Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทีกการสังเกตการสอนโรงเรียนอนุบาลเมืองลำพูน

บันทีกการสังเกตการสอนโรงเรียนอนุบาลเมืองลำพูน

Published by ณัฐสุดา แสงเมือง, 2022-01-31 07:55:16

Description: โรงเรียนอนุบาลเมืองลำพูน
นางสาว ณัฐสุดา แสงเมือง 3014632008
นางสาว อุดมพรรณ รวบรวม 3014632010
นางสาว ทัศวรรณ ท้วมทอง 3014632022

Search

Read the Text Version

วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม Chiang Mai College of Dramatic Arts. การจัดรกาิยจงการนรผมลกการาเรรีสยังนเกกตารสอน ระยะเวลา ๑ เดือน ภาคเรียนที่ ๒ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สังเกตการสอนโรงเรียนอนุบาลเมืองลำพูน บ้านป่าเห็วอภิวงศ์ประชานุกูล

คำนำ รายงานเลม่ นเี้ ปน็ การสรปุ ผลการสงั เกตการสอน ของคณะศิลปศกึ ษา สาขานาฏศิลป์ไทยศึกษา วิทยาลัย นาฏศลิ ปเชียงใหม่ สถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป์ ซ่งึ ทางสถาบันได้มกี ารจดั การสงั เกตการสอนในสถานศกึ ษา โรงเรยี น อนุบาลเมืองลำพนู ภายใต้การกำกบั ดแู ลและประเมินผลจากอาจารย์พเ่ี ลย้ี งและผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาเสมือนหนึง่ ว่าเ)นอาจารยป์ ระจำสถานศึกษา และสอดคลอ้ งตามเกณฑ์การประเมินของคุรุสภาเก่ยี วกับดา้ นต่างๆ หัวข้อดา้ น การจดั การเรียนรู้ การพฒั นาการจดั การเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกับศักยภาพผู้เรยี น การทำวจิ ัยในชน้ั เรียน การจดั ทำ รายงานผลการเรยี นรู้ ความเปน็ ครู และคุณลักษณะความเป็นครู หวังเป็นอย่างยงิ่ วา่ รายงานเล่มนี้คงเป็นประโยชน์และเป็นข้อมูลสำหรับผบู้ รหิ าร คนาจารยน์ เิ ทศ หวั หนา้ สาขาวชิ า นักศกึ ษา และผู้ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ในการให้หวั ข้อแนะแนวทางในการพฒั นาการสงั เกตการสอน ต่อไป หากมขี ้อผดิ พลาดประการใดทีมงานผ็จัดทำขอน้อมรับคำแนะนำมา ณ โอกาสน้ี คณะผู้จดั ทำ นางสาวณฐั สดุ า แสงเมอื ง นางสาวอดุ มพรรณ รวบรวม นางสาวทัศวรรณ ท้วมทอง

สารบญั หนา้ 1 หวั ข้อ 3 ขอ้ มูลพนื้ ฐานโรงเรียน 4 ประวัติ สถานที่ตง้ั และทดี่ นิ สิ่งก่อสร้างของโรงเรยี น 5 ข้อมูลดา้ นบคุ ลากร 6 จำนวนนกั เรียนของสถานศกึ ษา 7 สภาพทว่ั ไปของอาคารสถานที่และบรเิ วณ บันทึกการสังเกตการณส์ อน แผนผงั โรงเรียน ภาคผนวก

1 ข้อมูลพ้นื ฐาน ชอ่ื สถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเมืองลำพูน (บา้ นปา่ เหว็ อภิวงศ์ประชานุกูล ) ที่ตง้ั 367 หมทู่ ี่ 5 ถนนสำพูน – เชยี งใหม่ ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จงั หวัดลำพนู รหัสไปรษณีย์ 51150 โทรศัพท์ 0 -5354 - 1382 โทรสาร 0- 5398- 3044 E – mail : anuban_mlp @ hotmail.com Website : www.anubanmlp.ac.th ข้อมูลดา้ นการบรหิ าร ชอ่ื - สกุล ผอู้ ำนวยการโรงเรียน นางวนั เพญ็ พูลสวสั ดิ์ วิทยฐานะ เชย่ี วชาญ วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด ศษ.ม. การประถมศึกษา ประกาศนียบัตรบณั ทิต สาขา บริหารการศกึ ษา ชื่อผชู้ ่วยหัวหนา้ สถานศึกษา ฝา่ ยวิชาการ นางจิตสภุ ัค มานะการ ฝา่ ยกจิ การนักเรียน นางสาว กฤติกา กนั จะนะ ฝ่ายบริหารทั่วไป นาย ขจรศักดิ์ พรหมช่วย ฝ่ายบริหารบุคคล นาง สรุ พี ร ขานสนั เทยี ะ ฝา่ ยบรหิ ารงบประมาณ นาง ไมตรี เทพสุติน วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ อัตลกั ษณ์ โรงเรียน วสิ ยั ทศั น์ โรงเรยี นอนบุ าลเมอื งลำพนู มงุ่ มน่ั พัฒนาผ้เู รียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พนั ธกิจ 1. พฒั นาคุณภาพการศึกษาใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 2. จัดการศกึ ษาใหป้ ระชากรวัยเรียนทุกคนไดร้ ับการศึกษาอย่างทว่ั ถงึ และมีคุณภาพ 3. สง่ เสรมิ และปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลกั สตู รและค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ 4. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาอย่างต่อเน่ือง 5. พัฒนากระบวนการบริหารให้มีประสทิ ธิภาพด้วยการบรหิ ารจดั การแบบมสี ว่ นรว่ ม

2 เป้าประสงค์หลัก 1. ผูเ้ รียนทุกคนมคี วามรู้ มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษา 2. ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รและคา่ นยิ มหลัก ของคนไทย 12 ประการ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษามคี วามรู้ ความสามารถ มีทกั ษะตามสมรรถนะและสามารถปฏบิ ตั ิงาน ไดต้ ามมาตรฐานวชิ าชพี 4. ผเู้ รียนทกุ คนไดร้ บั การพฒั นาพร้อมสูป่ ระชาคมอาเซียนและประชาคมโลก 5. โรงเรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน 6. ผรู้ ับบรกิ ารพงึ พอใจ กลยทุ ธ์โรงเรยี น กลยุทธ์ที่1 ปลกู ฝังคุณธรรม ความเปน็ ไทย และวิถชี ีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงความ รบั ผิดชอบตอ่ สังคมส่ิงแวดลอ้ มและห่างไกลยาเสพตดิ กลยุทธ์ท2ี่ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั ตามหลกั สตู รและสง่ เสริมความสามารถด้าน เทคโนโลยเี พื่อเป็นเครอื่ งมอื ในการเรียนรู้ กลยุทธท์ ่ี 3 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาท้ังระบบ ใหส้ ามารถจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนได้ อยา่ งมีคุณภาพ กลยทุ ธ์ท่ี 4 ขยายโอกาสทางการศึกษาใหท้ ัว่ ถงึ ครอบคลมุ ผูเ้ รยี นให้ไดร้ ับโอกาสในการพัฒนาเตม็ ตาม ศักยภาพ และลดอัตราการออกกลางคนั ให้เปน็ ศนู ย์ โดยระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนท่เี ข้มแขง็ กลยุทธท์ ี่ 5 พฒั นาประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การตามแนวทางการกระจายอำนาจ ทางการศึกษา หลักธรรมาภบิ าล เน้นการมีสว่ นรว่ มจากทุกภาคส่วนและความร่วมมอื กับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ เพ่อื สง่ เสริม และสนับสนนุ การจดั การศึกษา จุดเน้นการดำเนนิ งาน 9 จุดเน้น 1. หอ้ งเรียนคุณภาพสู่คณุ ภาพการศกึ ษา 2. การยกระดับภาษาอังกฤษ 3. โรงเรยี นคณุ ธรรม 4. การจัดการเรยี นรู้สะเต็มศึกษา (STEM Education) 5. การยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นข้ันพน้ื ฐาน 6. การจดั การเรยี นรตู้ ามนโยบายลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้

3 7. การจดั กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารีหรอื ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ในสถานศึกษา 8. การขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสสู่ ถานศึกษา 9. การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา อตั ลกั ษณ์ ปฐมวัย : มวี นิ ัย ยิม้ ใส ไหวส้ วย ประถมศกึ ษา : ซอ่ื สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ พอเพียง เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา : โรงเรียนนา่ อยู่ เชดิ ชคู ณุ ธรรม ประวตั ิ สถานทตี่ ั้งและทด่ี ินส่งิ ก่อสรา้ งของโรงเรยี น โรงเรยี นอนบุ าลเมอื งลำพูน เดมิ ชื่อโรงเรียนบ้านปา่ เหว็ (อภิวงศ์ประชานกุ ลู ) ก่อตง้ั เมื่อวันท่ี 9 เดือน สิงหาคม พุทธศักราช 2465 โดยอาศัยศาลาวัดเป็นท่ีศึกษาเลา่ เรียน ตั้งช่ือวา่ โรงเรียนประชาบาล ตำบลอโุ มงค์ เปน็ โรงเรียนแห่งแรกของตำบลอโุ มงค์ เปิดเรียนครง้ั แรกเริ่มจาก ชั้นประถมศึกษา โดยใชเ้ สอ่ื ปนู ่งั กบั พ้นื เรียน ต่อมาจำนวนนกั เรียนเพ่มิ มากข้ึนประกอบกบั ต้องขยายชนั้ เรยี น พระครคู ำอา้ ย อภิวฺโส เจา้ อาวาส วัดปา่ เห็ว ได้มองเหน็ ว่าที่ดนิ ของโรงเรยี นปจั จบุ ันเปน็ ท่ีว่างเปล่าคลา้ ยวดั ร้าง จงึ ได้ร่วมกับพระครูอธกิ าร สวุ รรณ สวุ ณฺโณ เจา้ อาวาสวดั สุวรรณาราม(ป่าลาน) และพระครดู วงแกว้ มณวี ณฺโณ เจ้าอาวาสวดั กอมว่ ง ซือ้ ท่ีดนิ บริเวณใกลเ้ คยี งเพ่มิ เตมิ ไดเ้ น้ือทท่ี ั้งหมด 3 ไร่ 3 งาน 77 ตารางวา และได้ชกั ชวนคณะศรทั ธาผูป้ กครอง นักเรยี นทำการก่อสร้างอาคารเรียนแบบ 2 ชน้ั มีมขุ ตรงกลาง ขนาด 69 เมตรจำนวน 10 หอ้ งเรยี น สนิ้ ค่าก่อสรา้ งทง้ั หมดประมาณ 11,250 บาท ไดท้ ำพธิ เี ปิดป้ายเม่อื วันที่ 5 มีนาคม พุทธศักราช 2484 เปลยี่ นช่ือ มาเปน็ โรงเรยี นบา้ นป่าเหว็ (อภวิ งศ์ประชานกุ ูล) ปพี ทุ ธศักราช 2527 โรงเรียนไดร้ ับการคดั เลือกใหเ้ ปน็ โรงเรียนดีเดน่ รับรางวลั พระราชทาน ปพี ทุ ธศักราช 2541 ไดร้ ับการคดั เลอื กจากสำนักงานการประถมศกึ ษาจังหวดั ลำพูน ให้เปน็ โรงเรียนตาม โครงการสหวทิ ยาเขตมหามงคล เฉลมิ พระชนมพรรษาพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวครบ 72 พรรษา เปลยี่ นชื่อ ใหมว่ ่า \" โรงเรียนอนุบาลเมืองลำพูน ( บ้านป่าเหว็ อภวิ งศป์ ระชานุกูล)” ได้รบั รางวัลดีเดน่ ระดับจงั หวดั โรงเรยี นดเี ดน่ รบั รางวลั พระราชทานระดับชมเชย ปีพทุ ธศักราช 2562 ไดร้ บั งบประมาณในการก่อสรา้ งอาคารเรียนแบบ 105ล/58 (ข) ตา้ นแผน่ ดนิ ไหว ขนาด 5 ห้องเรียน มูลคา่ 6,452,653,63 บาท โดยก่อสรา้ งเสร็จเมอื่ วันที่ 11 ธันวาคม 2562 แ ละได้รับ งบประมาณปรับปรุงฝ้าเพดานจำนวน 113,000 บาท วนั ที่ 9 ธันวาคม 2562 นางวันเพญ็ พลู สวัสดิ์ ผูอ้ ำนวยการได้ยา้ ยมาดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการ โรงเรยี นอนุบาลเมืองลำพนู เปน็ คนท่ี 17

4 วนั ที่ 12 - 13 ธันวาคม 2562 โรงเรยี นได้รบั การประเมนิ ภายนอกรอบ 4 จากคณะกรรมการรบั รอง มาตรฐานการศึกษา (สมศ.) ข้อมูลดา้ นบุคลากร จำนวนบุคลากร จำแนกตามหนา้ ท่ี เพศ ระดับการศึกษา เพศ ระดับการศึกษา ประเภทบคุ ลากร ชาย หญงิ ต่ำกวา่ ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาตรี ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น 1 1 ครูประจำการ 2 11 - 86 นักการ/ภารโรง 1- 1 -- พนกั งานราชการ -1- 3- พี่เลีย้ งเดก็ พกิ าร -1- 1- ลูกจา้ งชว่ั คราว (ครูผู้สอน) 1 7 - 8- ธรุ การ -1- 1- รวม 4 22 1 21 7

5 จำนวนนกั เรยี นของสถานศึกษาปีการศกึ ษา 2564 ข้อมลู ของนักเรียนแยกตามระดับช้ัน จำนวนนกั เรยี นทัง้ หมด 447 คน เพศชาย จำนวน 221 คน เพศหญงิ จำนวน 226 คน ระดบั ช้ัน เพศ หญิง รวม อนุบาลปที ี่ 1/1 ชาย 12 18 อนุบาลปีที่ 1/2 6 8 16 อนุบาลปีที่ 2/1 8 16 32 อนุบาลปที ี่ 2/2 16 17 32 อนุบาลปีที่ 3/1 15 16 33 อนบุ าลปที ี่ 3/2 17 14 31 ประถมศึกษาปีท่ี 1/1 17 16 31 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1/2 15 15 32 ประถมศกึ ษาปีท่ี 2/1 17 11 22 ประถมศกึ ษาปที ่ี 2/2 11 11 21 ประถมศกึ ษาปีที่ 3/1 10 17 29 ประถมศึกษาปีที่ 3/2 12 18 28 ประถมศึกษาปที ่ี 4/1 10 12 25 ประถมศกึ ษาปีที่ 4/2 13 11 21 ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/1 10 9 20 ประถมศึกษาปีท่ี 5/2 11 6 19 ประถมศึกษาปีที่ 6/1 13 8 18 ประถมศึกษาปที ี่ 6/2 10 9 19 รวมจำนวนท้ังหมด 10 226 447 221

6 สภาพท่วั ไปของอาคารสถานทแี่ ละบริเวณ 1.การจดั ระบบอาคาร(จัดให้มีอาคารอะไรบ้างและจดั อยา่ งไร) มกี ารแบง่ อาคารตามระดบั ชน้ั และอาคารพักครูอย่างชัดเจน อาคารทาสีให้มคี วามสดใสสมวยั ทำใหน้ กั เรียน อยากมาเรยี นมากข้ึน การเดินขน้ึ ลงบันไดมีการติดป้ายกำกับวา่ ควรเดนิ ชิดขวาทงั้ ข้นึ และลง 2.การจัดสภาพชองหอ้ งเรยี นดา้ นแสง เสยี ง ความร้อน(จดั อะไรบา้ งและจัดอยา่ งไร) แสงเขา้ ถึงไดด้ ี มลี มผา่ นตลอดเวลา แตย่ ังมีบา้ งหอ้ งท่ีขาดหน้าต่างทำให้บรรยากาศภาพในห้องดูไมค่ ่อยปลอด โปร่ง 3.การจัดการคมนาคมในโรงเรียน(จดั อะไรบา้ งและจัดอย่างไร) มเี จา้ หน้าตำรวจคอยใหค้ วามชว่ ยเหลือ และอำนวยความสะดวยในการขา้ มถนนและโบกรถ มีท่จี อดรถสำหรบั คณะครูโดยเฉพาะ มีการแบ่งทางเดินเทา้ และเสน้ ทางเดินรถอย่างชัดเจน 4.การจัดเพื่อสง่ เสริมบรรยากาศ ความสะอาด เรียบร้อยและการตกแตง่ (จัดอะไรบ้างและจัดอะไร) มีการให้นกั เรยี นทุกคนห้ามนำส่ิงของไวใ้ ตโ้ ต๊ะ เพื่อลดขยะภายในหอ้ งเรียน มีการจดั ทำชน้ั วางหนังสือของทุกคน เพ่อื ให้อยใู่ นท่ีเดยี วกนั เพ่อื งา่ ยต่อการใชเ้ รยี นในคาบเรียนของแตล่ ะวชิ า และเพ่ือป้องกันการลืมหนงั สอื มาเรียนอีก ด้วย ภายในและนอกห้องมกี ารจัดบอร์ดความรู้ใหก้ ับนักเรยี น ในแต่ละหอ้ งจะมเี จลลา้ งมือ 5.การจดั บรรยากาศหอ้ งเรียนใหน้ ่าอยู่ ป้ายนิเทศ มมุ หนังสือ มุมอุปกรณ์ และอนื่ ๆ (จดั อะไรบ้างและจัด อยา่ งไร) มีการจัดบอรด์ ให้ความรู้แก่นกั เรยี น มสี ่ือการสอนครบ มีส่ือการสอนด้านเทคโนโลยี เชน่ โทรทศั น์ เปน็ ต้น ทำให้ นกั เรียนมีความสนใจในการเรียนมากข้นึ ในแต่ละห้องจะมีมมุ ตา่ งๆและจดั ให้เป็นระเบียบแยกเปน็ โซนๆ เชน่ มมุ อปุ กรณ์ทำความสะอาด มมุ หนังสอื เป็นตน้ จะนำชน้ั วางหนังสอื มาไวท้ ุกห้อง เพื่อความเปน็ ระเบียบ

7 บันทกึ การสงั เกตการณ์สอน(Lesson Study) วันเดอื นปี 05/01/2565 เวลา 11:00 น. ถงึ 12:00 น. วิชา ศลิ ปะ(ดนตรี) ช้นั /ห้อง ประถมศึกษาปีที่1ห้อง1 แผนการสอนท่ี 1 หนว่ ยที่ 2 เรือ่ งที่ 1 ระดับเสียงดัง-เบา ผู้สงั เกต นางสาว ณฐั สุดา แสงเมอื ง ผ้สู อน ว่าท่ีร้อยตรีหญิงอโนธา อิริจา นางสาว อุดมพรรณ รวบรวม นางสาว ทศั วรรณ ทว้ มทอง ประเด็นการสงั เกตและการสะทอ้ นความคิด(STMAP) ประเดน็ ทสี่ งั เกต สิง่ ทพ่ี บ ขอ้ เสนอแนะ S-Student เด็กนกั เรียนหลายคนมคี วามกระตือรือร้นใน อาจจะมีกิจกรรมนนั ทนาการก่อน ความพร้อม ความ การเรียน ใหค้ วามรว่ มมือในการเรียนการสอน เขา้ สบู่ ทเรียนเพ่ือกระต้นุ ให้ กระตือรือรน้ ความเข้าใจ มกี ารเตรียมแบบฝึกหดั ครบทุกคน และมกี าร นกั เรยี นเกิดความสนใจในการเรียน การมีส่วนรว่ ม เวน้ ระยะหา่ ง แตร่ ะหวา่ งเรยี นนกั เรียนไม่สนใจ มากยิ่งข้ึน การเรยี นเปน็ บางคน I-Instrection ครฝู ึกใหน้ ักเรยี นปรบมอื ตามจังหวะ ฉ่ิง/ฉับ ไมม่ ี ขั้นตอนของกจิ กรรม และบอกลกั ษณะของเสยี งดงั -เบาและความชา้ - การเรยี นการสอน เรว็ ของจังหวะ สามช้นั สองช้ัน ชั้นเดยี ว กลยุทธ์การสอน M-Material 1) หนังสอื เรียน ดนตรี-นาฏศิลป์ ป.1 ไม่มี การใชส้ ่ือ การใช้แหล่ง 2) แบบวดั และบนั ทึกผลการเรียนรู้ เรียนรู้ และการใช้ ดนตรี-นาฏศิลป์ ป.1 เทคโนโลยี 3) บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite ดนตรี-นาฏศิลป์ ป.1 บริษัท เพลยเ์ อเบลิ จำกัด 4) เทปเพลง เพลงสตั วใ์ นทุ่งนา 5) ฉงิ่ 6) ใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง เสียงดงั -เบา

8 A-Atmosphere มีการจัดโต๊ะนง่ั เป็นระเบียบ เด็กนักเรยี นน่ังห่าง อาจจะมกี ารเปลยี่ นบรรยากาศชั้น การจัดบรรยากาศและ กันตามมาตรการป้องกนั โควดิ -19มีส่อื ให้ เรียน เชน่ บรเิ วณศาลาของ สภาพแวดล้อมของการ ความรรู้ อบห้องเรยี น แตห่ ้องเรยี นยังไม่มี โรงเรียนเพอ่ื เปลี่ยนบรรยากาศ เรียน หนา้ ต่าง อากาศอาจถ่ายเทไม่สะดวก P-Point จดุ เด่น : ครผู ู้สอน สอนเข้าใจงา่ ย มีเทคนิค จดุ เด่น/จุดด้อย วิธีการสอนให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนไดด้ ี ปญั หาและอุปสรรคการ อธิบายรายละเอียดชดั เจน เด็กสามารถปฏบิ ัติ บรรลุผลตามจุดประสงค์ ตามได้ดี จดุ ด้อย : อาจมีเด็กนกั เรียนบางคนไม่ค่อยให้ ความรว่ มมือในการเรยี นการสอนมากเทา่ ที่ควร ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม อาจจะมีกจิ กรรมนนั ทนาการกอ่ นเขา้ สบู่ ทเรยี นเพ่อื กระต้นุ ให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรยี น มากย่งิ ขน้ึ และการเปลย่ี นบรรยากาศชนั้ เรยี น เชน่ บริเวณศาลาของโรงเรียนเพ่ือเปลี่ยนบรรยากาศ

9 บนั ทกึ การสังเกตการณ์สอน(Lesson Study) วันเดอื นปี 20/01/2565 เวลา 13:00 น. ถงึ 14:00 น. วชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ ชัน้ /ห้อง ประถมศึกษาปีที่3 แผนการสอนที่ 1 หนว่ ยท่ี 5 เรอ่ื ง ดนตรีในท้องถนิ่ ผสู้ ังเกต นางสาว ณัฐสุดา แสงเมือง ผู้สอน วา่ ทีร่ อ้ ยตรหี ญงิ อโนธา อริ จิ า นางสาว อดุ มพรรณ รวบรวม นางสาว ทัศวรรณ ท้วมทอง ประเด็นการสังเกตและการสะท้อนความคิด(STMAP) ประเดน็ ทีส่ ังเกต สง่ิ ท่พี บ ขอ้ เสนอแนะ S-Student เด็กนกั เรียนหลายคนมคี วามพร้อมในการเรยี น ไม่มี ความพรอ้ ม ความ ใหค้ วามรว่ มมือในการเรยี นการสอนไดด้ ี มีการ กระตือรอื ร้น ความเขา้ ใจ ตอบคำถามไดใ้ นชน้ั เรยี น การมสี ว่ นร่วม I-Instrection ครูเข้าหอ้ งออนไลน์ และให้นักเรยี นดู ไมม่ ี แบบฝึกหดั และคำถามในแบบฝึกหดั พรอ้ มกับ ขน้ั ตอนของกจิ กรรม ให้ดวู ดี โี อเลก็ น้อยและเร่ิมตอบคำถาม ควรให้ดแู ละอธบิ ายเพ่ือให้นกั เรยี น การเรยี นการสอน เกดิ ความเขา้ ใจมากยง่ิ ข้นึ กลยทุ ธ์การสอน วดี โี อของดนตรีท้องถ่ินในภาคต่างๆจาก อินเตอรเ์ น็ต M-Material การจดั การเรยี นในห้องเรยี นออนไลน์มีการ การใชส้ ่อื การใชแ้ หล่ง พดู คยุ กับนกั เรยี นตลอดเพือ่ ไมใ่ หน้ กั เรียนเกิด เรยี นรู้ และการใช้ อาการเบื่อ เทคโนโลยี จุดเด่น:ใหน้ กั เรียนมสี ่วนร่วมในการตอบคำถาม A-Atmosphere ในช้นั เรียน การจดั บรรยากาศและ สภาพแวดลอ้ มของการ เรยี น P-Point จุดเดน่ /จดุ ด้อย

10 ปญั หาและอปุ สรรคการ จุดด้อย:บรรยากาศในหอ้ งเรยี นไมค่ ่อย บรรลุผลตามจดุ ประสงค์ เหมาะสมกับการเรียนมากเท่าไหร่ ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม การให้นักเรียนรว่ มตอบคำถาม หรอื อธิบายเพ่ิมเติมจะทำให้นักเรียนเขา้ ใจในเนอื้ หามากขน้ึ

11 บนั ทึกการสงั เกตการณ์สอน(Lesson Study) วันเดือนปี 05/01/2565 เวลา 13:00 น. ถงึ 14:00 น. วิชา ศิลปะ ชั้น/ห้อง ประถมศกึ ษาปที ี่4ห้อง2 แผนการสอนที่ 2 หนว่ ยท่ี 1 ผู้สงั เกต นางสาว ณฐั สดุ า แสงเมือง เรอ่ื ง การใช้สไี ม้ ผู้สอน นางสาว รญั ชญา ชัยอุปละ นางสาว อดุ มพรรณ รวบรวม นางสาว ทัศวรรณ ท้วมทอง ประเดน็ การสังเกตและการสะทอ้ นความคดิ (STMAP) ประเด็นทส่ี ังเกต ส่งิ ทพี่ บ ข้อเสนอแนะ S-Student เดก็ นกั เรยี นหลายคนมคี วามพรอ้ มในการเรยี น ไม่มี ความพรอ้ ม ความ ให้ความร่วมมือในการเรียนการสอนได้ดี มีการ กระตอื รอื รน้ ความเขา้ ใจ ตอบคำถามไดใ้ นช้นั เรียน การมีสว่ นร่วม I-Instrection ครูไดม้ ีการสอนใหเ้ ด็กนั่งพับเพียบทา่ ตัวพระ ควรแนะนำตวั ละครก่อนที่จะให้ และใหค้ วามรู้เก่ยี วพระพิฆเนศ สง่ั งานให้ นกั เรยี นระบายสี ขน้ั ตอนของกจิ กรรม นักเรียนระบายสีภาพตวั ละครในรามเกยี รต์ิ การเรียนการสอน ภาพขาวดำสำหรบั ระบายสี กลยทุ ธก์ ารสอน นักเรียนมีการนั่งเปน็ ระเบียบเรียบร้อย มกี าร M-Material เว้นระยะหา่ งตามมาตรการป้องกันโควดิ -19 การใชส้ ื่อ การใชแ้ หล่ง จุดเด่น:นกั เรยี นใหค้ วามสนใจในบทเรยี นไดด้ ี เรียนรู้ และการใช้ เทคโนโลยี A-Atmosphere การจัดบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมของการ เรียน P-Point จุดเดน่ /จุดดอ้ ย

12 ปัญหาและอุปสรรคการ จุดด้อย:ควรแนะนำตัวละครก่อนทีจ่ ะให้ บรรลุผลตามจุดประสงค์ นักเรยี นระบายสีก่อน นกั เรียนบางกลมุ่ ยงั มีการ เลน่ กนั ไม่ตงั้ ใจที่ไดร้ บั มอบหมาย ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม ควรแนะนำตวั ละครก่อนทจ่ี ะใหน้ ักเรียนระบายสี และมีกิจกรรมเสรมิ ความรู้และกจิ กรรมก่อนนำเข้าสบู่ ทเรียน

13 บนั ทึกการสังเกตการณส์ อน(Lesson Study) วนั เดือนปี 26/01/2565 เวลา 14:00 น. ถงึ 15:00 น. วชิ า ศลิ ปะ ช้นั /หอ้ ง ประถมศึกษาปีท่ี4หอ้ ง2 แผนการสอนท่ี 2 หนว่ ยที่ 1 เรือ่ ง การใชส้ ไี ม้ ผู้สังเกต นางสาว ณัฐสุดา แสงเมอื ง ผูส้ อน นางสาว รญั ชญา ชัยอุปละ นางสาว อดุ มพรรณ รวบรวม นางสาว ทศั วรรณ ทว้ มทอง ประเดน็ การสังเกตและการสะท้อนความคดิ (STMAP) ประเด็นทสี่ งั เกต สิง่ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะ S-Student เดก็ นักเรยี นหลายคนมีความพร้อมในการเรียน ไมม่ ี ความพร้อม ความ ให้ความร่วมมือในการเรยี นการสอนไดด้ ี มีการ กระตือรือรน้ ความเขา้ ใจ ตอบคำถามไดใ้ นช้ันเรยี น การมีสว่ นรว่ ม I-Instrection ครไู ด้มีการสอนใหเ้ ดก็ นัง่ พบั เพียบทา่ ตวั พระ ควรแนะนำตวั ละครก่อนที่จะให้ และให้ความรู้เกีย่ วพระพิฆเนศ ส่ังงานให้ นักเรยี นระบายสี ขนั้ ตอนของกจิ กรรม นกั เรียนระบายสภี าพตวั ละครในรามเกียรต์ิ การเรียนการสอน ภาพขาวดำสำหรบั ระบายสี กลยทุ ธ์การสอน นักเรยี นมีการนั่งเปน็ ระเบียบเรียบร้อย มกี าร M-Material เวน้ ระยะหา่ งตามมาตรการป้องกนั โควิด-19 การใชส้ ือ่ การใช้แหล่ง จดุ เดน่ :นกั เรียนใหค้ วามสนใจในบทเรยี นได้ดี เรียนรู้ และการใช้ เทคโนโลยี A-Atmosphere การจดั บรรยากาศและ สภาพแวดล้อมของการ เรียน P-Point จดุ เดน่ /จดุ ด้อย

14 ปัญหาและอุปสรรคการ จุดด้อย:ควรแนะนำตัวละครก่อนทีจ่ ะให้ บรรลุผลตามจุดประสงค์ นักเรยี นระบายสีก่อน นกั เรียนบางกลมุ่ ยงั มีการ เลน่ กนั ไม่ตงั้ ใจที่ไดร้ บั มอบหมาย ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม ควรแนะนำตวั ละครก่อนทจ่ี ะใหน้ ักเรียนระบายสี และมีกิจกรรมเสรมิ ความรู้และกจิ กรรมก่อนนำเข้าสบู่ ทเรียน

15 บนั ทึกการสังเกตการณ์สอน(Lesson Study) วนั เดอื นปี 26/01/2565 เวลา 14:00 น. ถงึ 15:00 น. วชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ ชัน้ /หอ้ ง ประถมศึกษาปีท่ี4ห้อง1 แผนการสอนท่ี 2 หน่วยท่ี 3 เรือ่ ง รามเกียรต์ิ ผู้สังเกต นางสาว ณัฐสดุ า แสงเมอื ง ผสู้ อน นางสาว รญั ชญา ชยั อุปละ นางสาว อดุ มพรรณ รวบรวม นางสาว ทศั วรรณ ท้วมทอง ประเดน็ การสงั เกตและการสะท้อนความคิด(STMAP) ประเด็นท่สี งั เกต สิง่ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะ S-Student เด็กนกั เรียนหลายเข้ามาในห้องและน่ังเปน็ ไมม่ ี ระเบียบเตรยี มพรอ้ มท่จี ะเรยี น ความพร้อม ความ กระตอื รือรน้ ความเขา้ ใจ ครูได้มีการสอนใหเ้ ด็กน่ังพับเพยี บท่าตวั พระ และใหค้ วามรเู้ กี่ยวพระพิฆเนศ และในนักเรยี น การมีสว่ นร่วม ดูการต์ นู รามเกียรติ์และตอบคำถาม 3 ข้อ ดูการต์ ูนเรอื่ งรามเกียรติ์จากอินเตอรเ์ นต็ I-Instrection นักเรยี นมีการน่ังเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย มีการ ขน้ั ตอนของกจิ กรรม เวน้ ระยะหา่ งตามมาตรการป้องกนั โควิด-19 การเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน จดุ เด่น:การนัง่ ให้เรียบรอ้ ยก่อนเริ่มเขา้ สู่ บทเรียน M-Material การใชส้ ือ่ การใชแ้ หล่ง เรียนรู้ และการใช้ เทคโนโลยี A-Atmosphere การจดั บรรยากาศและ สภาพแวดลอ้ มของการ เรียน P-Point จดุ เด่น/จดุ ดอ้ ย ปญั หาและอปุ สรรคการ บรรลุผลตามจดุ ประสงค์

16 จดุ ด้อย:คำถามในการตอบคำถามควรมีมากกว่า น้ี ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม ไม่มี









ภาคผนวก

• การจัดเพ่อื ส่งเสรมิ บรรยากาศ ความสะอาด เรียบร้อยและการตกแต่ง หอ้ งดนตรี-นาฏศลิ ป์





หอ้ งเรยี น

• การจดั บรรยากาศในห้องเรยี นให้นา่ อยู่ ป้ายนิเทศ มุมหนงั สอื มมุ อปุ กรณ์ และอ่นื ๆ



• กิจกรรมหนา้ เสาธง



• บรรยากาศในหอ้ งเรียนขณะสงั เกตการสอน







• ทาความสะอาดบรเิ วณโรงเรยี น



• จดั สถานท่พี กั ใหก้ บั นกั กีฬาท่ีมาแขง่ ขนั ในจงั หวดั ลาพนู





• รว่ มงานศพบิดาของครูโรงเรยี นอนบุ าลเมืองลาพนู พรอ้ มผบู้ รหิ ารและคณะครู ภายในโรงเรยี น

• ทาดอกไมไ้ หว และเคร่อื งศิราภรณ์









ยืนเวรหน้าโรงเรียนช่วงเช้า