แผนเผชญิ เหตุ ความปลอดภยั สถานศกึ ษา ศูนยส์ ง่ เสริมการเรียนรู้อาเภอนครชยั ศรี ศนู ย์ส่งเสริมการเรยี นรูอ้ าเภอนครชยั ศรี สานกั งานสง่ เสริมการเรยี นรู้จงั หวัดนครปฐม
หลกั การ สถานการณค์ วามไมป่ ลอดภัยในสถานศึกษาในปจั จบุ ัน ยังเกิดขึน้ ใน ๔ กลุ่มภยั ไดแ้ ก่ ๑) ภัยทเี่ กิดจากการใชค้ วามรนุ แรงของมนษุ ย์ (Violence) ๒) ภยั ที่เกดิ จากอบุ ตั ิเหตุ (Accident) ๓) ภัยที่เกดิ จากการถูกละเมดิ สทิ ธิ์ (Right) ๔) ภัยท่ีเกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) เกิดความรุนแรงใน รูปแบบต่าง ๆ มีความซับซ้อน รุนแรงมากข้ึน และเกิดข้ึนซ้า ๆ ส่งผลกระทบต่อสภาพร่างกายและจิตใจ ใน หลายปีท่ีผา่ นมา เชน่ ภยั จากการคุกคามทางเพศ ภัยจากการกลัน่ แกลง้ รังแก (Bully) รวมถึงภัยท่เี กิดจากโรค อุบัติใหม่ อันได้แก่ การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เพื่อเป็นการ ป้องกัน ไมใ่ หเ้ กิดสถานการณ์ความไมป่ ลอดภัยในสถานศึกษาที่เกิดแก่ นกั ศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้ก้าหนดนโยบาย Quick Win ๗ วาระเร่งด่วน ข้อท่ี ๑ ความปลอดภัยของ ผเู้ รียน ให้หน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการน้า ไปปฏิบัตใิ ห้เกิดความปลอดภัย ในสถานศึกษา และได้ บูรณาการความร่วมมือจาก ๘ กระทรวง และอีก ๒ หน่วยงาน ประกอบด้วย กระทรวงกลาโหม กระทรวง มหาดไทย ส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ กระทรวง ดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงคมนาคม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม กระทรวงยุติธรรม และ ส้า นักนายกรัฐมนตรี โดยได้จัดท้า ข้อตกลงความร่วมมือโครงการ เสริมสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดกระทรวศึกษาธิการ (MOE Safety Center) เมื่อวันท่ี ๑๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕ ณ หอประชมุ ครุ สุ ภา กระทรวงศึกษาธิการ ศูนยส์ ่งเสรมิ การเรียนร้อู ้าเภอนครชยั ศรี มุง่ เน้นการสร้างความปลอดภัยในสถานศกึ ษา ส่งเสรมิ โอกาส ทางการศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพอย่างเท่าเทยี มและบรหิ ารจัดการศึกษา อย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยมุ่งเน้นพัฒนาระบบ และกลไกในการดูแล ความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคาม ทุกรูปแบบ เพื่อคุ้มครอง ความปลอดภัย การป้องกัน ดูแล ช่วยเหลือหรือเยียวยา และแก้ไข ปัญหา แก่ นักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ใหส้ ามารถ แก้ไขปญั หาและบริหารจัดการความเสย่ี งไดอ้ ยา่ งย่ังยืน ดว้ ยการ บริหารจัดการตามมาตรการ ๓ ป ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และ ปราบปราม ให้เกิดความปลอดภัยให้ มากท่ีสดุ และไมใ่ ห้เกิด เหตุการณ์นั้นซ้า อกี ทั้งนี้ เพื่อสร้างความม่ันใจ และความเช่ือมั่นให้แก่นักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองและประชาชนท่ัวไป ในการที่จะได้เรียนร้อู ย่างมีคุณภาพ และเกิดความปลอดภัยอย่างม่ันคง และ ยง่ั ยนื ศนู ย์สง่ เสริมการเรียนรู้อ้าเภอนครชัยศรีจึงได้จัดท้าแผนเผชิญเหตคุ วามปลอดภยั สถานศึกษา เพื่อเป็น แนวทางปฏิบัติ เมื่อเกิดเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัย ต่อนักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อลด ระดับความรุนแรง ระงับเหตุการณ์ความไม่ปลอดภยั หรือแก้ไขปัญหา ศูนยส์ ่งเสรมิ การเรยี นร้อู ้าเภอนครชยั ศรี 1 มถิ นุ ายน 2566
มาตรการรักษาความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา ศนู ย์สง่ เสรมิ การเรยี นร้อู าเภอนครชยั ศรี ***************************** 1. นโยบายและการวางแผนการรักษาความปลอดภยั ของ ศูนย์สง่ เสรมิ การเรยี นรู้อาเภอนครชยั ศรี นักศึกษา กศน. คือ หัวใจของการจัดการศึกษา ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ้าเภอนครชัยศรีมีความ ตระหนกั ในความส้าคัญ และเล็งเหน็ ความจ้าเป็นเรง่ ด่วนที่ผ้ทู ี่มีสว่ นเก่ียวข้องทกุ ฝา่ ย จะต้องร่วมกันหาแนวทางที่ เป็นรปู ธรรม ในการดูแลช่วยเหลือนักศึกษา กศน.ใหไ้ ด้เรยี นรู้อยา่ งมคี วามสุข เปน็ ไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวติ ท่ี จะดแู ลตนเองใหป้ ลอดภัยท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม อบุ ัตเิ หตุ และอุบัติภยั ท่ีจะกอ่ ให้เกิดความเสียหาย แก่นักศึกษา กศน. ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อ้าเภอชัยศรี ซ่ึงมีภารกิจและ ความรับผดิ ชอบในการจดั การศึกษา ต้องด้าเนนิ การอยา่ งทวั่ ถงึ มคี ุณภาพ ดังนี้ ๑) ความปลอดภัยในสถานศึกษาถือเปน็ หน้าท่รี ับผิดชอบในการอยู่ร่วมกันของนกั ศกึ ษา กศน.ทุกคน (๒) สถานศกึ ษาให้การสนับสนุนให้มีการพัฒนาสถานที่และสภาพแวดลอ้ มใหม้ คี วามปลอดภัย (๓) สถานศึกษาสนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้มีการจัดกจิ กรรมด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนอ่ื ง (๔) นักศึกษา กศน.ทุกคนมีความตระหนักถึงความปลอดภัยในตนเองและเพ่ือนนักศึกษา กศน.ทุกคน รวมทั้งมีส่วนร่วมในการดูแลตรวจสอบสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาให้มีความปลอดภัย (๕) สถานศกึ ษาจดั ให้มีการตดิ ตามและประเมินผลการปฏบิ ัติงานอยา่ งต่อเนอ่ื ง (๖) บริหารจัดการโครงการส่งเสริมสุขภาพอย่างเป็นระบบ (๗) จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการบรโิ ภคอาหารท่ถี กู สขุ ลักษณะที่ปลอดภัยจากสารพิษ (๘) สง่ เสริมให้นักศกึ ษา กศน. บคุ ลากรและประชาชนไดอ้ อกกา้ ลงั กาย โดยโรงเรยี นเป็นศนู ย์กลาง (๙) สง่ เสริมการจดั การเรยี นการสอนด้านสุขภาพแก่นกั ศึกษา กศน.ทกุ ระดับชน้ั (๑๐) จัดกิจกรรมเพอ่ื พัฒนาพฤตกิ รรมสุขภาพตามสขุ บญั ญตั แิ ห่งชาติ 1) เป้าประสงค์ (1) เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยของศนู ย์ส่งเสรมิ การเรียนรู้อ้าเภอนคร ชัยศรีด้านอุบัติเหตุ ด้านอุบัติภัย และด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการ กระจายอ้านาจ การมีสว่ นร่วม และยดึ ประโยชน์สูงสดุ ของนักศกึ ษา กศน.เปน็ ส้าคัญ (2) เพื่อสร้างความเข้มแข็งระบบการรักษาความปลอดภยั ของศูนย์ส่งเสรมิ การเรียนรู้อ้าเภอ นครชัยศรีให้มีความพร้อม สามารถปอ้ งกัน และแก้ไขสถานการณ์ปัญหาของนักศึกษา กศน. ท้ังด้านอุบัตเิ หตุ อบุ ัตภิ ยั และปัญหาทางสังคมทจี่ ะเกดิ ขน้ึ กับนักศกึ ษา กศน.อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ (3) เพื่อให้นักศึกษา กศน.ทุกคนได้รับการปกป้อง การดูแลช่วยเหลือ และคุ้มครองความ ปลอดภัย ท้ังดา้ นร่างกาย และจิตใจ โดยนักศกึ ษา กศน.จะได้รบั การดูแลอย่างใกลช้ ิด และสามารถอยูใ่ นสังคม ไดอ้ ยา่ งปลอดภัยและมีความสุข
(4) เพื่อสร้างความตระหนักในการรักษาความปลอดภัย ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ้าเภอ นครชัยศรีโดยการให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่ผูท้ ี่รบั ผดิ ชอบ และผทู้ ี่มีส่วนเกย่ี วข้องกับการรกั ษาความปลอดภัย ในสถานศึกษา 2) เปา้ หมาย (1) นักศกึ ษา กศน.ทกุ คน ในสถานศกึ ษาไดร้ บั การคุม้ ครองดแู ลความปลอดภยั (2) ผู้บริหารสถานศกึ ษา ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผูป้ กครองนักศึกษา กศน. และผู้มีส่วนเกยี่ วข้องมแี นวทางในการป้องกันและรักษาความปลอดภัยนักศกึ ษา กศน. (3) ภาคเี ครือขา่ ยมสี ่วนรว่ มในการดูแลความปลอดภยั ให้แกน่ ักศกึ ษา กศน. 3) ยุทธศาสตร์ (1) ศูนย์สง่ เสริมการเรยี นรอู้ ้าเภอนครชยั ศรีจดั ระบบการรักษาความปลอดภัยของนักศึกษา กศน. โดยการมีส่วนร่วมของครู กศน.ต้าบล เครือข่ายผู้ปกครอง ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง และเครือข่ายท้ังภาครัฐ และเอกชนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (2) ก้าหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยของนักศกึ ษา กศน. (3) มกี ารก้ากับ ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงาน 2. การวางแผนการรักษาความปลอดภัย ของศูนยส์ ่งเสรมิ การเรยี นรูอ้ าเภอนครชัยศรี แนวทางการวางแผนการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักศึกษา กศน. เน้นการมีส่วนร่วมระหว่าง นักศึกษา กศน. ครู ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และเครือข่าย โดยร่วมกันวางแผนป้องกัน แก้ไข ควบคุม ก้ากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน จึงจ้าเป็นต้องมีมาตรการและกิจกรรมเพื่อให้รับประโยชน์ สูงสุดตามเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบับท่ี 2 ) พ.ศ. 2545 และพระราชบญั ญัตคิ ้มุ ครองเด็ก พ.ศ.2546 พรอ้ มทัง้ นโยบายของส้านกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขนั้ พ้ืนฐาน ดังน้ี ขัน้ ตอน ภารกจิ 1.ศกึ ษาสภาพท่ัวไป ศึกษาสภาพทั่วไปของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ้าเภอนครชัยศรีชุมชน ความ 2.ก้าหนดมาตรการหลกั เข้มแข็งของเครือข่ายเพ่ือวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย 3.ก้าหนดมาตรการเสรมิ ภยั จากสภาพแวดลอ้ ม และภยั อน่ื ๆ กา้ หนดมาตรการหลักเพอื่ ป้องกนั และ/หรือ แกไ้ ข 4.กา้ หนดกจิ กรรม 5.ก้าหนดเวลาและผ้รู บั ผดิ ชอบ ก้าหนดมาตรการเสริมให้เหมาะสมกบั ความเช่ือ วัฒนธรรมและประเพณีของ ทอ้ งถิน่ และสภาพความเสี่ยงของสถานศกึ ษา กา้ หนดกจิ กรรมสนบั สนนุ มาตรการหลักและมาตรการเสริม ก้าหนดเวลาและผรู้ บั ผิดชอบอยา่ งชดั เจน และสามารถปฏิบัตไิ ด้
ขอบข่ายความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา ขอบขา่ ยความปลอดภัยของสถานศึกษา มี ๔ กลุ่มภัย ได้แก่ ๑) ภัยท่ีเกดิ จากการใช้ความรุนแรง ของมนุษย์ (Violence) ๒) ภยั ท่เี กิดจากอบุ ัติเหตุ (Accident) ๓) ภัยทเ่ี กดิ จากการถูกละเมิดสิทธ์ิ (Right) ๔) ภัยทเ่ี กิดจากผลกระทบต่อสุขภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) ซ่งึ ครอบคลมุ ภยั ร้ายแรง ที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กา้ หนดให้ตอ้ งเรง่ ด้า เนินการ ป้องกนั ปลูกฝงั และปราบปรามอย่าง รวดเร็ว รอบคอบ เด็ดขาด ๑) การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ๒) ยาเสพติด ๓) การล่วงละเมิดทางเพศ ๔) ภาวะจติ เวช ๕) การกลน่ั แกล้งรังแก (Bullying) ๑) ภัยทเ่ี กดิ จากการใชค้ วามรนุ แรง ของมนษุ ย์ (Violence) • การลว่ งละเมดิ ทางเพศ • การทะเลาะวิวาท • การกลนั่ แกลง้ รังแก • การชุมนมุ ประท้วงและการจลาจล • การก่อวินาศกรรม • การระเบิด • สารเคมีและวตั ถุอันตรายท้า ให้เกดิ มลภาวะเป็นพษิ • การลอ่ ลวง ลกั พาตัว ๒) ภัยที่เกดิ จากอบุ ัตเิ หตุ (Accident) • ภัยธรรมชาติ • ภยั จากอาคารเรียน สิง่ ก่อสร้าง • ภยั จากยานพาหนะ • ภยั จากการจัดกิจกรรม • ภยั จากเครือ่ งมอื อปุ กรณ์ ๓) ภัยทเ่ี กดิ จากการถกู ละเมดิ สิทธ์ิ (Right) • การถกู ปล่อยปละ ละเลย ทอดทิ้ง • การคกุ คามทางเพศ • การไมไ่ ด้รบั ความเปน็ ธรรมจากสงั คม ๔) ภยั ทเ่ี กดิ จากผลกระทบตอ่ สุขภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) • ภาวะจิตเวช • ติดเกม • ยาเสพตดิ
• โรคระบาดในมนษุ ย์ • ภยั ไซเบอร์ • การพนนั • มลภาวะเป็นพษิ • โรคระบาดในสตั ว์ • โรคภาวะทพุ โภชนาการ ระบบมาตรฐานความปลอดภัย MOE SAFETY CENTER MOE Safety Center เป็นระบบมาตรฐานความปลอดภัยในสถานศึกษาโดยใช้หลัก Digital Based Management เป็นรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแล ช่วยเหลือนักศึกษา นักศึกษา ให้เกิดการ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และ ได้รับ การปกป้อง คุ้มครองความปลอดภัยท้ังด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการเสริมสร้าง ทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในการดูแลตนเองจากภัยอันตรายต่าง ๆ นักศึกษา ครู และบุคลากร ทางการศึกษา หรือประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึงระบบ MOE Safety Center เม่ือมีความรู้สึกไม่ปลอดภัยและมคี วามประสงค์จะรอ้ งทุกข์ ร้องเรียน หรือ เตือนให้ทราบว่าสถานศึกษาแห่ง หน่ึงกา้ ลงั เกิดภัยอย่างหนึ่งอย่างใดใน 4 กลุ่มภัย ได้แก่ ภัยท่ีเกิดจากการใช้ความรุนแรงของมนุษย์ ภัยทเี่ กิด จากอบุ ัตเิ หตุ ภัยท่ีเกิดจาก การถูกละเมดิ สิทธิ์ และภัยท่ีเกดิ จากผลกระทบตอ่ สขุ ภาวะทางกายและจิตใจ ทัง้ น้ี นกั ศึกษา ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป ท่ีไดร้ บั ผลกระทบ ประสบเหตหุ รือ เห็นเหตุการณ์ สามารถแจ้งเหตไุ ด้ ๔ ชอ่ งทาง ดงั น้ี 1. Application MOE Safety Center 2. www.MOESafetyCenter.com 3. LINE@MOESafetyCenter 4. call center๐-๒๑๒๖-๖๕๖๕
แนวปฏิบัตกิ ารเผชิญเหตุ ข้ันตอนแนวดาเนินการเผชญิ เหตุ ๑. สถานศึกษาไดร้ ับแจ้งเหตุ สถานศกึ ษาตรวจสอบข้อมูลเบอ้ื งต้น ประเมนิ ปัญหาสถานการณ์ ๒. รายงานผู้บริหารสถานศึกษา แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center สามารถแจ้งเหตุได้ ๔ ช่องทาง Application MOE Safety Center, www.MOESafetyCenter.com , LINE@MOESafetyCenter หรือท่ี call center ๐-๒๑๒๖-๖๕๖๕ - แจง้ ผทู้ ่เี กย่ี วขอ้ งในการดา้ เนนิ การช่วยเหลอื - แจ้งผ้ปู กครอง ๓. ดา้ เนนิ การระงับเหตกุ ารณค์ วามไม่ปลอดภยั หรอื แก้ไขปญั หา ๔. ตดิ ตาม/ดแู ลชว่ ยเหลือ/คมุ้ ครอง/ ให้คา้ ปรกึ ษาแก่เด็กนักศึกษา โดยค้านงึ ถงึ ความปลอดภัย ๕. จัดเกบ็ ขอ้ มูลการด้า เนนิ งานของสถานศึกษา สรปุ ผลการทา้ เมื่อเกิดเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัย สถานศึกษาสามารถ ปฏิบัติการเผชิญเหตุ เพ่ือลดระดับความ รุนแรง ระงับเหตุการณ์ ความไม่ปลอดภัย หรือแก้ไขปัญหา ตามขอบข่ายความ ปลอดภัยของสถานศึกษา ไดด้ งั น้ี
แนวทางและมาตรการป้องกนั และแกไ้ ขอุบตั ิเหตุ อุบตั ิภัย และปัญหาทางสังคม ด้านการปอ้ งกนั และ 1.ตรวจสอบโครงสร้างและส่วนประกอบอาคารอย่าง 1.ผู้บรหิ าร แก้ไขอุบัติเหตุ สมา่้ เสมอ สถานศึกษา 1. อบุ ตั ิเหตุจากอาคาร 2.แต่งตง้ั บคุ ลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่ 2.งานอาคารสถานที่ เรยี นอาคารประกอบ 3.สร้างความตระหนักและให้ความรู้การรกั ษาความปลอดภัย 3.ครูและบคุ ลากร แกน่ ักศึกษา กศน. 4. องคก์ รนักศึกษา 4.จัดทา้ ป้ายข้อควรระวังด้านความปลอดภัยในจุดอนั ตราย 5.ชุมชน 5.ซอ่ มแซมสว่ นประกอบอาคารให้อยู่ในสภาพทปี่ ลอดภยั 6.จัดให้มีแผนการป้องกันและการเคล่ือนย้ายกรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉิน 2. อบุ ัติเหตจุ ากบริเวณ 1.แตง่ ตง้ั ครเู วรประจา้ วันคอยควบคุม ก้ากับ ตดิ ตามดูแล 1.ผบู้ ริหาร สถานศกึ ษา การรกั ษาความปลอดภัยตลอดทง้ั วัน สถานศกึ ษา 2.จัดให้มีเจ้าหน้าที่ตัดแต่งก่ิงไม้ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย 2.งานอาคารสถานที่ เสมอ 3.ครูและบุคลากร 3.จดั ใหป้ า้ ยคา้ เตือนเพอื่ หลกี เลย่ี งการเกิดอบุ ัติเหตุ 4. องคก์ รนักศกึ ษา 4.จัดใหม้ คี วามรู้และแนวทางปฏบิ ัติแก่นกั ศึกษา กศน.ในกรณี 5.ชุมชน ที่พบวัตถุ ส่ิงแปลกปลอม ซึ่งอาจเป็นวัตถุระเบิดหรือวัตถุ อนั ตราย 5.ติดต้งั ไฟฟ้าสอ่ งสวา่ งทีเ่ พียงพอ 6.จัดให้มีระบบการขออนุญาตออกนอกสถานศกึ ษา 7.จดั ใหม้ กี ารบ้ารุงดูแลรักษาความสะอาดโดยรอบสม้า่ เสมอ 8.จดั ใหม้ ีถังขยะแยะประเภทเพอ่ื สะดวกในการจัดเก็บและ ท้าลาย 9.หลกี เล่ียงการจัดซ้ือวัสดุและครภุ ณั ฑ์การศกึ ษา ท่อี าจ กอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายตอ่ ผู้เรียนได้งา่ ย 10.ปิดอุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทุกคร้ังท่ีไม่ได้ใช้งาน และ มอบหมายใหค้ รูเวรประจา้ วันตรวจสอบ 3. อบุ ัติเหตจุ าก 1.มกี ารสา้ รวจสภาพปัญหาดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม มลภาวะใน 1.ผู้บริหาร สภาพแวดลอ้ มของ สถานศึกษาและชมุ ชน เพอ่ื หาแนวทางแก้ไข สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา 2.แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ กศน.ต้าบล โดยใชช้ ุมชนและท้องถิ่น 2.งานอาคารสถานท่ี มสี ่วนร่วมในการหาแนวทางป้องกนั และแกไ้ ข 3.ครูและบคุ ลากร 3.ประสานงานกับหนว่ ยงานอ่ืนที่เกยี่ วขอ้ ง 4. องค์กรนกั ศึกษา 4.จดั กิจกรรมสร้างจิตส้านกึ และความตระหนกั ต่อปญั หา 5.ชุมชน สิง่ แวดล้อมใหก้ ับนกั ศึกษา กศน. ครูและบคุ ลากร และชมุ ชน
สาเหตุ มาตรการป้องกันและแกไ้ ข ผ้รู บั ผดิ ชอบ 4. อบุ ตั ิเหตุจากเคร่ืองมอื 1.ตรวจสอบเคร่ืองมอื เครื่องใช้ และอปุ กรณต์ ่างๆ 1.ผบู้ ริหาร เครือ่ งใช้ และอุปกรณ์ ก่อนใช้ทกุ ครง้ั สถานศกึ ษา ตา่ งๆ 2.ห้ามใชเ้ ครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้ และอปุ กรณต์ ่างๆ ท่ชี า้ รดุ 2.ครูและบคุ ลากร 3.แนะน้า สาธิต และควบคุมการใช้อย่างถูกวิธีตามประเภท 3. องค์กรนักศึกษา ของอปุ กรณ์ 4.นกั ศกึ ษา กศน. 4.จัดเก็บเครอื่ งมอื เครือ่ งใช้ อุปกรณ์ในทเี่ ก็บทกุ ครง้ั อย่างเป็น 5.ผู้ปกครอง ระเบียบปลอดภัย 6.ชุมชน 5.ก้ากับ ดูแลนักศึกษา กศน.ในการใช้เครื่องมือ เคร่ืองใช้ อปุ กรณ์ให้ ถูกตอ้ งเหมาะกับประเภทกิจกรรม 5. อบุ ตั เิ หตุจากการ 1.สถานศึกษา องค์กรนักศกึ ษา ผปู้ กครอง และชุมชน รว่ มมือ 1.ผู้บรหิ าร เดินทาง ไป-กลับ ระหวา่ ง กันก้าหนดมาตรการขับขีป่ ลอดภยั สถานศึกษา บ้าน และสถานศกึ ษา 2.ก้ากับ ดูแลนักศึกษา กศน.ที่ใช้จักรยานให้ชิดทางซ้ายและ 2.ครูและบคุ ลากร เป็นแถว และสวมหมวกนริ ภัย 100% 3. องคก์ รนักศึกษา 3.ท้ากจิ กรรมเก่ยี วกบั การฝึกปฏิบัตติ ามกฎจราจร 4.นักศึกษา กศน. 5.ผ้ปู กครอง 6.ชุมชน 6. อุบัตเิ หตจุ ากการพา 1.ศึกษาและปฏบิ ัติตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ย 1.ผ้บู รหิ าร นักศกึ ษา กศน.ไปศกึ ษา การพานักศึกษา กศน.ไปศกึ ษานอกสถานศกึ ษาโดยเคร่งครัด สถานศกึ ษา นอกสถานศึกษา 2.เตรยี มการและวางแผนการดา้ เนินการอย่างชัดเจน 2.ครูและบคุ ลากร 3.จดั ทา้ ประวัตินักศึกษา กศน.ทรี่ ่วมเดินทางนอกสถานที่ 3. องคก์ รนักศึกษา 4.จดั ครูคอยควบคุม ดแู ลใหอ้ ย่ใู นระเบยี บวนิ ยั 4.นกั ศึกษา กศน. 5.จดั ให้มเี วชภัณฑท์ ี่จ้าเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ 5.ผู้ปกครอง 6.หากมีการใช้พาหนะรถยนต์ต้องแต่งต้งั เจา้ หนา้ ท่ตี รวจ 6.ชุมชน สภาพรถยนต์และตรวจประวัตคิ นขับเพ่ือความปลอดภยั 7. อบุ ัติเหตุจากการนา 1. หลกี เลี่ยงกิจกรรมทีม่ คี วามเสย่ี งต่อการเกิดอันตราย 1.ผบู้ ริหาร นักศกึ ษา กศน.ร่วม 2.จดั ระบบดแู ลความปลอดภัยอยา่ งใกลช้ ิด สถานศึกษา กิจกรรมสาคญั 3.ให้ความรู้นกั ศึกษา กศน.ในการร่วมกิจกรรมอย่างปลอดภัย 2.ครูและบุคลากร ทุกครั้ง 3. องค์กรนักศึกษา 4.จดั ครคู อยควบคุม ดแู ลให้อยใู่ นระเบียบวินัยทุกครัง้ 4.ผปู้ กครอง 5.ตรวจดคู วามเหมาะสมของสถานท่ีทป่ี ลอดภัย 5.หนว่ ยงานภาคี 6.ประสานงานเจ้าหน้าฝ่ายปกครองท่ีดูดา้ นการรักษา เครอื ขา่ ยในชุมชน ความปลอดภยั ของชุมชน 7.จัดเตรียมหน่วยปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ทุกคร้ัง 8.หากมกี ารใช้พาหนะรถยนตต์ ้องแต่งตัง้ เจ้าหน้าท่ีตรวจ สภาพรถยนต์ และตรวจประวตั ิคนขับเพ่อื ความปลอดภยั
สาเหตุ มาตรการป้องกนั และแก้ไข ผู้รับผิดชอบ ดา้ นการป้องกนั และแก้ไข อุบัติภยั 1.จัดให้มีเจา้ หน้าท่อี ยเู่ วรรกั ษาสถานที่ราชการอย่างเคร่งครัด 1.ผบู้ ริหารสถานศึกษา 1. อคั คภี ัย 2.ใหค้ วามรู้นักศกึ ษา กศน.เกย่ี วกบั การดับไฟ หนไี ฟ 2.ครูและบุคลากร 2. วาตภัย 3.วางแผนรบั สถานการณ์ไว้ลว่ งหน้า 3. องคก์ รนักศึกษา 3. อทุ กภัย 4.จัดแหล่งข้อมูลที่สามารถติดต่อขอความช่วยเหลือไว้ 4.ผ้ปู กครอง 4. ธรณีพิบัตภิ ยั ล่วงหน้า 5.หน่วยงานภาคี 5.ขจัดส่ิงรกรงุ รังในบรเิ วณสถานศกึ ษา อาคารและหอ้ งต่างๆ เครอื ขา่ ยในชมุ ชน 6.หากเกดิ อคั คีภยั ใหร้ ายงานต้นสังกัดทันที 1.จดั ใหม้ ีการอยเู่ วรรักษาสถานท่รี าชการ 1.ผูบ้ ริหารสถานศึกษา 2.ใหค้ วามรู้ในการปฏิบัตติ นแก่นักศกึ ษา กศน. 2.ครูและบุคลากร 3.ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆอย่างสมา้่ เสมอ 3. องคก์ รนกั ศกึ ษา 4.ตดั แต่งก่ิงไม้ท่ีอยใู่ กล้อาคาร 4.ผู้ปกครอง 5.ติดตามขา่ วพยากรณ์อากาศสม่้าเสมอ 5.หนว่ ยงานภาคี 6.จดั ใหม้ ีเวชภณั ฑท์ ่ีจ้าเปน็ ในการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ เครือขา่ ยในชมุ ชน 7.จดั ใหม้ เี ครือข่ายองค์กรภาครฐั เอกชนเพือ่ สามารถตดิ ตอ่ ขอ ความช่วยเหลอื ทนั ที 1.ใหค้ วามรู้ในการปฏบิ ัติตนแก่นักศึกษา กศน. 1.ผ้บู ริหารสถานศึกษา 2.จัดใหม้ กี ารอยูเ่ วรรักษาสถานทร่ี าชการ 2.ครูและบุคลากร 3.ตรวจสอบสภาพอาคารตา่ งๆ อย่างสมา่้ เสมอ 3. องค์กรนักศึกษา 4.ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศสมา้่ เสมอ 4.ผู้ปกครอง 5.จัดใหม้ ีเวชภัณฑท์ ีจ่ า้ เป็นในการปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น 5.หนว่ ยงานภาคี 6.จดั ให้มีเครอื ข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพอ่ื สามารถติดตอ่ ขอ เครือขา่ ยในชุมชน ความชว่ ยเหลอื ทนั ที 1.ให้ความรใู้ นการปฏิบตั ิตนแก่นักศกึ ษา กศน. 1.ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 2.จดั ใหม้ ีการอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ 2.ครูและบุคลากร 3.ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆอยา่ งสมา่้ เสมอ 3. องค์กรนกั ศึกษา 4.ตดั แตง่ ก่ิงไม้ทีอ่ ยใู่ กล้อาคาร 4.ผปู้ กครอง 5.ตดิ ตามข่าวพยากรณ์อากาศสมา่้ เสมอ 5.หน่วยงานภาคี 6.จัดใหม้ ีเวชภัณฑ์ที่จา้ เป็นในการปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น เครอื ขา่ ยในชุมชน 7.จดั ใหม้ เี ครอื ขา่ ยองคก์ รภาครัฐเอกชนเพ่ือสามารถตดิ ต่อขอ ความช่วยเหลือทันที
สาเหตุ มาตรการป้องกันและแก้ไข ผู้รบั ผิดชอบ ด้านการป้องกันและแก้ไข ปญั หาทางสังคม อาทิ 1.จัดใหม้ รี ะบบดูและช่วยเหลือผู้เรียน 1.ผบู้ รหิ าร เชน่ พฤตกิ รรมทางเพศ / พฤติกรรมรนุ แรง/ ฯลฯ 2.จดั ใหม้ กี ารอย่เู วรรกั ษาสถานที่ราชการ สถานศึกษา ด้านการปอ้ งกนั และแกไ้ ข 3.จดั ให้มีการวางแผนปอ้ งกันภัย 2.ครูและบุคลากร ปัญหาทางสังคม 1. การล่วงละเมดิ ทาง 4.จัดใหก้ ารบรกิ ารใหค้ า้ ปรึกษา 3. องค์กรนกั ศกึ ษา รา่ งกายและจิตใจ 5.จดั กิจกรรมเสรมิ สรา้ งทกั ษะในการคดิ วิเคราะห์แกป้ ญั หา 4.ผปู้ กครอง 2.การทารา้ ยตวั เองและ การฆา่ ตวั ตาย 6.จัดใหม้ ปี า้ ยนเิ ทศใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั สื่อตา่ งๆ 5 .ห น่ วยงาน ภ าคี 3.สารเสพตดิ 7.จัดให้มเี ครอื ขา่ ยองคก์ รภาครัฐเอกชนเพอ่ื สามารถติดต่อขอ เครอื ขา่ ยในชุมชน ความชว่ ยเหลือทนั ที 1. จัดบริการใหค้ ้าปรกึ ษาแก่นักศกึ ษา 1.ผู้บริหาร 2.ใช้ระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั ศึกษา อยา่ งจริงจงั และต่อเนื่อง สถานศึกษา 3.ให้มีผู้รับผิดชอบรายงานตามลา้ ดับขนั้ 2.ครูและบุคลากร 4.น้าเข้าสู่การช่วยเหลือ โดยมีครูดูแลติดตามอย่างใกล้ชิด และ 3. องคก์ รนักศกึ ษา ต่อเนื่อง 4.ผปู้ กครอง 5.ประสานงานผปู้ กครองเพ่ือใหค้ วามช่วยเหลือดแู ล 5.หนว่ ยงานภาคี 8.ประสานงานหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง เครอื ข่ายในชุมชน 1.จัดให้ มี ระ บ บ ก าร ดูแ ลช่ ว ยเห ลื อ นั ก ศึ ก ษ า อ ย่ างมี 1.ผู้บริหาร ประสิทธิภาพ โดยมอบหมายครูสังเกตพฤติกรรมนักศกึ ษา เป็น สถานศึกษา รายบคุ คล 2.ครูและบุคลากร 2.จัดท้าระบบเครือข่ายระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน สถานศึกษา 3. องค์กรนกั ศกึ ษา เพ่ือการสื่อสารและสานสัมพันธ์ร่วมมือป้องกันแก้ไขปัญหา 4.ผูป้ กครอง เก่ยี วกบั พฤตกิ รรมนกั ศึกษา 5.หน่วยงานภาคี 3.จัดกิจกรรมปลูกฝังให้เกิดความรัก ความสามัคคี และ เครือขา่ ยในชมุ ชน ชว่ ยเหลอื ซ่งึ กนั และกนั 4.จัดกิจกรรมส่งเสรมิ พัฒนาศักยภาพของนักศึกษา 5.ประสานความร่วมมอื กบั ผูเ้ ชี่ยวชาญ ใหค้ า้ ปรึกษา 6.ประสานผปู้ กครองทันที เมื่อเกิดปญั หา 1.จัดกิจกรรมเสรมิ ทกั ษะชีวติ เพื่อสรา้ งความตระหนัก และ ให้ 1.ผูบ้ รหิ าร นักศึกษา เห็นคณุ ค่าแหง่ ตน สถานศึกษา 2.จัดท้าระบบเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน สถานศกึ ษา เพ่ือการ 2.ครูและบุคลากร สือ่ สารและสานสัมพันธร์ ว่ มมือป้องกันแก้ไขปัญหา 3. องค์กรนักศึกษา 3.จัดกิจกรรมท่ีให้นักศึกษา แสดงออกตามความสามารถที่ 4.ผูป้ กครอง ถกู ต้อง เช่น ศลิ ปะ ดนตรี กฬี า เป็นต้น 5.หน่วยงานภาคี 4.จัดกลมุ่ เฝ้าระวงั โดยอาศยั เครือข่ายท้ังภายในและภายนอก เครือขา่ ยในชมุ ชน 5.จัดการอบรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมให้แก่นักศึกษา 6.ใช้มาตรการระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักศกึ ษา 7.แต่งตงั้ ผูร้ ับผิดชอบแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา 8.คดั กรองและตรวจสขุ ภาพนักศกึ ษา ทกุ ภาคเรียน
สาเหตุ มาตรการป้องกันและแกไ้ ข ผรู้ บั ผดิ ชอบ ด้านการปอ้ งกันและแก้ไข 1.จดั ให้มีระบบดแู ละชว่ ยเหลือผู้เรยี น 1.ผบู้ รหิ าร ปัญหายาเสพติด 2.จัดใหม้ กี ารอยู่เวรรกั ษาสถานทรี่ าชการ สถานศึกษา 3.จดั ใหม้ กี ารวางแผนป้องกันภยั 2.ครูและบคุ ลากร 4.จัดใหก้ ารบรกิ ารใหค้ า้ ปรกึ ษา 3. องค์กรนักศึกษา 5.จัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะในการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหายา 4.ผูป้ กครอง เสพตดิ ในสถานศกึ ษา 5.หน่วยงานภาคี 6.จดั ใหม้ ปี ้ายนิเทศใหค้ วามรเู้ กี่ยวกับส่อื ต่างๆ เครือขา่ ยในชุมชน 7.จัดให้มเี ครือขา่ ยองค์กรภาครฐั เอกชนเพ่อื สามารถติดต่อขอ ความชว่ ยเหลือทันที
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้อาเภอนครชัยศรี สานักงานส่งเสรมิ การเรยี นรู้จังหวัดนครปฐม
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: