“ พลเมืองผใู ชงานสื่อดจิ ทิ ัลและสือ่ สงั คม ออนไลนอ ยา งเขาใจบรรทดั ฐาน ของการปฏิบตั ิตัวให เหมาะสม และมีความรบั ผดิ ชอบในการใชเ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา งย่ิงการสอ่ื สารในยคุ ดจิ ิทัลเปนการ ”ส่อื สารท่ไี รพรมแดนจําเปนตอ งมีความฉลาดทางดจิ ทิ ลั พลเมอื งดจิ ิทลั (Digital Citizenship) จงึ หมายถงึ สมาชกิ บนโลกออนไลน ทใ่ี ชเ ครอื ขายอินเทอรเ น็ต ซ่งึ มคี วาม หลากหลายทางเชือ้ ชาติ อายุ ภาษา และวัฒนธรรม ดังนนั้ พลเมืองดจิ ทิ ลั ทุกคนจึงตองมี ‘ความเปน พลเมือง ดิจทิ ัล’ ทม่ี คี วามฉลาดทางดิจทิ ัลบน พื้นฐานของความรับผิดชอบ การมี จริยธรรม การมสี ว นรว ม ความเหน็ อก เหน็ ใจและเคารพผอู น่ื โดยมงุ เนน ความ เปนธรรมในสงั คม ปฏบิ ตั ิและรักษาไว ซึง่ กฎเกณฑ เพือ่ สรา งความสมดลุ ของ การอยูร วมกันอยางมีความสุข
เราอาจแบงแนวคิดเกี่ยวกบั ความเปน พลเมอื งออกเปน 3 แนวคิด หลกั ซ่ึงความเปน พลเมืองทัง้ สามแบบนที้ ํางานรวมกนั มากกวาแยกขาดจากกนั น่นั คอื แนวคิดความเปนพลเมืองแบบเดิมนนั้ ใหค วามสาํ คญั กบั “การเปน สมาชกิ ภายใตก ฎหมายของรฐั ชาตทิ ่ตี นสังกดั ” หรือที่ เรียกวา “ความเปน พลเมืองภายใตกฎหมาย” (legal citizenship) ส่งิ สําคัญสาํ หรบั การเปน พลเมอื งทีด่ ีตามแนวคิดนคี้ ือ การมีความรเู กย่ี วกบั รัฐบาลและหนา ท่ีพลเมืองตามกฎหมาย เชน การไปเลอื กตัง้ และจายภาษี แนวคิดความเปน พลเมอื งโลกวิพากษค วามเชอื่ ท่วี า พลเมอื งจะตอ ง ผกู ตดิ กับความเปน ชาตแิ ละวัฒนธรรมชาติท่ตี นสงั กัดเพยี งหนึง่ เดียว ซ่งึ ตี กรอบความเปนพลเมอื งไวค บั แคบและกดี กนั กลมุ คนทีม่ ีเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวฒั นธรรมอนั แตกตางหลากหลายออกจากความเปนพลเมอื ง แนวคดิ ความเปนพลเมืองโลกตระหนกั ถงึ ความเชือ่ มโยงและการพึ่งพาอาศยั กนั ในระดบั โลก และมีจิตสาํ นึกรว มถึงปญ หาในระดบั โลก พลเมอื งทีอ่ าศยั ใน สงั คมโลกจึงตอ งมคี วามสามารถและความเขาใจในระดบั โลก
แนวคิดความเปน พลเมืองดิจทิ ลั พูดถึงความสามารถในการใช อนิ เทอรเน็ตเพื่อมีสวนรว มในสงั คมเศรษฐกิจดจิ ิทัลอยา งมีประสิทธิภาพ มคี วามรับผิดชอบ และปลอดภัย การปฏวิ ัตเิ ทคโนโลยกี ารสื่อสารไดเ ปด โอกาสและหยิบยน่ื ความทาทายใหมๆ ใหก บั พลเมืองดิจิทลั เราสามารถ เขา ถงึ ขอ มลู โดยไรขอจาํ กัดเชงิ ภูมิศาสตร เขา รว มชมุ ชนท่ีมีความสนใจ รว มกนั สรางสรรคแ นวคดิ ใหมๆ ในการแกไขปญ หา และทาํ ใหเ สยี ง ของพลเมืองดงั ขึ้นในสงั คม แตเรากต็ องเผชิญกบั ความเสี่ยงใหมๆ เชน การสอดแนมความเปนสวนตวั อาชญากรรมคอมพิวเตอร ดงั นัน้ เราใน ฐานะพลเมอื งดิจทิ ลั จึงตอ งตระหนักถึงโอกาสและความเสยี่ งในโลกดจิ ทิ ัล พฒั นาทักษะและความรทู ีจ่ าํ เปนในโลกใหม และเขา ใจถงึ สทิ ธแิ ละความ รบั ผิดชอบในโลกออนไลน
กลมุ ของความสามารถทางสงั คม อารมณ และการรับรู ท่ีจะทาํ ใหค นคนหน่ึงสามารถเผชิญกบั ความทา ทายบนเสนทางของ ชวี ิตในยคุ ดิจิทลั และสามารถปรับตวั ใหเขา กับชวี ติ ดจิ ทิ ัลได ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั ครอบคลุมทง้ั ความรู ทักษะ ทศั นคติและ คา นยิ มทจ่ี ําเปน ตอการใชชีวิตในฐานะสมาชกิ ของโลกออนไลน กลา วอกี นัยหน่งึ คอื ทักษะการใชสอ่ื และการเขา สงั คมในโลก ออนไลน
ตอ งมีความสามารถในการสรางสมดุล บรหิ ารจดั การ รกั ษาอตั ลักษณท ีด่ ีของตนเองไวใหไ ด ทงั้ ในสว นของโลกออนไลนและโลก ความจรงิ โดยตอนนปี้ ระเดน็ เรอื่ งการสรา งอัตลกั ษณออนไลนถือเปน ปรากฏการณใ หม ท่ที ําใหบคุ คลสามารถแสดงออกถงึ ความเปนตัวตนตอ สงั คมภายนอก โดยอาศยั ชองทางการส่ือสารผา นเวบ็ ไซตเครือขายสงั คมใน การอธบิ ายรปู แบบใหมของการสอ่ื สารแบบมีปฏิสัมพันธท างอนิ เทอรเนต็ ซ่งึ เปนการแสดงออกเกย่ี วกับตวั ตนผา นเว็บไซตเ ครอื ขา ยสงั คมตางๆ ทกั ษะในการบริหารเวลากับการใชอ ปุ กรณย คุ ดิจทิ ัล รวมไปถงึ การควบคมุ เพื่อใหเ กิดสมดลุ ระหวา งโลกออนไลนแ ละโลกภายนอก นบั เปน อกี หนง่ึ ความสามารถท่ีบงบอกถึง ความเปน พลเมอื งดจิ ิทัล ไดเ ปน อยา งดี เพราะเปน ท่รี กู นั อยูแ ลววาการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศที่ขาดความเหมาะสม ยอ มสงผลเสยี ตอสขุ ภาพโดยรวม ทงั้ ความเครียดตอสุขภาพจิตและเปน สาเหตุกอใหเกดิ ความเจ็บปวยทางกาย ซง่ึ นาํ ไปสกู ารสูญเสียทรัพยส ินเพ่อื ใชร ักษา และเสียสุขภาพในระยะยาวโดยรเู ทา ไมถ งึ การณ
จากขอมูลทางสถติ ิลาสดุ สถานการณใ นเร่ือง Cyber bullying ในไทย มีคา เฉลย่ี การกลัน่ แกลงบนโลกออนไลนใ นรูปแบบตางๆ ท่ีสงู กวา คา เฉลี่ยโลกอยทู ่ี 47% และเกดิ ในรูปแบบท่ีหลากหลาย อาทิ การดาทอกัน ดว ยขอความหยาบคาย การตัดตอ ภาพ สรา งขอ มูลเทจ็ รวมไปถงึ การตั้งกลุม ออนไลนกดี กันเพ่ือนออกจากกลมุ ฯลฯ ดงั นั้น วาทพ่ี ลเมอื งดจิ ทิ ลั ทกุ คน จงึ ควรมีความสามารถในการรบั รแู ละรับมือการคุกคามขมขบู นโลกออนไลนได อยางชาญฉลาด เพอ่ื ปอ งกันตนเองและคนรอบขางจากการคุกคามทางโลก ออนไลนใหได ความสามารถในการปองกันขอมูลดวยการสรา งระบบความ ปลอดภยั ท่เี ขม แข็งและปองกันการโจรกรรมขอ มลู ไมใ หเกดิ ข้ึนได ถาตอง ทําธุรกรรมกับธนาคารหรือซอื้ สนิ คา ออนไลน เชน ซื้อเสอ้ื ผา ชดุ เดรส เปนตน ควรเปลี่ยนรหสั บอยๆ และควรหลกี เลย่ี งการใชค อมพวิ เตอร สาธารณะ และหากสงสยั วาขอมลู ถกู นําไปใชห รือสญู หาย ควรรีบแจง ความและแจงหนวยงานทเี่ กีย่ วขอ งทนั ที
จากขอมูลทางสถติ ิลาสดุ สถานการณใ นเร่ือง Cyber bullying ในไทย มีคา เฉลย่ี การกลัน่ แกลงบนโลกออนไลนใ นรูปแบบตางๆ ท่ีสงู กวา คา เฉลี่ยโลกอยทู ่ี 47% และเกดิ ในรูปแบบท่ีหลากหลาย อาทิ การดาทอกัน ดว ยขอความหยาบคาย การตัดตอ ภาพ สรา งขอ มูลเทจ็ รวมไปถงึ การตั้งกลุม ออนไลนกดี กันเพ่ือนออกจากกลมุ ฯลฯ ดงั นั้น วาทพ่ี ลเมอื งดจิ ทิ ลั ทกุ คน จงึ ควรมีความสามารถในการรบั รแู ละรับมือการคุกคามขมขบู นโลกออนไลนได อยางชาญฉลาด เพอ่ื ปอ งกันตนเองและคนรอบขางจากการคุกคามทางโลก ออนไลนใหได ความสามารถในการปองกันขอมูลดวยการสรา งระบบความ ปลอดภยั ท่เี ขม แข็งและปองกันการโจรกรรมขอ มลู ไมใ หเกดิ ข้ึนได ถาตอง ทําธุรกรรมกับธนาคารหรือซอื้ สนิ คา ออนไลน เชน ซื้อเสอ้ื ผา ชดุ เดรส เปนตน ควรเปลี่ยนรหสั บอยๆ และควรหลกี เลย่ี งการใชค อมพวิ เตอร สาธารณะ และหากสงสยั วาขอมลู ถกู นําไปใชห รือสญู หาย ควรรีบแจง ความและแจงหนวยงานทเี่ กีย่ วขอ งทนั ที
มรี ายงานการศกึ ษาวิจยั ยืนยันวา คนรนุ Baby Boomer คอื กลมุ ที่เกดิ ตั้งแตป พ.ศ. 2487 – 2505 มกั จะใชงานอุปกรณค อมพวิ เตอร หรอื โทรศพั ทเ คลื่อนทีข่ องผูอน่ื และเปดใชงาน WiFi สาธารณะ เสร็จแลว มักจะละเลย ไมล บรหสั ผานหรอื ประวตั กิ ารใชงานถึง 47% ซงึ่ เส่ยี งมากท่ี จะถูกผูอนื่ สวมสิทธิ ขโมยตัวตนบนโลกออนไลน และเขา ถึงขอ มลู สว น บุคคลไดอยา งงา ยดาย ดงั นน้ั ความเปน พลเมืองดจิ ทิ ลั จงึ ตอ งมที ักษะ ความสามารถทจ่ี ะเขา ใจธรรมชาติของการใชชวี ิตในโลกดจิ ทิ ลั วา จะ หลงเหลือรอ งรอยขอมูลทงิ้ ไวเ สมอ รวมไปถึงตองเขาใจผลลพั ธท่อี าจเกิดข้นึ เพ่อื การดูแลส่ิงเหลา นีอ้ ยา งมีความรบั ผดิ ชอบ ความสามารถในการเห็นอกเห็นใจและสรางความสัมพันธท ดี่ ีกบั ผอู ื่นบนโลกออนไลน พลเมืองดจิ ิทัลท่ดี จี ะตอ งรถู ึงคณุ คาและจรยิ ธรรมจาก การใชเ ทคโนโลยี ตอ งตระหนักถงึ ผลพวงทางสงั คม การเมือง เศรษฐกจิ และวัฒนธรรม ที่เกิดจากการใชอ ินเทอรเน็ต การกดไลก กดแชร ขอ มลู ขาวสาร ออนไลน รวมถึงรูจักสิทธิและความรับผดิ ชอบออนไลน อาทิ เสรภี าพในการพดู การเคารพทรพั ยส นิ ทางปญญาของผูอ ืน่ และการปกปอง ตนเองและชุมชนจากความเสีย่ งออนไลน เชน การกล่นั แกลงออนไลน ภาพลามกอนาจารเด็ก สแปม เปน ตน
จะเห็นวา ความฉลาดดิจิทัลในระดับพลเมอื งดจิ ทิ ัลเปนทักษะ ที่สําคัญสําหรับนักเรียน และบุคคลท่ัวไปในการสื่อสารในโลกออนไลน เปนอยางย่งิ ทง้ั เอกลักษณพลเมืองดิจิทัล การบริหารจัดการเวลาบนโลก ดิจิทัล การจัดการการกล่ันแกลงบนไซเบอร การจัดการความปลอดภัย บนระบบเครือขาย การจัดการความเปนสวนตัว การคิดอยางมี วิจารณญาณ รองรอยทางดิจิทลั ความเห็นอกเห็นใจและสรางสัมพันธภาพ ที่ดกี ับผอู ื่นทางดจิ ิทัล หากบคุ คลมที กั ษะและความสามารถท้ัง 8 ประการ จะทําใหบ ุคคลนนั้ มีความสามารถในการใชอนิ เทอรเ น็ตในการบรหิ ารจดั การ ควบคุม กํากับตน รูผิดรูถูก และรูเทาทัน เปนบรรทัดฐานในการใช เทคโนโลยีดิจิทัลอยางเหมาะสม เรียนรูที่จะใชเทคโนโลยีอยางชาญฉลาด และปลอดภยั
ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล (Digital intelligence) [Online]. แหลง ท่มี า https://www.scimath.org/article-technology/item/10611-digital-intelligence [31 ตลุ าคม 2563] ทักษะดจิ ทิ ัล กาวสู พลเมืองในศตวรรษท่ี 21 [Online]. แหลง ที่มา https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledge-base/article-pr/1355-goto- citizens21st [31 ตุลาคม 2563] คุณลักษณะการเปน พลเมอื งดจิ ิทัล [Online]. แหลงทีม่ า https://sites.google.com/site/digitalcitizens03718/about [31 ตุลาคม 2563]
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: