต่อมำชำวบ้ำนเข้ำมำแผ้วถำงและปลูกผิ่น จนในท้ำยที่สุดโครงกำรหลวงมำขอซื้อพื้นที่เข้ำ โครงกำรหลวงหนองหอย เมื่อเข้ำเป็นส่วนหนึ่งของโครงกำรหลวง คุณแจ่ม-แจ่มจรัส สุชีวะ หลำนของ ม.จ. ภีศเดช รัชนี ประธำนมูลนิธิโครงกำรหลวงได้เข้ำมำพัฒนำและปรับปรุง บริเวณม่อนแจ่มให้กลำยเป็นสถำนที่ท่องเที่ยว โดยเฉพำะในลักษณะ ของแค้มปิ้งรีสอร์ท

จุดชมวิวหลักๆ ของ ดอยม่อนแจ่ม มีอยู่สองด้ำน ด้ำนหนึ่งเป็นทิวเขำสลับกันไป ไกลสุดลูกหูลูกตำ อีกด้ำนก็จะเป็นไร่ปลูกพืชต่ำงๆของโครงกำรหลวง ซึ่งจะเปลี่ยนพืชพรรณ ไปตำมฤดูกำล ..

นี่คงเป็นหนึ่งในสถำนที่ยอดฮิตล ำดับต้นๆ เมื่อมำเยือนเชียงใหม่ ยำมนี้ดอกไม้หลำกสีสันผลิบำนเคล้ำไปกับสำยหมอก เป็นควำมสวยงำมและควำมสดชื่น ที่เข้ำกันได้อย่ำงลงตัว

สิ่งที่น่ำสนใจอีกอย่ำงหนึ่งของทริปนี้ คือ “กำรพักแรม“ ในกระท่อม ซึ่งท ำจำกไม้ไผ่ หลังคำมุงด้วยหญ้ำคำ มีลำยร้อมอยู่โดยรอบ ห้องน้ ำก็มีอยู่ในบ้ำนพร้อมสรรพ หรือใคร อยำกกำงเต๊นท์ตำมคอนเซ็ปต์เที่ยวดอย เค้ำก็มีเต๊นท์ไว้สปอยล์พวกขำลุย อยำกท ำอำหำร กินเองก็พกไป อยำกกินแบบทันใจก็พกตังค์ เอำใจทั้งคนง่ำย คนยำก อยำกล ำบำกมำก น้อย

ควำมรู้สึกสดชื่นปลุกเร้ำควำมมีชีวิตชีวำ และยิ่งเพิ่มควำมตื่นตำตื่นใจเมื่อสำยหมอกค่อยๆ เปิด แลเห็นพืชไร่เป็นทิวแถวอย่ำงเป็นระเบียบและสวยงำม

ภำพของม่อนแจ่มที่คุ้นตำคงเป็นเพิงไม้ไผ่มุงด้วยใบจำกที่เรียงรำยตำมแนวยำว เพิงเล็กๆ ส ำหรับรับประทำนอำหำรในวันที่มองออกไปเห็นแต่ไอหมอกปกคลุม ..

จำกม่อนแจ่มลงมำยังโครงกำรหลวงแม่สำใหม่ซึ่งอยู่ไม่ไกลกันนัก กับวิวมุมสูงที่เผยให้เห็นถึงทิวเขำสลับซับซ้อนที่ปกคลุมไปด้วยไอหมอก

นี่คือแผนที่กำรเดินทำงที่ก ำลังมุ่งหน้ำสู่เชียงดำว จำกโครงกำรหลวงแม่สำใหม่มุ่งหน้ำสู่ อ.เชียงดำว โดยใช้เส้นทำงหลัก 107 ถึงปำกทำงเข้ำสู่ถ้ ำเชียงดำวซึ่งเป็นเส้นทำงเดียวกันกับบ้ำนระเบียงดำวจุดหมำยปลำยทำง หลักในครั้งนี้

เส้นทำงจำกปำกทำงสู่บ้ำนระเบียงดำวระยะทำงรำว 17 กิโลเมตรไต่ระดับควำมสูงคดเคี้ยว ทำงจะค่อนข้ำงแคบและปกคลุมไปด้วยต้นไม้ใหญ่ เบื้องหน้ำคือดอยหลวงเชียงดำวควำมยิ่งใหญ่แห่งขุนเขำในควำมรู้สึก “บ้ำนระเบียงดำว” บ้ำนพักในแบบเรียบง่ำยในหุบเขำ ก้ำวย่ำงแรกก็รับรู้ได้ถึงควำมเป็นธรรมชำติและอำกำศที่บริสุทธิ์

ที่นี่ไม่มีน้ ำอุ่น ไม่มีสัญญำณโทรศัพท์ ไม่มีสัญญำณเน็ต ไม่มีแอร์ มีไฟฟ้ำที่ได้จำกแสงแดด มีมุ้งไว้กันยุง และมีควำมสุขในแบบเรียบง่ำย

อำหำรที่ดูธรรมดำแต่กลับรู้สึกอร่อยที่สุดเมื่อได้ทำนควบคู่ไปกับวิวตรงหน้ำ ที่มำเสริฟกันถึงห้องพักรวมไปถึงอำหำรเช้ำที่มีให้เป็นอย่ำงดี ในรำคำเพียงหัวละ 500 บำท รวมที่พัก

เก้ำอี้ไม้เก่ำๆ ที่ดูธรรมดำบนระเบียงแห่งควำมฝัน แต่สิ่งที่พิเศษที่สุดคือ “ดอยหลวงเชียงดำว” ที่ตั้งตระหง่ำนรำวกับประกำรยักษ์ตรงเบื้องหน้ำ และนี่คือขุนเขำที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองไทย

อ้ำงอิง 1. http://www.paiduaykan.com/province/north/chiangmai/monjam.html 2. http://pantip.com/topic/33953174

'The world is a book and those who do not travel read only one page.' St. Augustine “โลกใบนี้เปรียบเหมือนหนังสือเล่มหนึ่ง และคนที่ไม่เคยเดินทางเลย ก็เปรียบเหมือนคนที่อ่านหนังสือเพียงหน้าเดียว” นำยปฏิพัทธ์ คงคำใส รหัสนิสิต 58161604 คณะเกษตรศำสตร์ ทรัพยำกรณ์ธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม สำขำ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีกำรอำหำร รำยวิชำ สำรสนเทศศำสตร์เพื่อกำรศึกษำค้นคว้ำ รหัสวิชำ 001221


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook