Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.การทดสอบเพนิเทรชันของวัสดุบิทูเมน

2.การทดสอบเพนิเทรชันของวัสดุบิทูเมน

Published by toon_toon.007, 2022-02-21 17:39:21

Description: 2.การทดสอบเพนิเทรชันของวัสดุบิทูเมน

Search

Read the Text Version

2. การทดสอบเพนเิ ทรชันของวัสดุบิทเู มน Test for Penetration of Bituminous Materials ขอบข่าย เพ่ื อท ำการท ด สอบ เพ นิ เท รชัน ของวัส ดุแอสฟั ลต์ ท่ี อยู่ในส ภ าพ กึ่งแข็ ง มาตรฐานอ้างองิ (Semi-solid) และสภาพแข็ง (Solid) วัสดุที่มีค่าเพนิเทรชันต่ำกว่า 350 สามารถทดสอบได้โดยใช้เคร่ืองมือมาตรฐาน และวิธีการทดสอบตาม ขัน้ ตอนท่ีจะกล่าวต่อไป ส่วนวัสดุที่มเี พนิเทรชันระหว่าง 350 และ 500 จะ ทดสอบไดโ้ ดยใชเ้ คร่ืองมือพเิ ศษดดั แปลง ASTM D5-94 AASHTO T 49-84 และ มอก. 1201-2536

2-2 การทดสอบเพนิเทรชันเป็นวิธีการวัดความข้นเหลวของวัสดุบิทูเมน ค่าเพนิชันที่สูงกว่าบ่งชี้ ถึงความขน้ เหลวทีอ่ อ่ นกว่า การแบง่ เกรดของแอสฟัลต์ซีเมนต์ตามช่วงมาตรฐานของความข้นเหลว โดยวิธีการทดสอบเพ นิเทรชันแบ่งออกเป็น 5 เกรดมาตรฐาน คือ AC 40-50, AC 60-70, AC 85-100, AC 120-150, AC 200-300 ตัวเลขของเกรดบ่งบอกถึงช่วงความลึกที่เข็มจมลงในผลิตภัณฑ์แอสฟัลต์ที่ยอมให้ได้ของแต่ ละเกรด แอสฟัลต์ซีเมนต์ท่ีมีเกรดอ่อนสุด (200-300 Penetration) จะแข็งพอประมาณท่ีอุณหภูมิ ปกติ เมอ่ื ใช้นิ้วมือกดเบาๆ จะเป็นรอยบุ๋มปรากฎรอยนิว้ มอื เพียงเลก็ นอ้ ยเทา่ นน้ั อาจารย์ อาทร ชูพลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร. พ้ืนที่ศาลายา

2-3 วสั ดุที่ใช้ประกอบการทดสอบ 1. วัสดแุ อสฟัลตซ์ เี มนต์ (Asphalt Cement: AC) 2. สารโทลูอนิ (Toluene) หรอื นำ้ มนั ก๊าด (Kerosene) 3. นำ้ สะอาด (Water) อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร. พื้นทศี่ าลายา

เคร่อื งมือ 2-4 อาจารย์ อาทร ชูพลสตั ย์ 1. เค ร่ื อ ง มื อ ท ด ส อ บ เพ นิ เท ร ชั น ( Penetration Apparatus) ประกอบด้วยแกนท่ีเคล่ือนข้ึนลงได้ตาม แนวดิ่ง โดยมีความเสียดทานน้อยที่สุด และสามารถวัด ความลึกท่ีเข็มจมลงได้ละเอียดถึง 0.1 มิลลิเมตร มวลของ แกนเท่ากับ 47.5 ± 0.05 กรัม จะมีปากจับเข็มมาตรฐาน มวลรวมเมื่อประกอบเข็มมาตรฐานเข้ากับแกนมีค่า 50 ± 0.05 กรัม เพื่อให้ได้น้ำหนักกด 100 กรัม และ 200 กรัม ตามกำหนดของการทดสอบ ผิวสำหรับวางภาชนะบรรจุ ตัวอย่างจะต้องราบและแกนกดจะต้องทำมุม 90˚ กับผิวน้ี แกนท่ีใช้สามารถถอดออกตรวจสอบมวลได้ 2. เข็ ม ม า ต รฐ า น (Penetration Needle) ท ำด้ ว ย เหล็กกล้าไร้สนิมชุบแข็ง (Stainless Steel) ช้ันคุณภาพ 440 – C หรือเทียบเท่า ชุบแข็งให้มีค่าความแข็งรอกเวลล์ (Rockwell Hardness) อยู่ในช่วง 54 – 60 ยาวประมาณ 50.8 มิลลิเมตร (2 น้ิว) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.00 – 1.02 มิลลิเมตร (0.0394 – 0.0402 นิ้ว) ปลายข้างหนึ่ง แหลมเป็นรูปกรวยมีมุม 8” 40’ - 9˚ 40” ปลายกรวยตัด ในแนวต้ังฉากกับแกนของเข็ม และคลาดเคล่ือนไม่เกิน 2” ปลายกรวยที่ตัดนี้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.14 – 0.16 มิ ล ลิ เม ต ร (0.0055 – 0.0063 น้ิ ว ) ข อ บ ป ล าย เข็ ม มาตรฐานตอ้ งเรียบ และปราศจากเสย้ี น ความขรุขระเฉล่ีย ของผิวด้านข้างปลายเข็มอยู่ในช่วง 0.2 – 0.3 ไมโครเมตร เม่ือทดสอบตาม American National B 46.1 โคนเข็ม มาตรฐานฝัง และยึดในตัวยึดทำด้วยทองเหลือง หรือเหล็ก ล้าไรส้ นิมเส้นผา่ น ศนู ยก์ ลาง 3.2 ± 0.05 มิลลิเมตร (0.12 ± 0.003 นิ้ว) และยาว 38 ± 1 มิลลิเมตร (1.50 ± 0.04 น้ิว) โดยให้แกนของเข็มกบั แกนของตัวยดึ เป็นแกนเดยี วกัน ให้เข็มโผล่ออกจากตัวยึด 40-45 มิลลิเมตร (1.57 – 1.77 นว้ิ ) มวลรวมของเข็มกับตัวยดึ เทา่ กบั 2.50 ± 0.05 กรัม สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร. พื้นทศี่ าลายา

2-5 3. ภาชนะบรรจุตัวอย่าง (Sample Container) มี ลักษณะเป็นรูปทรงกระบอกก้นแบน ทำด้วยโลหะ หรือแกว้ มขี นาด ดังนี้ (1) สำหรับวัสดุท่ีมีเพิ่มเพนิเทรชันต่ำกว่า 200 ต้องมคี วามจุ 3 ออนซ:์ เสน้ ผ่าศูนยก์ ลางภายใน 55 มิลลเิ มตร ความลกึ ภายใน 35 มลิ ลิเมตร (2) สำหรับวสั ดทุ ีมีค่าเพนเิ ทรชันในช่วง 200 – 350 มคี วามจุ 6 ออนซ์: เส้นผ่าศูนย์กลางภายใน 70 มลิ ลเิ มตร ความลึกภายใน 45 มลิ ลเิ มตร 4. อ่างน้ำควบคุมอุณหภูมิ (Water Bath) เป็นอ่าง น้ำท่ีสามารถปรับ และควบคุมอุณหภูมิให้คงท่ีได้ โดยมีค่าอุณหภูมิของน้ำคลาดเคลื่อนไม่เกิน 0.1 ˚C มีความจุไม่น้อยกว่า 10 ลิตร มีช้ันโปร่งสูง 50 มิลลิเมตร สำหรับวางตัวอย่างและต้องให้น้ำท่วม ตัวอย่างไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร น้ำท่ีใช้จะต้อง ไม่มีน้ำมันหรือสิ่งสกปรกเจือปน อาจใช้น้ำเกลือ แทนน้ำได้ในกรณีที่ต้องการทดสอบท่ีอุณหภูมิต่ำ ถ้าทดสอบโดยไม่ย้ายตัวอย่างออกจากอ่างน้ำ ต้อง จัดหาท่ีสำหรับวางเคร่ืองทดสอบเพนิชันท่ีม่ันคง แขง็ แรงพอ อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร. พน้ื ทศ่ี าลายา

อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ 2-6 5. ภาชนะย้ายตัวอย่าง (Transfer Dish) ควรเป็น ภาชนะทรงกระบอกก้นแบนทำด้วยแก้ว โลหะหรือ พลาสติก เส้นผ่านศูนย์กลางภายในไม่น้อยกว่า 90 มิลลิเมตร และลึกไม่น้อยกว่า 55 มิลลิเมตร หรือมี ความจุไม่น้อยกว่า 350 มิลลิเมตร และมีความลึก เพียงพอให้น้ำคลุมท่วมภาชนะบรรจุตัวอย่าง ภาชนะ น้ีต้องมีก้นมีรูปร่างสามขาท่ีมีหน้าสัมผัส 3 จุด เพ่ือ ปอ้ งกันภาชนะบรรจุตัวอย่างขยับเคลื่อนไปมาในเวลา ขณะทดสอบ 6. เคร่ืองจับเวลา (Timing Device) ชนิดอ่านได้ ละเอียดถึง 0.1 วินาที อาจใช้นาฬิกาจับเวลาที่ให้ เสียงสัญญาณ ใช้กับเครื่องทดสอบเพนิเทรชัน แบบใชม้ ือควบคุม (Hand Operated) หรือเคร่ือง จับเวลาแบบอัตโนมัติประกอบเพ่ือควบคุมการ ทดสอบก็ได้ 7. เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer) ท่ีใช้ต้อง อ่านได้ละเอียดถึง 0.1 ˚C และ เทอร์โมมิเตอร์ ต้องจุ่มลงในน้ำ 150 ± 15 มิลลิเมตร เน่ืองจาก อุณหภูมิมีผลต่อค่าเพนิเทรชันอย่างมาก ดังน้ัน ก่ อ น น ำ เท อ ร์ โม มิ เต อ ร์ ม า ใช้ ป รั บ เที ย บ (Calibrated) ไวอ้ ย่างถกู ต้อง มดี ังนี้ หมายเลขเทอรโ์ มมเิ ตอร์ ASTM ช่วงอุณหภมู ิ 17 ˚C หรอื 17 ˚F 19 – 27 ˚C (66-80 ˚F) 63 ˚C หรือ 63 ˚F -8 – 32 ˚C (18-89 ˚F) 64 ˚C หรอื 64 ˚F 25 – 55 ˚C (77-131˚F) สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร. พ้นื ทศี่ าลายา

2-7 บทนิยาม ค่าเพนิเทรชัน 1 หนว่ ย เทา่ กบั ความลกึ ทีเ่ ขม็ จมลงในผลิตภณั ฑแ์ อสฟลั ต์ 0.1 มิลลเิ มตร จุดอ่อนตัว หมายถึง อุณหภูมิท่ีผลิตภัณฑ์แอสฟัลต์อ่อนตัวถึงระดับท่ีกำหนดภายใต้ภาวะ ทดสอบมาตรฐาน การเตรียมตวั อยา่ ง 1. ทำตัวอย่างให้เหลวด้วยความร้อนคนตัวอย่างให้ สม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้จุดใดจุดหนึ่งร้อนมากเกินไปจน ตัวอย่างมีอุณหภูมิสูงกว่าจุดอ่อนตัว (Softening Point) สำหรับตัวอย่างวัสดุแอสฟัลต์ไม่ควรให้อุณหภูมิสูงกว่า 90 ˚C สำหรับวัสดุทาร์ฟิตช์ ไม่ควรให้อุณหภูมิสูงกว่า 60 ˚C การให้ความร้อนแพก่ตวั อย่างต้องไม่นานเกิน 30 นาที หลีกเลย่ี งไม่ใหเ้ กดิ ฟองอากาศในตัวอย่าง 2. เทตัวอย่างลงในภาชนะบรรจุตัวอย่างให้มีปริมาณ มากพอ เม่ือตัวอย่างเย็นลงจนถึงอุณหภูมิท่ีจะทดสอบ แล้ว ความลึกของตัวอย่างในภาชนะจะต้องมากกว่า ความลึกท่ีคาดว่าเข็มมาตรฐานจะจมลงไปอย่างน้อย 10 มิลลิเมตร สังเกตดูถ้ามีฟองอากาศปะปนอยู่ให้ ความร้อนอีกเล็กนอ้ ยแล้วคนไลฟ่ องอากาศให้หมด หมายเหตุ: การไล่ฟองอากาศโดยวางภาชนะบรรจุบนแผ่นความร้อน (Hot Plate) แล้วคนไล่ ฟองอากาศให้หมด หรือก่อนเทตัวอย่างลงในภาชนะบรรจุตัวอย่าง เอาภาชนะบรรจุตัวอย่างวางบน แผ่นความรอ้ นกอ่ น แล้วจึงค่อยเทตวั อย่าง อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร. พ้ืนที่ศาลายา

2-8 3. ปิดภาชนะบรรจตุ ัวอยา่ งเพ่ือปอ้ งกันฝุน่ ปล่อยให้ เย็นลงในบรรยากาศที่อุณหภูมิระหว่าง 15 – 30˚C เป็นเวลา 1 -1½ ช่ัวโมง สำหรับตัวอย่างท่ีบรรจุใน ภาชนะ 3 ออนซ์ ขนาดเล็ก ส่วนตัวอย่างท่ีบรรจุใน ภาชนะ 6 ออนซ์ ขนาดใหญ่ใช้เวลา 1 ½ - 2 ชั่วโมง หลังจากน้ันนำตัวอย่างวางในภาชนะย้าย ตัวอย่าง แล้วเอาไปแช่ในน้ำ ซึ่งมีอุณหภูมิคงที่ตาม ข้อกำหนดของการทดสอบ สำหรับตัวอย่างท่ีบรรจุ ในภาชนะขนาด 3 ออนซ์ ใช้เวลา 1 – 1½ ชั่วโมง ส่วนตัวอย่างที่บรรจุในภาชนะขนาด 6 ออนซ์ใช้ เวลา 1 ½ - 2 ชัว่ โมง 4. นำตัวอย่างวางในภาชนะย้ายตัวอย่าง แล้วเอาไป แช่ในอ่างนำ้ ควบคมุ อุณหภมู ิ เงื่อนไขการทดสอบ การทดสอบท่ีไม่ได้กำหนดเง่ือนไขใดๆ ไว้ ให้ใช้อุณหภูมิการทดสอบท่ี 25 ˚C (77 ˚F) น้ำหนักกด 100 กรัมและเวลา 5 วินาที เง่ือนไขที่กำหนดเป็นอย่างอื่นสำหรับการทดสอบพิเศษอาจ กำหนดได้ดงั น้ี ตารางท่ี 2-1 ตารางเงอื่ นไขการทดสอบ อุณหภูม,ิ ˚C (˚F) น้ำหนักกด, กรัม เวลา, วนิ าที 0 (32) 200 60 4 (39.2) 200 60 46.1 (115) 50 5 หมายเหต:ุ ในกรณีดงั กล่าวน้ี ตอ้ งรายงานเงือ่ นไขการทดสอบใหช้ ัดเจน อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร. พ้ืนท่ศี าลายา

2-9 วิธกี ารทดสอบ 1. ตรวจสอบแกนตัวยึดเข็มให้ปราศจากน้ำ และวัตถุท่ีไม่พึงประสงค์ทำความสะอาดเข็ม มาตรฐานด้วยสารโทลูอีน หรือตัวทำละลายอ่ืนท่ีเหมาะสม ใช้ผ้าสะอาดเช็ดให้แห้ง ประกอบเข็ม มาตรฐานเขา้ กับแกนของเครอ่ื งทดสอบเพนเิ ทรชัน 2. ถ้าไม่ได้กำหนดเง่ือนไขของการทดสอบไว้ ให้ใช้น้ำหนักถ่วง 50 กรัม ถ่วงบนแกน เพื่อให้ไดน้ ำ้ หนักกดรวมเทา่ กบั 100 ± 0.1 กรัม การทดสอบทำได้ 2 วิธี คือ (1) เครื่องทดสอบเพนิเทรชันอยู่ในอ่างน้ำควบคุม อุณหภูมิ ทำได้โดยตั้งเคร่ืองทดสอบเพนิเทรชัน ไว้ใน อ่างน้ำควบคุมอุณหภูมิ แล้ววางภาชนะบรรจุตัวอย่าง ลงบนท่ีตั้งของเครื่องมือซ่ึงจมอยู่ในน้ำ และต้องให้น้ำ ในอา่ งท่วมภาชนะบรรจตุ ัวอยา่ ง (2) เครื่องทดสอบเพนิเทรชันอยู่ภายนอกอ่างน้ำ ควบคุมอุณหภูมิทำได้โดยตั้งเครื่องทดสอบเพนิเทรชัน ไว้ภายนอกอ่างน้ำควบคุมอุณหภูมิ นำภาชนะบรรจุ ตวั อยา่ งใส่ลงในภาชนะย้ายตวั อยา่ งซ่ึงบรรจุน้ำจากอา่ ง ควบคุมอุณหภูมิอยู่เตม็ วางภาชนะย้ายตัวอย่างบนท่ีต้ัง เคร่อื งมอื แล้วทำการทดสอบทันที ท้ังสองวิธีดังกล่าว ต้องปรับเคร่ืองมือให้เข็มมาตรฐานท่ีมีน้ำหนักกดตามที่ระบุสัมผัสผิวของ ตัว อย่างพอดี ทำได้โดยการปรับปลายเข็มให้สัมผัสกับเงาของตัวเข็ม ซึ่งเกิดจากการสะท้อนมา จากผิวหน้าของตัวอย่าง โดยการต้ังเครื่องมือให้ได้รับแสงสว่างท่ีพอเหมาะ ตั้งหน้าปัดให้อ่านค่า ศูนย์เมื่อเข็มสัมผัสผิวหน้าตัวอย่างแล้วปล่อยเข็มให้จมลงไปในตัวอย่างตามระยะเวลาที่กำหนด จากนั้นวัดหาค่าระยะทางที่เข็มจมลงในตัวอย่างด้วยการปรับหน้าปัด ระยะทางที่วัดได้เป็นค่าเพนิ เทรชัน ซ่ึงวัดในหน่วย 0.1 มิลลิเมตร ถ้าภาชนะบรรจุตวั อย่างมีการเคล่ือนท่ีในระหว่างการปล่อย เขม็ มาตรฐานตัวอยา่ ง ใหถ้ ือวา่ การทดสอบนน้ั ใช้ไม่ได้ อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร. พืน้ ทศี่ าลายา

2-10 3. ให้ทดสอบตัวอย่างแตล่ ะตัวอย่างนอ้ ย 3 คร้ัง โดยให้ ตำแหน่งท่ีเข็มทิ่มลงบนผิวหน้าของตัวอยา่ งอยู่ห่างจาก ขอบของภ าชนะบรรจุตัวอย่างไม่น้ อยกว่า 10 มิลลิเมตร และแต่ละจุดอยู่ห่างกันไม่น้อยกว่า 10 มิลลิเมตร ถ้าทดสอบต้องใช้ภาชนะย้ายตัวอยา่ งจะต้อง นำภาชนะย้ายตัวอย่างท่ีมีตัวอย่างอยู่ กลับไปแชใ่ นอ่าง น้ำควบคุมอุณหภูมิทุกครั้ง ก่อนที่จะทดสอบจุดต่อไป เพื่อรักษาอณุ หภูมิการทดสอบให้คงท่ีตามกำหนด ก่อน การ ท ด ส อ บ ทุ ก ค ร้ังต้ อ งท ำค ว าม ส ะอ าด เข็ม ทุ ก ค ร้ั ง ก่อนที่จะทดสอบแต่ละจุด ถ้าวัสดุตัวอย่างที่มีค่าเพนิ เทรชันมากกว่า 200 ขึ้นไป ให้ใช้เข็มใหม่ทุกครั้งที่ ทดสอบ โดยท้ิงเข็มมาตรฐานไว้ในตัวอย่างหลังการ ทดสอบแต่ละตำแหน่ง แล้วเริ่มทดสอบด้วยเขม็ อันใหม่ จนกระท่งั ไดจ้ ำนวนค่าเพนิเทรชันตามต้องการ เข็มทดสอบ ภาชนะบรรจุตัวอย่าง และเงื่อนไขอื่นๆ ตามวิธีนี้ใช้สำหรับหาค่าเพนิเทรชันที่มี คา่ ถึง 350 อย่างไรก็ตาม วิธีน้ีอาจใช้สำหรบั ค่าเพนิเทรชันสูงถึง 500 โดยใช้ภาชนะบรรจุตัวอย่าง และเข็มมาตรฐานชนิดพิเศษ ภาชนะบรรจุตัวอย่างชนิดพิเศษควรมีความลึกอย่างน้อยที่สุด 60 มิลลิเมตร ปริมาตรท้ังหมดของตัวอย่างในภาชนะบรรจุตัวอย่างไม่ควรเกิน 125 มิลลิลิตร เพื่อให้ สามารถปรับอุณหภูมติ ัวอยา่ งได้อย่างเหมาะสม โดยจะมขี ้อกำหนดของเข็มชนดิ พิเศษและตัวอยา่ ง คา่ เพนิเทรชันสงู ดงั น้ี (1) เข็มชนดิ พิเศษจะต้องมีขนาดและน้ำหนักตามทร่ี ะบุไว้ในหัวข้อเข็มมาตรฐาน และจะต้อง ใหส้ ่วนของเข็มที่ยาวยื่นออกจากปลอกมีความยาว 50 มลิ ลิเมตร (2) ตัวอย่างท่ีมีค่าเพนิเทรชันสูง อาจทดสอบโดยใช้เข็มมาตรฐาน และภาชนะบรรจุตัวอย่าง ขนาด 6 ออนซ์ แต่ใช้น้ำหนักกด 50 กรัม ค่าเพนิเทรชันหาได้จากการคูณผลการทดสอบของ น้ำหนักกด 50 กรัม กับรากที่สองของ 2 น่ัน คือ ค่าเพนิเทรชันภายใต้น้ำหนักกด 100 กรัม = ค่า เพนเิ ทรชันภายใต้นำ้ หนกั กด 50 กรมั x 1.414 อาจารย์ อาทร ชูพลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร. พน้ื ทศี่ าลายา

2-11 การรายงาน รายงานค่าเฉลี่ยของการทดสอบอย่างน้อย 3 คร้ัง เป็นเลขจำนวนเต็มและระบุภาวะทดสอบ (อณุ หภมู ิ น้ำหนกั กด และเวลา) ดว้ ยความแตกตา่ งของการทดสอบจะต้องไมเ่ กนิ ข้อกำหนด ดังน้ี ตารางท่ี 2-2 คา่ แตกตา่ งระหวา่ งค่าทดสอบสงู สุดและต่ำสดุ คา่ เพนเิ ทรชนั 0 – 49 50 - 149 150 – 249 250 ขึ้นไป 6 หนว่ ย 8 หน่วย ค่าแตกต่างระหวา่ ง 2 หน่วย 4 หน่วย ค่าทดสอบสงู สดุ และต่ำสดุ การพจิ ารณาความถกู ตอ้ งของผลการทดสอบ 1. การทดสอบซ้ำ (Repeatability) ผลการทดสอบ 2 คร้ัง โดยผู้ทดสอบคนเดียวกัน ตัวอย่างเดียวกัน ห้องทดสอบและเครื่องทดสอบเดียวกัน ในเวลาต่างกัน จะเช่ือถือได้เม่ือผลการ ทดสอบแตกต่างกนั ไมม่ ากกวา่ ข้อกำหนดตามตารางท่ี 2-3 ดงั นี้ ตารางท่ี 2-3 ขอ้ กำหนดของผลการทดสอบสำหรับการทดสอบซำ้ วัสดทุ ดสอบท่ี 25๐C (77๐F) A ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแตกตา่ งที่ยอมให้ (Standard Deviation) ของผลการทดสอบ 2 ครง้ั วสั ดแุ อสฟัลต์ซเี มนต์ คา่ เพนิเทรชนั ต่ำกวา่ 0.35 1 หนว่ ย 50 วัสดแุ อสฟลั ต์ซีเมนต์ คา่ เพนิเทรชนั ตง้ั แต่ 1.1 3 เปอรเ์ ซ็นต์ 50 ขึน้ ไป ของคา่ เฉล่ีย ทาร์ฟติ ซ์ (Tar Piches) A 5.2 15 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของค่าเฉลี่ย ห ม า ย เห ตุ A Estimates of precision for tar pitches are based on results from 2 pitches with penetration of 7 and 24, Estimates may not be applicable to appreciably harder or softer materials. อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร. พ้ืนที่ศาลายา

2-12 2. การทดสอบเปรียบเทียบ (Reproducibility) ผลการทดสอบซ่ึงทำโดยผู้ทดสอบ 2 คน จากห้องทดสอบต่างกัน จะเช่ือถือได้เม่ือผลการทดสอบนั้นแตกต่างกันไม่มากกว่ากำหนดตาม ตารางที่ 2-4 ดงั นี้ ตารางที่ 2-4 ขอ้ กำหนดของผลการทดสอบสำหรบั การทดสอบซำ้ วัสดทุ ดสอบท่ี 25๐C (77๐F) ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความแตกตา่ งที่ยอมให้ (Standard Deviation) ของผลการทดสอบ 2 ครงั้ วสั ดุแอสฟัลต์ คา่ เพนเิ ทรชนั ต่ำกวา่ 1.4 50 2.8 4 หน่วย วัสดแุ อสฟลั ต์ ค่าเพนิเทรชนั ต้ังแต่ 50 ข้นึ ไป 8 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของคา่ เฉลีย่ ทารฟ์ ติ ซ์ (Tar Piches)A 1.4 4 เปอร์เซน็ ต์ ของคา่ เฉลี่ย ขอ้ ควรระวงั 1. ในการเตรียมตัวอย่าง โดยการให้ความรอ้ นก่อนท่จี ะเทตัวอย่างลงในภาชนะบรรจตุ ัวอย่าง จะตอ้ งใหค้ วามร้อนสม่ำเสมอ เม่ือเทตัวอย่างแล้วต้องสังเกตดู ถ้ายังมีฟองอากาศปะปนอยู่ ควรให้ ความรอ้ นอกี เลก็ นอ้ ย แล้วไลฟ่ องอากาศใหห้ มด 2. ตรวจสอบมวลของแกน เข็มและน้ำหนักถว่ งต้องรวมกันให้ได้ครบตามข้อกำหนด 3. ถา้ การทดลองเพนิเทรชนั มเี ข็มมาตรฐานจำนวน 1 เลม่ เม่อื ทดสอบในจุดต่อไปก่อนดึงเข็ม ขน้ึ ควรใชม้ อื จบั และกดภาชนะบรรจุตวั อยา่ งไม่ให้เคล่ือนท่ีตามขณะทเี่ ลือ่ นแกนขึ้น อาจารย์ อาทร ชูพลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร. พืน้ ที่ศาลายา

2-13 ตัวอย่างผลการทดสอบและการคำนวณ การทดสอบเพนิเทรชนั ของวสั ดุบทิ ูเมน Test for Penetration of Bituminous Materials Project : ทางสายพุทธมณฑลสาย 5 Owner : มทร.รัตนโกสินทร์ ศาลายา . Material : Asphalt Cement . Grade : AC 60-70 . Source : กรมทางหลวง . Penetrometer : 72556 . Dial : 0.1 mm./division Load : 100 g Time : 5 s Temperature : 25 oC Tested by : รชอง Date : 20/12/2564 . Check by : รชอง Date : 20/12/2564 . Sample Trial Readings Average Penetration No. Divisions Divisions Divisions Grade 1 3 70 71 68 69.67 60-70 2 3 4 5 Remark : คำนวณระยะทางที่เข็มมาตรฐานแทงจมลงในเนื้อวสั ดแุ อสฟัลต์ จาก Dial : 0.1 mm./division 69.97 X 0.1 = 6.97 mm. อาจารย์ อาทร ชูพลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร. พน้ื ท่ีศาลายา

2-14 ตัวอย่างการคำนวณ (ตัวอย่าง) คำนวณระยะทางทเ่ี ขม็ มาตรฐานแทงจมลงในเน้ือวสั ดุแอสฟลั ต์ . จาก Dial : 0.1 mm./division . 69.97 X 0.1 = 6.97 mm…………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร. พื้นทศ่ี าลายา

2-15 สรปุ ผลการทดสอบ (ตัวอยา่ ง) จากการทดสอบหาค่าเพรนิเทนชันของวัสดุบิทูเมน 1 ตัวอย่างโดยทดสอบจำนวน 3 คร้ัง ได้ ค่าเฉลีย่ ของตัวอยา่ งเท่ากับ 69.67 แสดงว่าตัวอยา่ งมีค่าเพนิเทรชันอยู่ชว่ งระหว่าง 60-70 ซ่ึงเป็นไป ตามมาตรฐานมาตรฐานของการทดสอบ……………………………………………………………………................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. วจิ ารณผ์ ลการทดสอบ (ตัวอยา่ ง) จากการทดสอบเพนิเทนชันของวัสดุบิทูเมน (Test for Penetration of Bituminous .Materials) จากการทดสอบตัวอย่างพบว่าตวั อยา่ งการทดสอบมีฟองอากาศปะปนอยู่ จำเปน็ จะตอ้ ง ให้ความร้อนอีกเล็กน้อยและคนไล่ฟองอากาศ ทำความสะอาดเข็มทุกคร้ังก่อนทำการทดสอบ โดย ความลกึ ของเขม็ ทที่ ำการกดลงไปจำนวน 3 ครงั้ ตอ้ งได้ค่าเฉล่ยี ใกล้เคียงกัน....................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. อาจารย์ อาทร ชูพลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร. พื้นท่ีศาลายา

2-16 การทดสอบเพนิเทรชันของวัสดุบทิ เู มน Test for Penetration of Bituminous Materials Project : …………………………………………………… Owner : ………………………………………………………… Material : …………………………………………………………………………………………………………………………… Grade : ………………………………………………………………………………………………………………………………. Source : …………………………………………………………………………………………………………………………….. Penetrometer : …………………………………………………………………………………………………………………. Dial :………………………………………………. Mm/division Load : ……….………………………………… g Time : ………………………………………… s Temperature : …………………………………….…………… oC Tested by : ……………………………………………………… Date : …………………………….…………………. Check by : ………………………………….………………….. Date : …………………………………………………. Sample Trial Readings Penetration No. Divisions Divisions Divisions Average Grade 1 2 3 4 5 Remark : ……………………………………………………………………………………………………………………............………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร. พนื้ ที่ศาลายา

2-17 ตัวอยา่ งการคำนวณ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร. พ้ืนท่ีศาลายา

2-18 สรปุ ผลการทดสอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……….…………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… วิจารณผ์ ลการทดสอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………...................................................................................................................................... ............... อาจารย์ อาทร ชูพลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร. พืน้ ทีศ่ าลายา

2-19 อาจารย์ อาทร ชพู ลสตั ย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร. พื้นทศี่ าลายา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook