หนว่ ยที่ 3โครงสร้างเครอื ข่าย เสนอ ครู เพียรวทิ ย์ ขาทวี จัดทาโดย น.ส.เสาวลกั ษณ์ เครือครฑุ ปวส.2 คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ (ม.6) เลขที่ 26
ลกั ษณะการเช่อื มตอ่ เครอื ข่ายลกั ษณะของการเชอื่ มโยงออกเปน็ 4 ลกั ษณะ คอื1.เครอื ข่ายแบบดาว (Star Network) จะมคี อมพิวเตอรห์ ลกั เปน็ โฮสต์ (Host) ตอ่ สายสื่อสารกบัคอมพวิ เตอร์ย่อยท่เี ป็นไคลเอนต์ (Client) คอมพิวเตอร์ที่เป็นไคลเอนตแ์ ต่ละเคร่อื งไม่สามารถตดิ ตอ่ กันไดโ้ ดยตรง การติดตอ่ จะต้องผา่ นคอมพวิ เตอรโ์ ฮสตท์ ่เี ปน็ ศนู ย์กลาง ขอ้ ดีของเครอื ข่ายแบบดาว1.) มีความคงทนสูง คอื หากสายเคเบิลของบางโหนดเกดิ ขาดก็จะไมส่ ่งผลกระทบต่อระบบโดยรวม โดยโหนดอน่ื ๆ ยงั สามารถใชง้ านไดต้ ามปกติ2.) เนอื่ งจากมจี ดุ ศนู ย์กลางอยู่ทฮี่ บั (Hub) ดงั นน้ั การจัดการและการบริการจะง่ายและสะดวก ขอ้ เสยี ของเครอื ข่ายแบบดาว1.) ใช้สายเคเบิลมากเท่ากบั จานวนเคร่ืองท่ีเช่ือมตอ่ หมายถงึ ค่าใชจ้ ่ายท่สี งู ขึ้นดว้ ย แต่กใ็ ชส้ ายเคเบิลมากกวา่ แบบ BUS กับแบบ RING2.) การเพม่ิ โหนดใด ๆ จะต้องมีพอรต์ เพยี งพอตอ่ การเชอื่ มโหนดใหม่ และจะตอ้ งโยงสายจากพอรต์ ของฮับ (Hub) มายงั สถานท่ีทตี่ ้งั เครือ่ ง3.) เนอื่ งจากมีจดุ ศูนยก์ ลางอยูท่ ่ฮี บั (Hub) หากฮับเกดิ ข้อขดั ข้องหรอื เสยี หายใชง้ านไมไ่ ด้คอมพวิ เตอร์ตา่ ง ๆ ที่เชื่อมตอ่ เขา้ กบั ฮบั (Hub) ดังกล่าวก็จะใช้งานไม่ได้ทง้ั หมด
2. เครอื ขา่ ยแบบวงแหวน (Ring Network) เป็นเครือข่ายทเี่ ชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอรด์ ว้ ยสาย เคเบิลเดียวในลักษณะวงแหวนไมม่ เี ครอ่ื งคอมพวเตอรเ์ ป็นศูนยก์ ลาง ข้อมูลจะต้องผ่านไปยัง คอมพิวเตอร์รอบ ๆ วงแหวน และผา่ นเคร่อื งคอมพิวเตอรท์ ุกเครื่องเพื่อไปยงั สถานีท่ี ต้องการ ซึง่ ขอ้ มูลท่ีสง่ ไปจะไปในทิศทางเดยี วกนั การวิง่ ของขอ้ มูลในเครือข่ายวงแหวนจะใช้ ทิศทางเดยี วเท่านนั้ เม่ือคอมพวิ เตอร์เคร่ืองหนงึ่ ส่งข้อมลู จะสง่ ไปยังเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ตัว ถัดไป ถา้ ขอ้ มลู ท่ีรับมาไม่ตรงตามท่ีคอมพิวเตอร์ตน้ ทางระบุก็จะสง่ ผ่านไปใหค้ อมพวิ เตอร์ เคร่ืองถดั ไป ซ่งึ จะเปน็ ขนั้ ตอนแบบนีไ้ ปเรือ่ ย ๆ จนกวา่ จะถงึ คอมพิวเตอร์ปลายทาง ทีถ่ กู ระบตุ ามที่อยู่จากเครอ่ื งต้นทาง ข้อดีของเครือขา่ ยแบบวงแหวน1.) แต่ละโหนดในวงแหวนมีโอกาสที่จะสง่ ข้อมูลได้เท่าเทียมกนั2.) ประหยัดสายสญั ญาณ โดยจะใชส้ ายสญั ญาณเท่ากับจานวนโหนดทเ่ี ชือ่ มตอ่3.) ง่ายตอ่ การตดิ ตง้ั และการเพม่ิ /ลบจานวนโหนด ข้อเสียของเครอื ข่ายแบบวงแหวน1.) หากวงแหวนเกดิ ขาดหรอื เสียหายจะส่งผลตอ่ ระบบท้ังหมด2.) ยากตอ่ การตรวจสอบ ในกรณที ่มี โี หนดใดโหนดหนง่ึ เกิดขดั ข้อง เน่ืองจากต้องตรวจสอบทีละจดุ วา่ เกิดข้อขัดขอ้ งอยา่ งไร
3. เครือขา่ ยแบบบัส (Bus Network) จะมกี ารเชอื่ มต่อคอมพิวเตอรบ์ นสายเคเบิล ซง่ึ เรยี นว่าบสั คอมพวิ เตอร์เครอื่ งหน่ึง ๆ สามารถสง่ ถา่ ยขอ้ มูลได้เป็นอิสระในการส่งขอ้ มูลน้ันจะมีเพียงคอมพิวเตอร์ตวั เดยี วเท่านั้นทส่ี ามารถส่งขอ้ มูลไดใ้ นช่วงเวลาหนึ่ง ๆ จากน้ันข้อมลู จะว่ิงไปตลอดความยาวของสายเคเบลิ แล้วคอมพวิ เตอรป์ ลายทางจะรบั ขอ้ มลู ทว่ี ่ิงผา่ นมา ข้อดีของเครือขา่ ยแบบบสั1.) เป็นโครงสร้างท่ีไมซ่ บั ซ้อน และตดิ ตั้งงา่ ย2.) งา่ ยตอ่ การเพิ่มจานวนโหนด โดยสามารถเชอ่ื มตอ่ เข้ากับสายแกนหลักได้ทนั ที3.) ประหยดั สายส่งข้อมลู เนือ่ งจากใช้สายแกนเพียงเสน้ เดียว ขอ้ เสียของเครือขา่ ยแบบบัส1.) หากสายเคเบิลที่เปน็ สายแกนหลกั ขาดจะส่งผลให้เครือข่ายต้องหยดุ ชะงกั ในทันที2.) กรณรี ะบบเกิดขอ้ ผดิ พลาดใด ๆ จะหาข้อผดิ พลาดไดย้ าก3.) ระหวา่ งโหนดแต่ละโหนดจะต้องมีระยะห่างตามขอ้ กาหนด
4. เครอื ขา่ ยแบบผสม (Hybrid Network) เปน็ เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ทผ่ี สมผสานระหวา่ งรปู แบบตา่ ง ๆ หลาย ๆ แบบเข้าด้วยกนั คือ มีเครือขา่ ยคอมพิวเตอรย์ อ่ ยหลาย ๆ เครอื ข่ายเพอื่ ใหเ้ กิดประสิทธิภาพสงู สดุ ในการทางานเครอื ข่ายบริเวณกวา้ ง ซึ่งเครือข่ายทีถ่ ูกเชือ่ มตอ่อาจจะอยู่ห่างกันคนละจังหวด หรืออาจจะอย่คู นละประเทศก็เป็นได้
ลักษณะโครงสรา้ งเครอื ข่ายโครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (NETWORK TOPOLOGY)คอื การนาคอมพวิ เตอร์มาเชอ่ื มต่อกันเพื่อประโยชนข์ องการสอ่ื สารรปู แบบการจัดวางคอมพิวเตอร์ ซึ่งแตล่ ะแบบกม็ ีจุดเด่นท่ีต่างกนั สามารถแบง่ ตามลักษณะของการเชอ่ื มต่อหลักได้ดงั นี้1.โครงสรา้ งเครือขา่ ยแบบแมช (mesh topology) เป็นรปู แบบของการเชื่อมตอ่ ที่มคี วามนยิ มมากและมปี ระสิทธิภาพสงู เนือ่ งจากถา้ มีเส้นทางของการเช่ือมตอ่ คใู่ ดคหู่ น่ึงขาดจากกัน การตดิ ต่อสือ่ สารระหว่างคนู่ ั้นยังสามารถติดตอ่ ไดโ้ ดยอุปกรณ์จัดเส้นทาง (router) จะทาการเชื่อมต่อเสน้ ทางใหมไ่ ปยงั จดุ หมายปลายทางอตั โนมตั ิ การเช่อื มต่อแบบนี้มกั นิยมสรา้ งบนเครอื ขา่ ยแบบไร้สาย รูปร่างเครอื ข่ายแบบแมช ระบบนยี้ ากต่อการ เดินสายและมีราคาแพงมากจงึ ยงั ไมเ่ ป็นท่ีนิยมมากนัก
2.โครงสร้างเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบดาว (star topology)โครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบดาว ภายในเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์จะต้องมีจุกศูนยก์ ลางในการควบคุมการเชอ่ื มต่อคอมพวิ เตอร์ หรอื ฮับ (hub) การส่ือสารระหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตา่ งๆ จะสอื่ สารผ่านฮับกอ่ นทีจ่ ะส่งขอ้ มลู ไปสูเ่ ครอื่ งคอมพิวเตอรเ์ ครื่องอื่นๆ โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ แบบดาวมขี ้อดี คือ ถ้าต้องการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เครือ่ งใหม่ก็สามารถทาได้งา่ ยและไม่กระทบต่อเครอื่ งคอมพิวเตอร์อน่ื ๆ ในระบบ ส่วนขอ้ เสีย คอื คา่ ใชจ้ า่ ยในการใช้สายเคเบิ้ลจะคอ่ นข้างสงู และเมอื่ ฮบั ไม่ทางาน การสอ่ื สารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตามไปด้วย3.โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบวงแหวน (ring topology)โครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ บบวงแหวน มีการเช่ือมตอ่ ระหว่างเครือ่ งคอมพิวเตอร์โดยทีแ่ ต่ละการเช่ือมตอ่ จะมลี กั ษณะเปน็ วงกลม การสง่ ข้อมลู ภายในเครอื ข่ายน้ีกจ็ ะเป็นวงกลมด้วยเชน่ กนั ทศิ ทางการส่งขอ้ มูลจะเป็นทิศทางเดียวกนั เสมอ จากเคร่ืองหนง่ึ จนถึงปลายทาง ในกรณีท่ีมเี ครือ่ งคอมพิวเตอร์เคร่ืองใดเครอื่ งหนงึ่ ขดั ขอ้ ง การสง่ ข้อมูลภายในเครือขา่ ยชนดิ นีจ้ ะไม่สามารถทางานต่อไปได้ ขอ้ ดีของโครงสร้าง เครือขา่ ยแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบ้ลิ น้อย และถ้าตัดเคร่อื งคอมพิวเตอรท์ ี่เสียออกจากระบบ กจ็ ะไมส่ ง่ ผลต่อการทางานของระบบเครือข่ายน้ี และจะไมม่ กี ารชนกนั ของขอ้ มลู ท่แี ตล่ ะเคร่อื งสง่
4.โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบวงแหวน (ring topology)โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบวงแหวน มกี ารเชือ่ มตอ่ ระหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยท่ีแต่ละการเชือ่ มต่อจะมีลักษณะเปน็ วงกลม การสง่ ข้อมูลภายในเครอื ข่ายน้กี ็จะเป็นวงกลมด้วยเช่นกัน ทศิ ทางการสง่ ขอ้ มูลจะเปน็ ทศิ ทางเดียวกนั เสมอ จากเครอ่ื งหนงึ่ จนถึงปลายทาง ในกรณีที่มเี คร่อื งคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครอ่ื งหนึ่งขัดข้อง การสง่ ขอ้ มลู ภายในเครือข่ายชนิดน้จี ะไม่สามารถทางานต่อไปได้ ข้อดีของโครงสรา้ ง เครือข่ายแบบวงแหวนคอื ใชส้ ายเคเบลิ้ น้อย และถ้าตดั เครอื่ งคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบ ก็จะไม่สง่ ผลต่อการทางานของระบบเครอื ขา่ ยนี้ และจะไม่มีการชนกันของข้อมลู ทแี่ ต่ละเคร่ืองสง่5. โครงสร้างเครอื ข่ายแบบผสม (Hybrid Topology) คอื เป็นเครอื ข่ายที่ผสมผสานกนั ท้ังแบบดาว แบบวงแหวน และแบบบัสเช่น วิทยาเขตขนาดเล็กท่ี มีหลายอาคาร เครือขา่ ยของแตล่ ะอาคารอาจใชแ้ บบบัสเช่อื มต่อกบัอาคารอนื่ ๆที่ใชแ้ บบดาว และแบบวงแหวน
ส่วนประกอบของเครอื ข่าย Network Component ในชวี ติ ประจาวนั ของเรานน้ั เกยี่ วขอ้ งกบั เครอื ขา่ ยตลอดเวลา เพระทกุ การติดตอ่ สื่อสารน้นั ตอ้ งผา่ นระบบเครอื ขา่ ยมาแลว้ ท้งั สิ้น ไมว่ ่าจะเป็น โทรศพั ท์ SMSATM วิทยุ โทรทศั น์ ลว้ นเป็นระบบเครอื ขา่ ยท้ังสิน้ โดยที่ Internet เปน็ ระบบเครอื ขา่ ยทีใ่ หญ่ทีส่ ุดในโลก ในทนี่ ี้จะกล่าวถึงส่วนประกอบของระบบเครอื ขา่ ย ซึง่ประกอบไปดว้ ย- เครอื่ งบริการขอ้ มลู (Server)- เครื่องลกู ข่ายหรอื สถานี (Client)- การ์ดเครอื ข่าย (Network Interface Cards)- สายเคเบิลทใี่ ชบ้ นเครือขา่ ย (Network Cables)- ฮบั หรอื สวิตช์ (Hubs and Switches)- ระบบปฏบิ ัตกิ ารเครือข่าย (Networkoperating System)เคร่อื งศูนย์บริการข้อมูลโดยมักเรียกว่า เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าท่ีบริการทรัพยากรให้กับเคร่ืองลูกข่าย เช่น การบริการไฟล์ การบริการงานพิมพ์ เป็นต้น เนื่องจากเครื่องเซฟเวอร์มักต้องรบั ภารกจิ หนักในระบบจึงมักใชเ้ คร่ืองที่มขี ดี ความสามารถมาเป็นเคร่ืองแม่ข่าย
เคร่อื งลูกข่ายหรือสถานเี ครอื ขา่ ยเครื่องลกู ขา่ ยเป็นคอมพวิ เตอรท์ เ่ี ชอ่ื มตอ่ เขา้ กับระบบเครอื ขา่ ย ซง่ึ อาจเรยี กวา่เวิรก์ สเตชนั ก็ได้ โดยมกั เป็นเคร่ืองของผู้ใช้งานทั่วไปสาหรบั ติดตอ่ เพอ่ื ขอใชบ้ ริการจากเซริ ์ฟเวอร์ ซงึ่ สามารถจะขอหรอื นา software ทัง้ ขอ้ มลู จากเครอ่ื งแมข่ า่ ยมาประมวลผลใชง้ านได้และยังติดต่อสอ่ื สาร รบั -สง่ ขอ้ มลู จากคอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งอืน่ ๆในเครอื ขา่ ยได้การ์ดเครอื ข่ายแผงวงจรสาหรับใชใ้ นการเชอ่ื มตอ่ สายสญั ญาณของเครอื ข่าย คอมพิวเตอร์ทกุ เครื่องในเครือขา่ ยจะตอ้ งมอี ุปกรณ์น้ี และหน้าทีของการด์ กค็ ือ แปลงสญั ญาณของคอมพิวเตอร์สง่ ผ่านไปตามสายสญั ญาณทาใหค้ อมพวิ เตอรใ์ นเครือขา่ ยแลกเปลย่ี นขอ้ มลู กนั ได้สายเคเบลิ ที่ใช้บนเครือขา่ ยเครือขา่ ยคอมพิวเตอรจ์ าเปน็ ต้องมีสายเคเบลิ เพ่อื ใชส้ าหรับเชอ่ื มต่อคอมพวิ เตอรต์ า่ ง ๆใหอ้ ยบู่ นเครอื ข่ายเดยี วกนั เพ่อื สอื่ สารกนั ได้ นอกจากนี้เครอื ขา่ ยยงั สามารถสอ่ื สารระหวา่ งกนั โดยไม่ใช้สายกไ็ ด้ เรียกว่า เครอื ข่ายไร้สายโดยสามารถใช้คล่นื วทิ ยหุ รืออินฟาเรด เปน็ ตัวกลางในการปลงสญั ญาณ อกี ท้งั ยงั สามารถนาเครอื ขา่ ยแบบมสี ายและเครือขา่ ยแบบไรส้ ายมาเชอื่ มต่อเข้าดว้ ยกันเปน็ เครอื ขา่ ยเดยี วกันได้ฮบั และสวิตช์เปน็ อุปกรณ์ฮับและสวติ ชม์ กั นาไปใช้เป็นศูนยก์ ลางของสายเคเบลิ ทเ่ี ชอ่ื มต่อเครือขา่ ยเขา้ ไว้ด้วยกนั ซงึ่ ฮบั หรอื สวิตชจ์ ะมพี อร์ตเพอ่ื ใหส้ ายเคเบิลเชอื่ มตอ่ เขา้ ระหวา่ งฮับกับคอมพิวเตอร์ โดยจานวนพอรต์ จะข้ึนอยกู่ ับแตล่ ะชนิด เชน่ แบบ 4 , 8, 16 , 24 พอรต์ยังสามารถนาฮบั หรอื สวิตช์หลายๆตวั มาเช่ือมต่อเขา้ ดว้ ยกนั เพ่อื ขยายเครอื ขา่ ยไดอ้ ีกดว้ ย
ระบบปฏิบัติการเครอื ขา่ ยเครอ่ื งแม่ขา่ ยของระบบจาเปน็ ตอ้ งติดตง้ั ระบบปฏบิ ตั ิการเครือข่ายไว้ เพือ่ ทาหน้าที่ควบคมุ และรองรับการทางานของเครอื ข่ายไว้ เครือขา่ ยทมี่ ีประสทิ ธภิ าพจาเป็นตอ้ งพ่ึงSoftware ที่มีประสทิ ธภิ าพตามดว้ ยเช่นกัน
รูปแบบของเครอื ข่ายแบ่งเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่1. เครอื ข่ายแบบ Client/Server2. เครอื ขา่ ยแบบ Peer To Peerเครือขา่ ยแบบ Client/Serverเปน็ เครอื ข่ายทีม่ คี อมพิวเตอร์เคร่อื งหน่ึงทาหน้าท่ีเป็นเซริ ฟ์ เวอร์ ไว้คอยบริการขอ้ มูลให้กบั ลูกเครือขา่ ย โดยมีฮับหรือสวิตซเ์ ป็นตัวกลาง โดยคอมพวิ เตอร์ทกุ เครอื่ งจะถูกเชือ่ มต่อกับฮบั เพื่อทาหน้าทเ่ี ช่อื มต่อระห่างกนั และสมารถขอใชบ้ ริการ web server , mail server , file server และprint server ได้ เครอื ข่ายประเภทน้อี าจมีเซฟเวอร์ตัวหนง่ึ ทาหนา้ ทห่ี ลายๆหน้าท่ีบนเครอื่ งเดยี วหรืออาจทาหน้าท่ีเฉพาะก็ได้ขอ้ ดี ข้อเสียของระบบ Client/Serverข้อดี1.เครือขา่ ยมเี สถยี รภาพสูง และสามารถเพม่ิ ลดไดต้ ามต้องกัน2.มีความปลอดภัยสูงท้ังด้านขอ้ มลู และการจัดการ userขอ้ เสีย1.ต้องใช้ทุนในการลงทนุ สูง2.ต้องพ่ึงพาผคู้ วบคมุ ทีม่ ีความรู้ มคี วามเช่ียวชาญ
เครอื ข่าย Peer To Peerเป็นระบบท่ีเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ทกุ เครอ่ื งบนเครือขา่ ยมฐี านะเท่าเทยี มกันโยท่ีทุกเครอ่ื งจะต่อสายเคเบลิ เขา้ กบั ฮับหรอื สวติ ซท์ ุกเครือ่ งสามารถใชไ้ ฟล์ในเครือ่ งอนื่ ไดแ้ ละสามารถใหเ้ ครือ่ งอืน่ มาช้ไฟล์ของตนเองไดเ้ ชน่ กัน ระบบเครอื ข่ายประเภทนี้มักจะใชง้ านในหนว่ ยงานขนาดเลก็ หรอื ใช้คอมพวิ เตอรไ์ ม่เกิน 10 เครื่อง อาจมีปัญหาเรื่องความปลอดภยั ในระบบเนอื่ งจากขอ้ มลู ทีเ่ ปน็ความลบั ถกู สง่ ไปยงั คอมพิวเตอร์เครื่องอ่ืนดว้ ยเชน่ กันขอ้ ดี ขอ้ เสียของระบบ Peer To Peerขอ้ ดี1.ลงทุนต่า2.ไมต่ อ้ งดแู ลผู้ดแู ลระบบ3.ติดตงั้ ง่ายข้อเสยี1. มขี ดี ความสามารถจากัด2. มรี ะบบความปลอดภยั ตา่3. มปี ัญหาเกยี่ วกับการขยายเครอื ข่าย
อุปกรณ์ทใ่ี ชเ้ ชอื่ มต่อระบบเครอื ข่ายรพี ีตเตอร์(Repeater) : ในระบบ Lan โดยท่วั ไปนั้น ยงิ่ คอมพวิ เตอร์แตล่ ะเครือ่ งอยู่ไกลกนั มากเทา่ ไร สัญญาณทจ่ี ะสอ่ื ถงึ กนั เรม่ิ เพย้ี นและจะจางหายไปในท่ีสดุ จงึ ต้องมีอปุ กรณเ์ สริมพิเศษท่ีเรียกว่า รีพตี เตอร์ ขน้ึ มาทาหนา้ ที่ในการเดนิ สัญญาณคอื ช่วยขยายสัญญาณไฟฟา้ ทีส่ ง่ บนสายLan ให้แรงขึ้นและจดั รูปสัญญาณท่ีเพื้ยนให้กลับเปน็ เหมอื นเดิมฮบั (Hub) : ทาหน้าท่เี ปรยี บเสมอื นศูนยก์ ลางทีก่ ระจายข้อมูลชว่ ยให้คอมพิวเตอรต์ ่างๆบนเครอื ขา่ ยสามารถส่อื สารถึงกนั ได้ คอมพิวเตอรแ์ ต่ละเครือ่ งจะต่อเขา้ กบั ฮับโยสายเคเบิลแล้วส่งขอ้ มลู จากคอมพวิ เตอร์จากเคราองหน่งึ ไปยงั อีกเครือหน่ึงโยงผ่านฮับ ฮับไมส่ ามารถระบุแหล่งท่มี าข้อมลู และปลายทางของขอ้ มลู ทส่ี ่งไปได้ ดงั นั้นฮับจะสง่ ขอ้ มูลไปให้กับเครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ่ีเชือ่ มต่อกับฮับทกุ เครื่องรวมถึงเครอื่ งท่สี ่งข้อมูลดว้ ย ฮบั ไม่สามรถรับและสง่ ข้อมูลได้ในเวลาเดยี วกันจึงทาให้ฮับทางานช้ากว่าสวติ ซ์ การเช่อื มตอ่ แบบนี้ หากเชิร์ฟเวอรไ์ ม่ไดเ้ ปิดใช้งานอยู่ เครอ่ื งลกู ขา่ ยก็ไมส่ ามารใชง้ านบรกิ ารได้
สวติ ซ(์ Switch) : อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทพี่ ัฒนามาจากฮับ ลักษณะทางกายภาพของเนก็ เวริ ด์สวิตซ์น้นั จะเหมือนกบั เนต็ เวิรด์ ฮับทกุ อย่าง แตกตา่ งกนั ตรงท่ี- สวิตสจ์ ะเลือกสง่ ขอ้ มูลถึงผูร้ บั เทา่ น้ัน- สวิตสม์ ีความร็วสงู- มคี วามปลอดภัยสงู กวา่- สามารถรบั ส่งข้อมูลไดใ้ นเวลาเดยี วกนับริดจ์(Bridge) : เป็นอุปกรณเ์ ครือขา่ ยท่ีเชอื่ ม 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน เสมอื นเปน็ สะพานเชือ่ มโยงระหวา่ ง 2 เครือข่ายบรดิ จ์มีความสามารถมากกว่าฮับและรพี ตี เตอร์ กลา่ วคือ สามารถกรองขอ้ มูลทจี่ ะสง่ ได้ โดยตรวจสอบว่า- ตรวจสอบความสามารถของข้อมูล- สง่ ข้อมูลไปในเคร่อื งท่ีต้องการเทา่ น้ัน- จัดการความหนาแน่นของข้อมลู ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
เรา้ เตอร์(Router) : จะช่วยใหเ้ คร่อื งคอมพวิ เตอรส์ ามารถสอ่ สารหากันได้และสามารส่งผ่านขอ้ มูลระหว่าง 2 เครือข่าย เช่น เครอื ขา่ ยในบ้านกบั อินเตอรเ์ นต็ โยท่แี บบมสี ายและไรส้ ายนอกจากนี้เร้าเตอร์ยงั มีระบบรักษาความปลอดภยั คือ ไฟล์วอร์เกตเวย์(Gateway) : เปน็ อุปกรณท์ ่ีทาหน้าท่ีเชอ่ื มตอ่ เครือข่ายตา่ งๆให้เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 2ระบบมคี วามแตกต่างกัน คอื- มีโปรโตคลอทต่ี ่างกัน- มีขนาดเครอื ข่ายต่างกัน- มีระบบเครือขา่ ยต่างกน เชน่ เครื่อง PC และ เคร่ือง MAX ทาให้สามารถเช่อื มตอ่ เครอื ข่ายระหวา่ งกันได้
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: