Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารYSC INSIGHT รอบรั้วศูนย์ฯวิทย์ยะลา ฉบับที่ 1 ประจำเดือน เมษายน-พฤษภาคม 2564

วารสารYSC INSIGHT รอบรั้วศูนย์ฯวิทย์ยะลา ฉบับที่ 1 ประจำเดือน เมษายน-พฤษภาคม 2564

Published by abdulloh37602, 2021-06-16 02:36:24

Description: วารสารYSC INSIGHT รอบรั้วศูนย์ฯวิทย์ยะลา ฉบับที่ 1 ประจำเดือน เมษายน-พฤษภาคม 2564 เพื่อการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการดำเนินงานต่างๆ กิจกรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม

Search

Read the Text Version

YSC รอบรวั้ ศูนยว์ ิทย์ฯยะลำ INSIGHT #ฉบับท่ี 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564 ❖ กำรใชช้ วี ติ วิถี New Normal ในสถำนกำรณ์ Covid-19 ❖ รูเ้ ท่ำทัน วคั ซีน Covid-19 ❖ กิจกรรมสื่อสรำ้ งสรรค์ เลำ่ เร่อื งดีๆ ท่บี ้ำนฉนั ❖ กำรทำเจลล้ำงมือ CLEANSING HAND GEL “Summer Art’s Camp ❖ กำรนำสื่อกำรเรยี นรอู้ อนไลนม์ ำประยกุ ต์ ❖ บทเรยี นออนไลน์ เร่อื ง “แสงและเงำในชีวิตประจำวนั ” ใชใ้ นกำรจัดกิจกรรม Light and Shadow in daily life ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา

Editorial สวสั ดีคะ่ ทา่ นผู้อา่ นวารสารทกุ ทา่ น Board ในสถานการณ์ปัจจุบันท่ีมีการระบาดโควิด-19 และใน • ท่ีปรกึ ษา ชว่ งเดือนเมษายนที่ผ่านมา เริม่ ระบาดอกี ครัง้ ในประเทศไทย โดยรอบ นำยณฐั ภมู นิ ทร์ สังข์พงศ์ ผ้อู ำนวยกำรศูนย์วทิ ยำศำสตร์เพื่อกำรศึกษำยะลำ น้ีมีผู้ติดเช้ือเป็นจานวนมากกว่าเดิม รูปแบบการเรียนการสอนหรือ • บรรณาธิการ การเรียนรู้ก็ต้องกลับมาเรียนรู้แบบออนไลน์มากยิ่งขึ้น ช่องทาง นำงสำวนูรีดำ สำและ การเผยแพร่ข่าวสารมีความหลากหลาย รวดเร็ว และทันสมัย ครูชำนำญกำร ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณป์ ัจจุบัน • กองบรรณาธิการ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา จึงได้จัดทา นำยภทั รพล ทองหล่อ ครูชำนำญกำรพิเศษ วารสารภายใตช้ อื่ “ YSC INSIGHT รอบร้วั ศนู ย์วทิ ย์ ฯยะลา”ฉบับท่ี นำยมะยำรี ยำฝำด 1 ประจาเดือน เมษายน-พฤษภาคม 2564 เป็นเล่มแรก เพ่ือเป็น ครูชำนำญกำร การประชาสัมพันธ์ข่าวสารรวบรวมกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น มีการ นำงรอหำนำ สำเมำะ ครูชำนำญกำร แยกคอลัมน์เป็นหมวดหมู่ที่ชัดเจน ให้มีความน่าสนใจ น่าอ่าน นำยณัฐกร ปลวัชร และนา่ ตดิ ตาม ประกอบไปดว้ ย คอลัมน์ YSC News เปน็ การรวบรวม ครผู ูช้ ว่ ย ข่าวสารกิจกรรมที่บุคลากรศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา และบคุ ลำกรศูนย์วิทยำศำสตรเ์ พ่ือกำรศึกษำยะลำ ทุกท่ำน ได้เข้าร่วมท้ังภายใน ภายนอกสถานศึกษาและการเข้าร่วมกับภาคี • รวบรวมขอ้ มูลและออกแบบ เครือขา่ ย คอลัมน์ YSC Talk เร่ืองเล่าชาวศูนยว์ ิทย์ เป็นเรอ่ื งเลา่ จาก นำงสำวกำนต์ธิดำ พระธำนี บุคลากรศูนย์วิทย์ฯ ยะลา ที่เกิดจากประสบการณ์ของผู้เล่าเอง นกั วิชำกำรศึกษำ มาถ่ายทอดความรู้กับสาระดีๆ คอลัมน์ YSC Knowledge Corner นำยเพำซนั ดีแม นกั วชิ ำกำรเทคโนโลยีสำรสนเทศ องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม คอลัมน์ นำยอบั ดุลเลำะ เจะแม YSC Science Lab กิจกรรมทดลอง/ประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์ นกั วิชำกำรโสตทศั นศึกษำ เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม และคอลัมน์ YSC4.0 เท่าทันกับเทคโนโลยี • ตดิ ต่อกองบรรณาธกิ าร สาระดีๆ ความรใู้ หมๆ่ ดา้ นเทคโนโลยี ศู นย์วิทย ำศำ ส ต ร์เพื่ อกำ รศึ กษำ 1/29 ถนนอำคำรสงเครำะห์ ตำบลสะเตง อำเภอเมือง ขอขอบคุณผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา จงั หวัดยะลำ 95000 โทรศัพท์ 073-214920 (ธุรกำร) E-mail : [email protected] ทุกท่านท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในวารสารเล่มนี้เป็นอย่างสูง ขอบคุณ แรงสนับสนุนและความร่วมมือจากทุกฝ่าย ขอบคุณทุกกาลังใจท่ีส่ง ให้ทีมงานได้มีแรงขับเคล่ือนในการจัดทาวารสาร หวังเป็นอย่างย่ิงว่า ผู้อ่านจะได้รับข่าวสารกิจกรรมท่ีน่าสนใจ เรื่องเล่าท่ีน่าจะเป็น ประโยชน์ต่อผู้อ่าน ส่ือความรู้ท่ีทันต่อเหตุการณ์ การทดลองง่าย ๆ ที่ผู้อ่านสามารถนาไปทดลองทากันได้ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาแนะนาใหร้ จู้ กั กัน และสดุ ทา้ ยขออนญุ าตฝากตดิ ตามวารสารฉบับนี้ ดว้ ยนะคะ บรรณาธิการ

สาส์นจาก ผอ.ศว.ยะลา สวสั ดผี อู้ า่ นวารสาร YSC INSIGHT รอบรัว้ ศูนยว์ ิทย์ฯยะลาทกุ ทา่ น ในปัจจุบันที่สถานการณ์โลกมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษายะลาซึ่งเป็นสถานศึกษาข้ึนตรงกับสานักงาน กศน. เล็งเห็นถึงความสาคัญของการปรับตัว ในการใหบ้ ริการทีเ่ หมาะสมกับยุคสมัยที่คนไทยและท่ัวโลกมีพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เปล่ียนแปลงไป ผนวกกับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ซ่งึ ยากตอ่ จดั กระบวนการเรียนรแู้ บบ On Site และการดาเนินงานอื่น ๆ ของศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา กระผมขอส่งสารแหง่ ความปรารถนาดแี ละความห่วงใยมายังทกุ ทา่ น ขอใหเ้ ราทกุ คนบนโลกใบนี้ไดเ้ รยี นรู้และปลอดภัยจากการแพรร่ ะบาดของโรคดงั กล่าว รวมถึงสามารถจัดการให้โรคดังกล่าวไม่สามารถ ทารา้ ยสิ่งมชี วี ติ บนโลกใบนี้ไดต้ ่อไปในอนาคตอันใกล้ เพ่ือความสงบสุขอยา่ งยง่ั ยนื ในนามของผู้บริหาร กระผมขอแสดงความขอบพระคณุ อย่างยิ่งต่อข้าราชการครู พนักงานราชการ และบุคลากร จา้ งเหมาทกุ ท่าน รวมถงึ ภาคีเครือข่ายทไ่ี ดร้ ่วมแรงร่วมใจกนั อยา่ งเข้มแขง็ เพื่อรบั มือและจดั การแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น ในช่วงที่ผ่านมา โดยเฉพาะการผลิตวารสารซ่ึงเป็นสื่อที่จะสร้างการรับรู้ถึงส่ิงดี ๆ ท่ีทางศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ยะลาได้ดาเนินการเพ่ือให้บริการกลุ่มเป้าหมาย ในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีข้าราชการครู พนักงานราชการ และ บคุ ลากรจ้างเหมาทกุ ทา่ น ไดป้ รบั ตวั อย่างรวดเรว็ ในการออกแบบ จัดทาส่ือการเรียนรู้สนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ออนไลน์ แม้จะมีหลายท่านท่ีอาจไม่ถนัดหรือคุ้นชินนัก แต่ก็ได้พยายามอย่างเต็มที่เพื่อการสนับสนุนส่งเสริมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อมให้แก่ผู้รับบริการท้ังท่ีเป็นนักเรียน นักศึกษา และประชาชน อันจะนาไปสู่ความ เจรญิ รงุ่ เรืองทางดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมของประเทศและโลกใบนอ้ี ยา่ งย่ังยืนตอ่ ไป นายณัฐภมู ินทร์ สงั ข์พงศ์ ผู้อานวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา

Ysc News #เดือนเมษายน-พฤษภาคม 2564 ข่าวสารกิจกรรมศูนย์วิทย์ฯยะลา #1 Ysc NEWS 01 1 เมษายน 2564 ศว.ยะลา จัดการประชุมออนไลน์โครงการพัฒนา สิง่ แวดล้อมสูน่ วตั กรรมทางวทิ ยาศาสตร์ ประจาปี 2564 วันท่ี 1 เมษายน 2564 ศว.ยะลาจัดการประชุม อ อ น ไ ล น์ โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม สู่ น วั ต ก ร ร ม ท า ง วิทยาศาสตร์ ประจาปี 2564 ร่วมกับทีมท่ีผ่านการคัดเลือก การประกวดแข่งขันส่ิงประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ และ การประกวดนวัตกรรมการจัดการขยะ จานวน 31 ทีม โดย นายณฐั ภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อานวยการศว.ยะลา เป็นประธาน การประชุม ณ ห้องประชุม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ยะลา ศว.ยะลา เข้ารว่ มงาน “2 เมษา ตามรอยเจ้าฟ้าส่สู ัปดาห์ 2 เมษายน 2564 02 รักการอ่าน ประจาปี 2564” วันที่ 2 เมษายน 2564 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อานวยการศว.ยะลา พร้อมด้วยบุคลากรเข้าร่วมงาน “2 เมษา ตามรอยเจ้าฟ้าสู่สัปดาห์รักการอ่าน ประจาปี 2564” โดยนางขนิษฐา มะลิสุวรรณ ผู้อานวยการสานักงาน กศน. จังหวัดยะลา เป็นประธานในพิธี ณ ลานอเนกประสงค์ สานกั งาน กศน. จงั หวัดยะลา 03 2 เมษายน 2564 ศว.ยะลา รบั มอบผลิตภณั ฑจ์ ากโครงการจดั การขยะจาก โรงเรยี นเทศบาล 6 วดั เมืองยะลา วันที่ 2 เมษายน 2564 ศว.ยะลารับมอบผลิตภัณฑ์ จากโครงการจัดการขยะจากโรงเรยี นเทศบาล 6 วดั เมอื งยะลา และทางศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลาได้มอบต้น ขี้เหล็กย่านใบด่างให้นาไปต่อยอดผลิตภัณฑ์และอาชีพ ขยายพนั ธพ์ุ ืชประดับแปลก และมอบเจลแอลกอฮอล์เพื่อดูแล สุขภาพของเครือข่าย ณ ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา Ysc Insight รอบรัว้ ศูนย์วทิ ย์ฯยะลำ 1 #ฉบบั ที่ 1 | ประจำเดือนเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc News #เดอื นเมษายน-พฤษภาคม 2564 ข่าวสารกจิ กรรมศนู ย์วทิ ย์ฯยะลา #2 04 Ysc NEWS ศว.ยะลา เผยแพร่สื่อรณรงคก์ ารป้องกนั โรคติดเชือ้ 12 พฤษภาคม 2564 โควิด-19 สาหรับเดก็ จาก สานกั งาน สสส. วันที่ 21 เมษายน 2564 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อานวยการ ศว.ยะลา และบุคลากรเผยแพร่ส่ือรณรงค์การ ป้องกนั โรคตดิ เช้อื โควิด-19 สาหรบั เด็ก จากสานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับกระทรวง สาธารณสุขได้จัดทาสื่อสนับสนุนให้ความรู้ “การป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา (COVID-19)” สาหรับเด็ก เพื่อเผยแพร่ความรู้ในการป้องกันโรค เพื่อลดความเสี่ยงต่อ การติดเชอ้ื และลดการแพรเ่ ช้ือไมใ่ หเ้ พิ่มข้นึ 05 23 เมษายน 2564 ศว.ยะลา สารวจแหลง่ สมนุ ไพรป้องกนั และเสริม ภมู คิ ุ้มกนั โควิด-19 วันท่ี 23 เมษายน 2564 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อานวยการ ศว.ยะลา ได้เดินทางร่วมกับคณะ ดร. นาที รัชกิจประการ ประธานท่ีปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายอนุทิน ชาญวีรกุล) และคณะภูมิปัญญาหมอพ้ืนบ้าน ในการสารวจแหล่งสมุนไพรและวัดท่ีต้มยาสมุนไพรแจก ผสู้ นใจยาป้องกันและเสรมิ ภูมิคุ้มกันโควิด-19 ในพ้ืนท่ีอาเภอ สงิ หนคร จังหวัดสงขลา ไดแ้ ก่ วดั วาส และวัดบอ่ ทรพั ย์ ศว.ยะลา เข้าร่วมการประชมุ โครงการยกระดับแหล่ง 27 เมษายน 2564 06 ทอ่ งเท่ียว Give Attraction วนั ท่ี 27 เมษายน 2564 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อานวยการ ศว.ยะลา พร้อมด้วยบุคลากรเข้าร่วมการ ประชุมโครงการยกระดับแหล่งท่องเที่ยว Give Attraction ประจาปีงบประมาณ 2564 เพื่อกาหนดร่างขอบเขตงาน (TOR) กิจกรรมท่ีจะดาเนินการในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดปัตตานี ให้เป็นไปในรูปแบบและ ทิศทางเดียวกัน ณ ห้องประชุม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศกึ ษานราธิวาส Ysc Insight รอบรัว้ ศูนย์วทิ ย์ฯยะลำ 2 #ฉบบั ท่ี 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc News #เดือนเมษายน-พฤษภาคม 2564 ขา่ วสารกจิ กรรมศนู ยว์ ิทยฯ์ ยะลา #3 07 28 เมษายน 2564 Ysc NEWS ศว.ยะลา จัดการประชุมพิจารณาสนับสนนุ วัสดโุ ครงการ พฒั นาสิ่งแวดล้อมส่นู วัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ ประจาปี 2564 วันที่ 28 เมษายน 2564 ศว.ยะลาจัดการประชุม พิ จ า ร ณ า ส นั บ ส นุ น วั ส ดุ โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม สู่นวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ ประจาปี 2564 ของทีมท่ีผ่าน การคดั เลือกการประกวดแขง่ ขันส่งิ ประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ แ ล ะ กา ร ป ร ะ กวด นวัต กร ร ม กา ร จั ด กา ร ขย ะ โ ด ย นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผูอ้ านวยการศว.ยะลา เป็นประธาน การประชุม ณ ห้องประชุม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ยะลา ศว.ยะลา เขา้ ร่วมการประชุมนิเทศผลการดาเนนิ งาน 7 พฤษาคม 2564 08 การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในเขตภาคใต้ วันท่ี 7 พฤษภาคม 2564 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อานวยการศว.ยะลา พร้อมด้วยบุคลากรเข้าร่วม การประชุมนิเทศผลการดาเนินงานการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตภาคใต้ ไตรมาส ท่ี 1-2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงาน กศน. ในเขตภาคใต้ ณ ห้องประชุม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ การศกึ ษายะลา ผา่ นระบบออนไลน์ 09 14 พฤษาคม 2564 ศว.ยะลา ใหก้ ารตอ้ นรบั ศกึ ษาธกิ ารภาค 7 ตรวจเยีย่ ม การดาเนนิ งาน ศว.ยะลา วันท่ี 11 พฤษภาคม 2564 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อานวยการศว.ยะลา พร้อมด้วยบุคลากรให้การ ต้อนรับนายชัยณรงค์ ป้องบ้านเรือ ศึกษาธิการภาค สานักงานศึกษาธิการภาค 7 ในการตรวจเย่ียมการ ด า เ นิ น ง า น ข อ ง ศู น ย์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ พ่ื อ ก า ร ศึ ก ษ า ย ะ ล า โดย ศว.ยะลาได้มอบชุดแอลกอฮอล์ดูแลสุขภาพเพ่ือป้องกัน กา ร แ พร่ ร ะ บ า ด ขอ งเ ชื้ อ ไ วรั ส โ ค โ ร น า ( Covid-19) ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา Ysc Insight รอบรัว้ ศูนย์วิทยฯ์ ยะลำ 3 #ฉบับท่ี 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc News #เดอื นเมษายน-พฤษภาคม 2564 ขา่ วสารกิจกรรมศนู ยว์ ิทยฯ์ ยะลา #4 10 Ysc NEWS ศว.ยะลา มอบชุดแอลกอฮอล์ดแู ลสุขภาพ เพ่ือปอ้ งกนั 14 พฤษาคม 2564 การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา (Covid-19) วันท่ี 14 พฤษภาคม 2564 นายณัฐภูมินทร์ สงั ขพ์ งศ์ ผู้อานวยการศว.ยะลา พรอ้ มดว้ ยบุคลากร ไดม้ อบชุด แอลกอฮอล์ดูแลสุขภาพ เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือ ไวรัสโคโรนา (Covid-19) แก่ เจ้าหน้าที่และประชาชน ณ หมู่บ้านกาปงบูเกะ ตาบลสะเตงนอก อาเภอเมืองยะลา จงั หวัดยะลา 11 11 พฤษาคม 2564 ศว.ยะลา เข้ารว่ มโครงการ “พฒั นาและขยายผล ศูนยเ์ รยี นรู้สขุ ภาวะภูมภิ าค” วันที่ 19-20 พฤษภาคม 2564 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อานวยการ ศว.ยะลา พร้อมด้วยบุคลากร เข้าร่วมสังเกตการณ์งานถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนแนว ทางการดาเนินงาน โครงการ “พัฒนาและขยายผลศูนย์ เรียนรู้สุขภาวะภูมิภาค” ร่วมกับเครือข่ายศูนย์เรียนรู้สุข ภาวะภูมิภาคท้ัง 13 แห่ง และศูนย์เรียนรู้ สานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. โดยบริษัทรักลูก ฮิว แมน แอนด์ โซเชียล อินโนเวชั่น จากัด ผา่ นระบบ Zoom ศว.ยะลา ถวายภัตตาหารเพลพระภิกษุ สามเณร ตาม 22 และ 30 พฤษาคม 2564 12 มาตรการเรง่ ดว่ นในการควบคมุ และปอ้ งกนั การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 วันที่ 22 และ 30 พฤษภาคม 2564 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อานวยการ ศว.ยะลา พร้อมด้วยบุคลากร ร่วมถวายภัตตาหารเพลพระภิกษุ สามเณร ตามมาตรการ เร่งด่วนในการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ วัดคูหาภิมุข ตาบลหน้าถา้ อาเภอเมือง จงั หวดั ยะลา Ysc Insight รอบรัว้ ศูนยว์ ทิ ย์ฯยะลำ 4 #ฉบับที่ 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Talk เรือ่ งเล่าชาวศนู ย์วทิ ย์ฯ การใชช้ ีวติ วิถี New Normal ในสถานการณ์ Covid-19 เลา่ เร่อื งโดย นางสาวนูรใอนี ดอเลาะ วิทยากรนาชม สวัสดีท่านผู้อ่านวารสารของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลาทุกท่าน 2 ส่ิงทคี่ วรพกตดิ ตวั วันนี้ดิฉันมาเล่าถึงการใช้ชีวิตในช่วงโควิด – 19 หลายคนคงจะได้ยินคานี้มาสักระยะหนึ่ง แล้วกับคาว่า New Normal หรือท่ีแปลว่า ชีวิตวิถีใหม่ หรือ ความปกติใหม่ เป็นรูปแบบ เวลาออกจากบา้ น การดาเนินชีวิตอย่างใหม่ท่ีแตกต่างจากอดีต และกาลังจะกลายเป็นวิวัฒนาการใหม่ของ สงั คมและของโลกอกี ด้วยคะ หนา้ กากอนามยั อย่างท่ีเราทราบกันดีคะ จากการแพร่ระบาดของ เช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ แอลกอฮอล์ หรือ COVID-19 ทาให้เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและสุขภาพของเรา ทาให้ต้อง (เจล, สเปรย)์ มีการปรับเปลี่ยนการดาเนินชีวิต เพ่ือสร้างความปลอดภัยและลดการแพร่กระจายของ เช้ือโรค ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าทุกคนต้องมีการปรับตัวเป็นอย่างมากในการดูแล ตัวเองมากข้ึน การใช้ชีวิตท่ีระมัดระวังมากขึ้น ที่เห็นได้ชัดก็คือการเปลี่ยนแปลงทาง ดา้ นพฤติกรรมและการใช้ชวี ติ ของเราทเี่ ปลี่ยนไป อย่างแรกเลยเมื่อเราจะออกจากบ้านสิ่ง ท่ีเราลืมไม่ได้ก็คือหน้ากากอนามัย และแอลกอฮอล์(เจล,สเปรย์) พก 2 สิ่งน้ีเราจะรู้สึก ตวั เองปลอดภัย ปอ้ งกนั ตัวเองจากความเสี่ยงจากการติดเชื้อโรค และการแพร่กระจายเชื้อ โรคไปยังบุคคลอ่ืน เพราะเราไม่อาจทราบได้ว่าเราจะเป็นพาหะในการนาเชื่อโรคมาจาก ทีอ่ นื่ เพราะฉะนนั้ ส่งิ ที่เราทาได้มากท่ีสุดก็คือป้องกันตัวเองให้ดีท่ีสุดทุกคร้ังที่ออกจากบ้าน และเมื่อเข้าบ้านมาส่ิงท่ีต้องทาประจาคือต้องรีบล้างมือและถอดเส้ือผ้า ชาระร่างกาย ให้สะอาดก่อนจะพบปะคนในบ้าน ลดการพบปะผู้คนในชุมชน แล้วหันมาใช้ชีวิตทางาน ทีบ่ ้าน และมเี วลาอยกู่ ับครอบครวั มากข้นึ Ysc Insight รอบรัว้ ศูนย์วทิ ย์ฯยะลำ 5 #ฉบบั ท่ี 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Talk เรอื่ งเล่าชาวศนู ย์วิทย์ฯ เม่ือเกิดโรคระบาดแน่นอนว่าเราจะหันมาให้ความสาคัญกับการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ที่ดีต่อสุขภาพ ปลอดภัย และมีความสะอาด โดยเน้นอาหารทม่ี าจากธรรมชาติ หรือ ออร์แกนคิ มากขึ้น ที่บ้านของฉันพ่อกับแม่จะปลูกพืชผัก สวนครัวเป็นปกติอยู่แล้วบอกได้ว่ามีครบทุกอย่างเลย ถือเป็นกิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้พืชผักที่ปลอดสารพิษ 100% แถมยงั ประหยดั เงนิ ในกระเป๋าอกี ดว้ ยคะ นอกจากเรือ่ งอาหารการกนิ แล้ว เราต้องหันมาดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น โดยการออกกาลังทุกวันหรืออาทิตยล์ ะ 3 วัน ใสใ่ จตนเอง และรักตวั เองมากข้นึ นอกจากน้ีในปัจจุบันเราจะปฏิเสธไม่ได้ว่าเทคโนโลยีมีผลต่อการใช้ชีวิตอย่างมาก ในส่วนของการทางานของเรา ช่วงนี้จะให้บุคลากรทางานที่บ้านบ้างที่ทางานบ้างเพื่อลดการแพร่เช้ือ หรือเราคุ้นหูกับคาว่า work from home นั่นเอง การที่เราทางานอย่ทู ่ีบา้ นหรอื ท่ีทางานเราก็เลือกที่จะส่ังอาหารมาส่งเพอื่ หลกี เลย่ี งการพบปะผ้คู นโดยผ่านแอป food delivery ตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นการสั่งซ้ือของใช้ต่างๆก็จะเป็นในรูปแบบ shopping online มากขึ้นสะดวกและมีความปลอดภัย สาหรับ น้องๆ นกั เรียน นกั ศึกษา ในชว่ งนี้กจ็ ะเป็นการเรยี นออนไลนท์ าให้เทคโนโลยีเข้ามามีสว่ นสาคญั กับทกุ ช่วงวัยเลย เนือ่ งดว้ ยเศรษฐกิจในช่วงนที้ าใหเ้ ราใช้เงนิ อย่างมเี หตผุ ลและประหยดั มากขึน้ เราจะสังเกตได้ว่าเงินในช่วงนี้เราจะใช้ ระบบโอนเงินมากกว่าการใช้เงินสดๆ อาจจะถูกใช้น้อยลง หรือในอนาคตอาจจะกลายเป็นสังคมไร้เงินสด ก็อาจเป็นไปได้สูง (แต่เราควรจะมีเงินสดไว้ด้วยอุ่นใจดีคะ) แต่อย่างไรก็ตามเราต่อให้เทคโนโลยีจะไปไกลแค่ไหน ส่ิงท่ีสาคัญท่ีสุดก็คือตัวเรา นน่ั เองคะ วิถีชีวิตใหม่ท่ีเราจะต้องเรียนรู้ท่ีจะนามาใช้ปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของเราได้ในสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลง ถึง อยา่ งไรกต็ าม ไม่วา่ จะสถานการณ์ในปจั จุบนั หรอื อนาคตจะเปลย่ี นไป เราก็ยังคงตอ้ งปฏิบัตติ ัวดแู ลตัวเองให้มีสุขภาพที่แข็งแรง เพ่อื พรอ้ มรับมอื กบั สง่ิ ท่จี ะเกิดข้นึ อกี มากมาย สุดท้ายทา้ ยนี้ ดูแลสุขภาพกายทดี่ แี ล้วอย่าลมื ดูแลสุขภาพใจของเราให้ดีเช่นกนั ส่ิงทเี่ ปลย่ี นไปในการใชช้ วี ติ ยคุ New Normal ในสถานการณ์ Covid-19 work from home การเรียนออนไลน์ การทางานทบี่ ้าน สง่ั ซ้ือสินค้าของใช้รูปแบบ สงั คมไรเ้ งินสด เพ่ือลดการพบปะ shopping online 6 #ฉบับท่ี 1 | ประจำเดือนเมษำยน-พฤษภำคม 2564 Ysc Insight รอบรัว้ ศูนยว์ ทิ ย์ฯยะลำ

Ysc Talk เรือ่ งเลา่ ชาวศูนยว์ ิทยฯ์ \"จินตนาการสาคัญกว่าความรู้\" เป็นวลีอนั อมตะท่อี ัลเบิรต์ ไอน์สไตน์ท้ิงเอาไว้ให้แก่โลก ความรู้ทาให้เราฉลาดขึ้น แต่มันจะเป็นส่ิงท่ีอยู่คงเดิมอย่างน้ัน หากเราไม่นาความรู้นั้นไปใส่ จินตนาการเพิ่มเติม วันน้ีเราจะมาพูดถึงศิลปะกันคะ เพราะถ้าพูดถึงศิลปะแล้วทุกคนก็จะนึกถึง ภาพวาด รูปป้ัน ภาพถ่าย ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ต่างๆ ซ่ึงเช่นเดียวกันกับดิฉันเลยคะ เพราะเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2564 ที่ผ่านมา ได้รับมอบหมายจากผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ เพ่อื การศึกษายะลาให้เดินทางไปอาเภอธารโต จังหวัดยะลา เพ่ือร่วมจัดกิจกรรมกับเยาวชนในพื้นที่ ในเร่ืองของศิลปะ โดยมผี ู้รว่ มเดนิ ทางในคร้งั นท้ี ัง้ หมด 4 คน ซ่ึงเราได้เดนิ ทางไปท่ี สพป.ยะลา เขต 3 ที่โรงเรียนบ้านนิคมสร้างตนเองธารโต อ.ธารโต จ.ยะลา ซึ่งกิจกรรมในครั้งน้ีจัดข้ึนโดย กรมประชาสัมพนั ธจ์ ังหวัดยะลา เปน็ กจิ กรรมสื่อสร้างสรรค์ เล่าเรื่องดีๆ ที่บ้านฉัน “Summer Art’s Camp” จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7 – 9 เดือนเมษายน พ.ศ.2564 โดยมีเยาวชนและศิลปินพ้ืนบ้าน เข้าร่วมกว่า 50 คน พอไปถึงพวกเราทั้ง 4 คนก็ได้เริ่มบรรเลงกันเลยคะ ซึ่งผลงานช้ินแรกที่เราได้ ลงมือใช้แค่ดินสอกับกระดาษและแบบเท่านั้น เรียกว่า Contour drawing (คอนทัวร์ ดรอว์อ้ิง) คะ เป็นการวาดเส้นโดยประสาทสัมผัสใช้ตามองท่ีสิ่งของที่เรานามาเป็นแบบวาดตลอดเวลา ไม่ชาเลือง หรือมองท่ีกระดาษที่เรากาลังจะวาดแล้วค่อยๆ วาดภาพตามท่ีเห็นออกมาอย่างละเอียดที่สุดเท่าท่ี ทาได้ และควรวาดต่อไปจนจบ โดยไม่มีการยกดินสอขึ้นแล้วเขียนเส้นใหม่โดยไม่จาเป็นคะ การวาด คอนทัวร์น้ีเราต้องทาสมองให้ว่างเปล่าไม่คิดเร่ืองอ่ืนใด เราสามารถวาดไปตามที่ตาเราเห็นเท่านั้น หลักก็คือ เรารับรู้ด้วยตา ส่งผ่านส่ิงท่ีเราเห็นไปยังมือของเรา และวาดมันออกมา โดยสมองจะเป็น ตัวกลางในการเชอื่ มโยงประสาทสมั ผสั ทีเ่ รารบั รู้ สาหรับคนทีไ่ มไ่ ด้เป็นนักวาดภาพหรือศิลปิน การฝึก คอนทัวร์อย่างสม่าเสมอจะทาใหเ้ ราช่างสังเกตและไมย่ ดึ ติดกับแนวทางตามกรอบใดๆ มากเกนิ ไปคะ Ysc Insight รอบรัว้ ศูนยว์ ทิ ย์ฯยะลำ 7 #ฉบับที่ 1 | ประจำเดือนเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Talk เรอื่ งเลา่ ชาวศนู ยว์ ิทยฯ์ เล่าเร่อื งโดย นางวรรณี อามะ นกั วิชาการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา หลังจากท่ีเราได้วาดคอนทัวร์ไปแล้ววันที่สองวิทยากรให้พวกเรานาภาพที่ได้วาดมา ลงสตี ามใจชอบ แต่กอ่ นลงมือวิทยากรให้เราได้เรียนรกู้ ารใช้สีอะคริลิคก่อน รู้จักการผสมสีต่างๆ ร่วมกับสีขาว และการระบายสีรูปภาพใช้สีผสมน้าเปล่าระบายรูปภาพให้ท่ัวโดยเน้นสีให้อ่อน ที่สุด ช่วงบ่ายวิทยากรให้ทุกคนได้ทาค่าน้าหนักของสีบนกระดาษก่อนลงมือจริงบนผ้าแคนวาส ซึ่งการทาค่าน้าหนักของสี เป็นการใช้สีโดยให้มีค่าน้าหนักในระดับต่างๆกัน การใช้ค่าน้าหนัก ของสีจะทาใหภ้ าพเกดิ ความกลมกลนื เกิดระยะใกล้–ไกล ความลึก - ตนื้ ถ้ามีคา่ น้าหนักหลายๆ ระดับ สีก็จะกลมกลืนกันมากขึ้น หลักการ คือ การใช้สียืนเพียงสีเดียวแต่มีค่าน้าหนักหลาย น้าหนักทั้งค่าเข้มและค่าอ่อน (ค่าเข้มผสมสีดา ค่าอ่อนผสมสีขาว) เม่ือได้ทดลองกันพอสมควร แล้ว วิทยากรได้แจกเฟรมผ้าแคนวาสและให้ทุกคนได้ลงสีรองพื้นไว้ก่อนสาหรับใช้ในวันพรุ่งน้ี ช่วงเช้าในวันท่ีสามพวกเราลงพ้ืนท่ีในชุมชน ศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติใน ท้องถ่นิ เราได้แวะสะพานฮาลาบาลา ทา่ เรือตาพะเยา ศูนยว์ จิ ัยพนั ธไ์ ม้ นา้ ตกธารโต หลังจากนน้ั พวกเราได้ลงมือพ่นสีภาพท่ีได้ลงพื้นโดยใช้ใบไม้วางซ้อนๆกันบนภาพวาดผ้าแคนวาส แล้วนา สีกระป๋องมาพ่นให้ท่ัวหลายๆสี จากน้ันรอสีให้แห้งก่อนแล้วค่อยนาภาพไปวาดรูปต่างๆจากท่ี เราไดไ้ ปศกึ ษาเมือ่ ช่วงเช้า ซึ่งพวกเราได้วาดรปู นกเงือกกันเกือบทกุ คนเลยคะ Ysc Insight รอบรัว้ ศูนยว์ ทิ ย์ฯยะลำ 8 #ฉบับท่ี 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Knowledge Corner บทเรียนออนไลน์เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้ผู้รับบริการ บทเรียนออนไลน์ เร่อื ง “แสงและ ได้เรียนรู้ด้วยตนเองได้โดยไม่มีข้อจากัดในเรื่องของเวลาและ เงาในชวี ิตประจาวัน Light and สถานที่ ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา งานพัฒนา รูปแบบกิจกรรม กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา Shadow in daily life ” ย ะ ล า จึ งเ ล็ งเ ห็ น ค ว า ม ส า คั ญ ข อ งก า ร ใ ช้เ ท ค โ น โ ล ยี ใ น บทท่ี 1 การเป็นส่ือกลางในการเรียนรู้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้รับบริการมี ความสนใจในการเรียนรู้มากย่ิงข้ึน อีกท้ังยังเป็นการฝึกให้ บทท่ี 2 ผู้รับบริการรู้จักการใช้สื่อและเทคโนโลยีในทางท่ีเกิดประโยชน์ ต่อไป นามาซึ่งกระบวนการเรียนรู้อย่างย่ังยืน จึงจัดทา บทท่ี 3 บทเรยี นออนไลน์ เรื่อง “แสงและเงาในชวี ติ ประจาวนั Light and Shadow in daily life ” วัตถุประสงคข์ องบทเรยี นออนไลน์ ❖ อธิบายการเกิดเงามดื เงามัวจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ❖ เขยี นแผนภาพรงั สขี องแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามวั ❖ สร้างแบบจาลองการอธิบายการเกิด และเปรียบเทียบ ปรากฏการณ์สรุ ยิ ุปราคาและจันทรุปราคา เน้ือหาบทเรยี นออนไลน์ ❑ บทท่ี 1 เร่อื งเล่าแสงและเงา ❑ บทที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กับแสงและเงา ❑ บทท่ี 3 หลักการแสงและเงากับการประยกุ ต์ใช้ Ysc Insight รอบรัว้ ศูนย์วิทย์ฯยะลำ 9 #ฉบบั ที่ 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Knowledge Corner ขั้นตอนการเขา้ เรียนบทเรยี นออนไลน์ บทเรยี นออนไลนเ์ รื่อง “แสงและเงาในชีวิตประจาวัน Light and Shadow in daily life ” ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นบทเรียนออนไลนท์ ีใ่ หค้ วามรูแ้ ละสามารถทดสอบความรผู้ า่ นระบบออนไลนไ์ ดต้ ลอดเวลา มีข้ันตอนการเขา้ เรยี นดังน้ี 1.เข้าสบู่ ทเรยี นออนไลน์เรื่อง “แสงและเงาในชวี ิตประจาวนั ” ผ่านเคร่อื งคอมพิวเตอร์ หรือสมาท์โฟน ผ่านเว็บไซต์ https://sites.google.com/dei.ac.th/yscnaeteacher หัวข้อ “บทเรยี นออนไลน์” 2.เรม่ิ ทาแบบประเมนิ ความพึงพอใจทม่ี ีต่อบทเรยี นออนไลนพ์ ร้อมทาแบบทดสอบเพอ่ื วดั ความรเู้ บื้องต้น 3.ผทู้ าคะแนนมากกว่า 70% จะไดร้ ับเกยี รตบิ ตั รออนไลน์ 4.สาหรับผทู้ าแบบทดสอบไม่ 70% สามารถทาแบบทดสอบซ่อมได้ มาทาบทเรยี นออนไลนก์ นั เถอะ ! สแกน QR CODE Ysc Insight รอบรัว้ ศูนย์วิทยฯ์ ยะลำ Web Site https://sites.google.com/dei.ac.th/ys cnaeteacher หัวข้อ “บทเรียนออนไลน์” จดั ทาโดย นายณัฐกร ปลวัชร ครผู ้ชู ว่ ย ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษายะลา 10 #ฉบับที่ 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Knowledge Corner รเู้ ทา่ ทนั วัคซีน Covid-19 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ จะมีอัตราการเกิดอาการท่ีรุนแรง ท่ีสูงกว่าผู้ที่มีอายุน้อยและสุขภาพแข็งแรง เมื่อเช้ือโรค โควิด-19 ต้ังแต่ปลายปี 2562 จนถึงปัจจุบัน ส่งผลให้เกิด เข้าสู่ร่างกายจะมีระยะเวลาฟักตัว (ต้ังแต่ได้รับเชื้อไปจน ความเดือดร้อน เกิดการสูญเสียชีวิต ส่งผลต่อการดารง ถึงแสดงอาการ) ประมาณ 2–14 วัน จึงได้มีการกาหนด ชีวิตประจาวัน และยังส่งผลกระทบทั้งทางด้านเศรษฐกิจ มาตรการให้กักตัวผู้มีความเส่ียงสูงเมื่อสัมผัสผู้ติดเช้ือ การศึกษา และสังคม ดังน้ันการคิดค้นวัคซีนเพื่อป้องกันโรค เปน็ เวลา 14 วนั จึงเป็นหนทางที่สาคัญอย่างยิ่ง ท่ีจะช่วยลดการติดเช้ือ และความสูญเสียต่างๆ จาเป็นอย่างย่ิงที่เราควรรับรู้ข่าวสาร วัคซีน COVID-19 และเข้าใจข้อมูลให้ถูกต้อง ก่อนที่จะได้รับการฉีดวัคซีน โควิด-19 ในอนาคตอนั ใกล้ จาเปน็ อยา่ งย่งิ ทเ่ี ราควรรับรู้ และ โ ด ย ป ก ติ เ ม่ื อ เ ชื้ อ โ ร ค ทุ ก ช นิ ด เ ข้ า สู่ ร่ า ง ก า ย เข้าใจขอ้ มูลให้ถกู ตอ้ งในประเด็นที่น่าสนใจ ดังน้ี ร่ า งกา ย จ ะ มี วิธีจั ด กา ร เ ชื้ อห ล า ย แ บ บ ห น่ึงในนั้ น คือเม็ดเลือดขาวชนิด Macrophage จะกลืนเช้ือเข้าไป โรค COVID-19? และทิ้งเศษซากเช้ือบางส่วนไว้เรียกว่า แอนติเจน (Antigen) ร่ า ง ก า ย จ ะ รั บ รู้ ว่ า แ อ น ติ เ จ น คื อ สิ่ ง แ ป ล ก ป ล อ ม แ ล ะ โรคติดเช้ือโคโรนาไวรัสสายพันธ์ุใหม่หรือโควิด-19 จะสร้างแอนติบอดี (Antibody) มาจดั การส่งิ แปลกปลอมน้ัน เ กิ ด จ า ก เ ช้ือ ไ ว รั ส โ คโ ร น า ซ า ร์ โ ค วี - 2 ( SAR-CoV-2 ) รวมถึงมีเม็ดเ ลือดขา วอีกชนิดหนึ่งที่จาว่าเ ชื้อโร ค เป็นการแพร่เชื้อไวรัสจากคนสู่คน โดยได้รับเชื้อละอองฝอย น้ีคือส่ิงแปลกปลอม ถ้าหากได้รับเชื้อในอนาคตร่างกาย (Droplets) จากการไอหรือจาม การสัมผัสสารคัดหล่ัง จะสามารถจดจาและจัดการได้ การทางานของวัคซีนเป็น (Contact) เช่น นา้ ลาย น้ามกู เสมหะ เปน็ ตน้ ไปในลักษณะเดยี วกัน ผูท้ ่ีได้รบั เชื้อส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการใด ๆ บางราย วัคซีนป้องกันโควิด-19 จะช่วยกระตุ้นให้ร่างกาย อาจมีอาการเล็กน้อย เช่น ปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ รู้สึกเหมือน สร้างภูมิคุ้มกันต่อเช้ือไวรัสนี้ข้ึนมา ช่วยป้องกันการติด มีไข้ เจ็บคอ และบางรายอาจมีอาการรุนแรง เช่น ติดเชื้อ เชื้อหากได้รับเชื้อในอนาคต แต่ต้องใช้เวลาระยะหน่ึงหลัง รุนแรงในปอด หรือมีอาการแทรกซ้อนรุนแรงจนนา ฉีดวัคซีนร่างกายจึงจะสร้างภูมิคุ้มกันข้ึนมาได้ การฉีดวัคซีน ไปสู่การเสยี ชวี ติ ได้ โดยเฉพาะผู้สูงอายหุ รอื มีโรคประจาตัว ผรู้ บั วคั ซีนยังตอ้ งปฏิบตั ติ ามมาตรการป้องกันโควดิ -19 อย่าง Ysc Insight รอบรัว้ ศูนย์วทิ ย์ฯยะลำ 11 #ฉบับท่ี 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Knowledge Corner เ ค ร่ งค รั ด เ ช่ น ใส่ ห น้า กา กอ นา มั ย ล้ า งมื อบ่ อย ๆ 3.Inactivated Virus Vaccine เว้นระยะห่างทางสังคม เปน็ ต้น หรอื วัคซีนเชอ้ื ตาย ผลติ โดยการเลีย้ งไวรสั ชนดิ นใ้ี ห้ ได้ปริมาณมากแล้วมาทาให้ตายด้วยสารเคมีหรือความร้อน วคั ซนี อาจไม่สามารถปอ้ งกันทกุ คนท่ีฉีดจากการติด ได้ปริมาณมากแล้วมาทาให้ตายด้วยสารเคมีหรือความร้อน เชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ แต่พบว่าสามารถลดความรุนแรง เมื่อฉีดวคั ซีนแลว้ รา่ งกายจะรบั รู้วา่ เปน็ สงิ่ แปลกปลอมและจะ ของโรคได้ และยังไม่มีข้อมูลว่าเม่ือฉีดแล้วจะมีภูมิคุ้มกัน สรา้ งระบบภูมิคมุ้ กันข้นึ มา โควิด-19 ได้นานเท่าไร รวมถึงไม่มีข้อมูลว่าผลการฉีดวัคซีน 4.Protein Subunit Vaccine ให้ผู้ท่ีมีภูมิคุ้มกันต่าหรือผู้ท่ีใช้ยากดภูมิคุ้มกันน้ัน ทาให้ เป็นการผลิตวัคซีนมาจากโปรตีนส่วนหนึ่งของ ภูมคิ ุ้มกนั ต่อไวรสั โควดิ -19 มผี ลลดลงกวา่ ในคนปกตหิ รือไม่ เชื้อไวรัส SAR-CoV-2 ที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เม่ือฉีด วัคซีนแล้วร่างกายจะรับรู้ว่าเป็นส่ิงแปลกปลอมและจะสร้าง ชนิดของวัคซีน COVID-19 ระบบภมู ิคุ้มกนั ขน้ึ มา จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก มีการคิดค้น ใครควรไดร้ บั วคั ซีน วัคซีนโควิด-19 โดยหลายบริษัทผู้ผลิตและหลายรูปแบบ วิ ธี ก า ร ผ ลิ ต วั ค ซี น ห รื อ ที่ ม า ข อ ง วั ค ซี น มี ห ล า ย วิ ธี ก า ร แต่ทง้ั หมดคือใหต้ ่อตา้ นไวรสั โคโรนาซาร์โควี-2 (SAR-CoV-2) ไ ม่ ให้ เ ข้า สู่ ร่ า งกา ย เ พื่อไ ป ก่อโ ร ค ไ ด้ โ ด ย ท่ีไ วรั ส น้ี จะมีส่วนที่เป็นไกลโคโปรตีนยื่นออกจากเซลล์เรียกว่า สไปค์ (Spike)จะไปจับกับตัวรับ (Receptor) ที่อยู่บนเซลล์ ในร่างกาย เช่น ท่ีทางเดินหายใจหรือลาไส้ เม่ือจับกันแล้ว ไวรัสก็จะเข้าสู่ร่างกายและไปก่อโรค โดย 4 วิธีการที่มี การผลิตมากท่ีสุด ได้แก่ 1.messenger RNA (mRNA) vaccine เป็นวัคซนี ทม่ี ีส่วนทกี่ ากบั การสร้างโปรตีนของไวรัส SAR-CoV-2 ที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เม่ือฉีดวัคซีนแล้ว ร่างกายจะสร้างโปรตีนชนิดนั้นข้ึนมาและทาลาย mRNA ท่ีฉีดเข้าไป จากน้ันร่างกายจะรับรู้ว่าโปรตีนท่ีสร้างขึ้นมาน้ัน เป็นสิ่งแปลกปลอมและจะสรา้ งระบบภูมิคุม้ กนั ข้นึ มา 2.Viral Vector เป็นวัคซีนท่ีตัดต่อทางพันธุกรรมโดยการใช้สาร ทางพันธุกรรมของไวรัส SAR-CoV-2 ใส่เข้าไปในตัวไวรัส ชนิดอื่นที่ไม่ก่อโรค (เรียกไวรัสนี้ว่า Viral Vector) เมื่อฉีด วัคซีนเข้าไปในร่างกายแล้ว Viral Vector จะพาเอาสาร พันธุกรรมน้ันเข้าไปในเซลล์ของเรา ทาให้เกิดการสร้าง โปรตีนที่จาเพาะต่อเชื้อไวรัส SAR-CoV-2 ขึ้นมา จากน้ัน ร่างกายจะรับรู้ว่าโปรตีนที่สร้างข้ึนมานั้นเป็นสิ่งแปลกปลอม และจะสร้างระบบภมู ิคมุ้ กนั ข้นึ มา Ysc Insight รอบรัว้ ศูนยว์ ิทย์ฯยะลำ 12 #ฉบบั ที่ 1 | ประจำเดือนเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Knowledge Corner วคั ซีน COVID-19 ในประเทศไทย วัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย (ข้อมูล ณ วันที่ 2 มีนาคม 2564) มี 2 ชนดิ คือ 1.วัคซีนป้องกันโควิด-19 แอสตร้าเซนเนกา (COVID-19 Vaccine AstraZeneca) เป็นวัคซีน แบบ Viral Vector ฉีดในผู้ท่ีมีอายุ 18 ปีขึ้นไป ฉีดเข้ากล้าม คร้ังละ 0.5 มิลลิลิตร (แนะนาให้ฉีดบริเวณต้นแขน) โดยฉีด ทั้งหมด 2 คร้ัง ครง้ั ที่ 2 ฉีดห่างจากคร้ังแรก 4 – 12 สัปดาห์ 2.CoronaVac หรือ Sinovac COVID-19 vaccine เป็นวัคซีนเชื้อตาย (Inactivated Vaccine) ฉีดในผู้ท่ีมีอายุ 18–59 ปี โดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อคร้ังละ 0.5 มิลลิลิตร (แนะนาให้ฉีดบริเวณต้นแขน) โดยฉีดทั้งหมด 2 คร้ัง ครั้งที่ 2 ฉีดห่างจากครั้งแรก 2–4 สัปดาห์ (ผู้ที่อยู่ บริเวณความเส่ียงสูงหรือระบาดรุนแรงแนะนาให้ฉีดครั้งท่ี 2 ห่างจากครัง้ แรก 2 สัปดาห์) ***เมื่อฉีดวัคซีนท้ัง 2 ชนิดในครั้งแรกแล้ว ควรมารับวัคซีน คร้ังที่ 2 ให้ครบถ้วนตามกาหนดเพ่ือประสิทธิภาพที่ดี ในการป้องกันโรค ขณะนี้ยังไม่มีข้อมูลประสิทธิภาพการฉีด วัคซีนครั้งท่ี 1 และ 2 คนละชนิดกันได้ผลเป็นอย่างไร จึงยัง ไม่มีคาแนะนาในการสลบั การฉีดคนละยหี่ อ้ และยังไมม่ ีขอ้ มูล ว่าควรฉดี กระตุ้นภมู ิเมอ่ื ใดหลงั จากฉีดวัคซนี ครบ 2 ครั้งแล้ว อาการข้างเคยี งทอี่ าจเกิดขึน้ ผู้ทรี่ บั วคั ซนี อาจมอี าการขา้ งเคียงจากการฉีดวัคซีน หรอื ไมม่ ีก็ได้ อาการข้างเคยี งท่อี าจพบไดม้ ี ดงั น้ี • อาการท่ีพบได้บ่อย ได้แก่ ปวด บวม แดง คัน หรือช้าบริเวณท่ีฉีดยา อ่อนเพลีย และรู้สึกไม่สบายตัว ปวด ศรี ษะเลก็ น้อย อาการคล้ายมไี ข้ คลน่ื ไส้ ปวดเม่ือยกลา้ มเน้ือ และข้อ • อาการที่พบได้ไม่บ่อยหรือพบได้น้อย เช่น มีไข้ มีก้อนที่บริเวณที่ฉีดยา เวียนศีรษะ มึนงง ใจสั่น ปวดท้อง อาเจียน ความอยากอาหารลดลง เหงื่อออกมากผิดปกติ ต่อมน้าเหลืองโต อาการเหมือนเป็นไข้หวัดใหญ่ เช่น มีไข้ เจ็บคอ น้ามูกไหล ไอ เป็นต้น Ysc Insight รอบรัว้ ศูนยว์ ิทย์ฯยะลำ 13 #ฉบบั ท่ี 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Knowledge Corner สิง่ ทต่ี ้องแจ้งบคุ ลากรทางการแพทยก์ อ่ นฉดี วคั ซีน ไดแ้ ก่ การปฏิบตั ติ ัวหลงั ไดร้ บั วคั ซีน ผู้ฉีดวัคซีนจะตอ้ งอยเู่ ฝ้าสังเกตอาการทส่ี ถานพยาบาลหลังฉีดวัคซีนอย่างน้อย 30 นาที โดยระหว่างนั้นและหลังจาก น้ันให้สังเกตอาการข้างเคียงที่อาจจะเกิดข้ึนตามข้างต้น และให้แจ้งอาการข้างเคียงทุกอย่างที่เกิดขึ้นแก่แพทย์ พยาบาล เภสัชกรด้วย เนื่องจากวัคซีนนี้เป็นวัคซีนชนิดใหม่อาจจะมีบางอาการที่ยังไม่พบตามข้างต้น หากมีอาการเล็กน้อย เช่น ปวดศรี ษะ มไี ขต้ า่ ๆ สามารถรับประทานยาพาราเซตามอลเพอื่ บรรเทาอาการได้ หากมีอาการรนุ แรง เช่น ไข้สูง หนาวส่ัน ปวดศีรษะรนุ แรง ใหม้ าพบแพทย์โดยทนั ที และใหเ้ ก็บบนั ทกึ การฉดี วัคซนี ไว้เป็นหลกั ฐานด้วย บทสรุป วัคซีนโควิด-19 ได้รับการยืนยันว่า ช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Covid-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลด ความรุนแรงของโรค และชว่ ยหยดุ การแพรร่ ะบาดของโรคได้ แต่เนอ่ื งจากเปน็ ทีท่ ราบกนั ดีแล้ววา่ วัคซีนไม่สามารถป้องกันโรค ได้ 100% ดังนั้นแม้ฉีดวัคซีนแล้วก็ยังมีโอกาสเป็นโรคโควิด-19 ได้อยู่ วัคซีนป้องกันโควิด-19 จะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสนี้ขึ้นมา ช่วยป้องกันการติดเช้ือหากได้รับเช้ือในอนาคตไม่รวมถึงเช้ือกลายพันธ์ุ และต้องใช้ช่วงเวลา ระยะหนึ่งหลังฉีดวัคซีนแล้วร่างกายจึงจะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาได้ จึงควรต้องทาควบคู่ไปกับการป้องกันโรคเช่นเดิม คือ สวมหนา้ กากอนามัย เว้นระยะหา่ งทางสังคม ลา้ งมือให้สะอาดและถูกวธิ ี และหลีกเล่ียงการอยู่ในพ้ืนท่ีแออัด แหลง่ ขอ้ มลู กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ .แนวทางการให้วคั ซีนโควดิ -19 ในสถานการณ์ระบาดปี 64 ของประเทศไทย.กุมภาพันธ์ 2564. สืบคน้ เมื่อ 3 พฤษภาคม 2564 , จาก https://ddc.moph.go.th/uploads/files/1729520210301021023.pdf พรรณพศิ สวุ รรณกลู โรงพยาบาลกรงุ เทพ.รใู้ หช้ ดั ก่อนฉีดวัคซนี Covid-19.สืบค้นเมือ่ 3 พฤษภาคม 2564, Ysc Insight รอบรัว้ ศูนย์วิทย์ฯยะลำ 14 #ฉบับที่ 1 | ประจำเดือนเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Science Lab CLEANSING HAND GEL เจลแอลกอฮอลล์ า้ งมอื (ปริมาตร 1,000 มล.) 71.25% (v/v) วสั ดุ/สารตั้งตน้ จานวน 4 กรมั จานวน 10 มลิ ลสิ ติ ร 1. คารโ์ บพอล์ 940 (Carbopol 940) จานวน 1-2 มิลลลิ ิตร 2. กลเี ซอรนี (Glycerine) จานวน 750 มิลลลิ ิตร 3. ไตรเอทาโนลามีน (triethanolamine) จานวน 236 มิลลิลิตร 4. เอทานอล 95% (Ethanol 95%) จานวน 2 มลิ ลิลิตร 5. นา้ กล่ัน (น้าสะอาด) 6. สารหัวเชอื้ นา้ หอม (กลิ่นตามความต้องการ) อุปกรณ์ 1. เครื่องชั่งดิจิทอล/ซ้อนตกั สาร 2. กระบอกตวงขนาด 10 มล./หลอดฉดี ยา 3. กระบอกตวงขนาด 100 มล./ถ้วยตวง 4. ภาชนะผสมสาร (ขวดพลาสตกิ ปากกว้าง ) ทรงสงู พร้อมฝาปิด 5. ไม้พายหรอื เครอื่ งกวนสาร ศึกษาขัน้ ตอนการทาเพ่ิมเตมิ ผ่านคลปิ VDO สแกน QR-CODE ไดเ้ ลย Ysc Insight รอบรัว้ ศูนยว์ ทิ ยฯ์ ยะลำ 15 #ฉบับท่ี 1 | ประจำเดือนเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc Science Lab วธิ ีทา 1. ตวงน้ากลั่น (นา้ สะอาด) จานวน 236 มลิ ลลิ ติ ร รินใส่ภาชนะผสมสาร 2. ชง่ั คาร์โบพอล 940 จานวน 4 กรัม หรอื 7 ซ้อนซา เทลงในภาชนะที่บรรจุน้า กวนสารตลอดเวลา จนสารละลาย เปน็ เน้ือเดียวกนั หรือตง้ั ทิง้ ไวป้ ระมาณ 3-4 ชัว่ โมง หรอื จนกว่าสารจะกอ่ ตวั เปน็ วนุ้ ลกั ษณะคลา้ ยเจล 3. ตวงเอทานอล 95% ด้วยกระบอกตวงหรอื ถ้วยตวง จานวน 75 มิลลลิ ิตร รนิ ใสภ่ าชนะอีกใบ 4. ตวงหัวเชอ้ื นา้ หอม (กลิน่ ตามความต้องการ ) จานวน 2 มลิ ลลิ ติ ร รินผสมลงในเอทานอล 95% คนใหเ้ ข้ากัน 5. รินสารผสมเอทานอล 95% กับหัวเช้ือน้าหอม ลงในเนือ้ เจล ค่อยๆคนจนเป็นเนอ้ื เดียวกนั 6. ตวงกลีเซอรนี (Glycerine) จานวน 1 มิลลลิ ิตร ค่อยๆรนิ ลงไปในภาชนะผสมสาร คนให้เขา้ กนั 7. ตวงไตรเอทาโนลามนี (triethanolamine) จานวน 1-2 มิลลิลิตร ค่อยๆรินลงไปในภาชนะผสมสาร คนให้เข้ากัน สังเกตคุ วามข้นของเนือ้ เจล จนไดต้ ามความต้องการ 8. ปดิ ฝาภาชนะให้สนิทต้งั ทงิ้ ไว้ประมาณ 2 คืนเพื่อใหเ้ นือ้ เจลเซตตัว 9. บรรจุเน้อื เจลแอลกอฮอล์ใสภ่ าชนะทเี่ ตรยี มไว้ วธิ ีการใช้ 1. บบี เจลใส่ฝา่ มอื พอประมาณ ฝา่ มือทง้ั สองข้างในลักษณะเป็นวงกลม 2. ฝ่ามือถหู ลงั มอื โดยให้นวิ้ อยู่ระหวา่ งกนั ถูข้ึนลงจนทัว่ หลงั มือ 3. สลับมือโดยทาลักษณะเดยี วกับข้อ 2 4. ฝา่ มอื ถูฝา่ มือ โดยใหน้ ้วิ อยู่ระหวา่ งกนั ถขู ้นึ ลงจนทัว่ ฝ่ามือ ประโยชน์ของเจลแอลกอฮอลล์ ้างมอื การใช้เจลแอลกอฮอลล์ ้างมอื เปน็ วธิ ีหนึง่ ในการทาความสะอาดมอื โดยเฉพาะในสถานการณท์ ่ีไม่สะดวกท่ีจะล้างด้วย นา้ และสบู่ ขอ้ ดี ใชส้ ะดวก พกพาง่าย ทาความสะอาดไดร้ วดเรว็ มปี ระสิทธิภาพและมีความชุ่มขึ้นต่อผิว ขอ้ ควรระวงั 1. ไม่ควรใช้ใกล้บรเิ วณทีม่ เี ปลไฟ 2. ผู้ท่มี อี าการแพแ้ อลกอฮอล์ควรหลกี เลี่ยงหรอื ห้ามใช้โดยเดด็ ขาด 3. ควรวางให้พ้นมือเด็ก หากมีความจาเป็นตอ้ งใชท้ าความสะอาด ควรอยูภ่ ายใต้การดูแลของผูใ้ หญ่ Ysc Insight รอบรัว้ ศูนยว์ ิทยฯ์ ยะลำ 16 #ฉบับท่ี 1 | ประจำเดือนเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc 4.0 เทา่ ทันเทคโนโลยี การนาส่ือการเรยี นรอู้ อนไลนม์ าประยุกต์ ใชใ้ นการจดั กิจกรรม ระบบคลงั ความรู้ SciMath แหลง่ รวบรวมสอื่ การเรยี นการสอนหลากหลายประเภท เนอ้ื หาถกู ตอ้ งทางวิชาการและ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ ที่สนบั สนนุ ใหค้ รู นกั เรียนและบุคคลทวั่ ไปสามารถเข้ามาค้นคว้าความร้ไู ด้ด้วยตนเอง พัฒนา โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ หากผู้อ่านวารสารท่านใดที่สนใจ สามารถเข้าศึกษาเพ่ิมเตมิ ไดท้ ่ี https://www.scimath.org \"เมื่อความรู้ อยู่ท่ีปลายน้ิว“ เรียนรู้เร่ืองราวต่างๆรอบตัวในมุมมองของวิทยาศาสตร์เพียงแค่ติดตาม เพจ “วทิ ย์สนกุ รอบตัว” เปน็ สอ่ื การเรียนร้อู อนไลน์ดา้ นวิทยาศาสตร์ ในรปู แบบส่ือการเรียนรู้ infographic หากผู้อา่ นวารสาร ทา่ นใดทีส่ นใจสามารถเข้าศกึ ษาเพิ่มเตมิ ได้ท่ี Facebook ค้นหาชื่อเพจ วิทย์สนกุ รอบตัว Ysc Insight รอบรัว้ ศูนยว์ ิทยฯ์ ยะลำ 17 #ฉบบั ที่ 1 | ประจำเดอื นเมษำยน-พฤษภำคม 2564

Ysc 4.0 เทา่ ทันเทคโนโลยี การนาส่ือการเรยี นรอู้ อนไลนม์ าประยกุ ต์ ใชใ้ นการจัดกจิ กรรม 18 เกมการสอนน่ารู้สาหรับการเรียนการสอนออนไลน์ ผู้เขียนรวบรวมสื่อการสอนที่นามาเปน็ เกมสเ์ พ่ือให้การเรียน การสอนมตี วามนา่ สนใจ และมีความหลากหลายมากขึ้น เผ่ือเป็นไอเดียดีๆสาหรับครู หรือนักเรียน รวมถึงผู้สนใจอื่นสามารถ นามาปรับใช้ในการเรียนการสอนยุคปัจจุบันได้ หากผู้อ่านวารสารท่านใดที่สนใจสามารถเข้าศึกษาเพ่ิมเติมได้ที่ Youtube ชอ่ื ช่อง TEACHDENT SHARED นอกจากส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ และเกมการสอยน่ารู้ ผู้เขียนยังได้นาเสนอเว็บไซต์สาหรับการค้นหารูปภาพท้ัง รูปภาพทั่วไป และรูปภาพชนิดท่ีเป็นเวกเตอร์ เพื่อให้ผู้ท่ีสนใจไม่ว่าจะเป็นครู หรือนักเรียน ได้นาสาระดีๆ นาไปต่อยอด สรา้ งสรรคผ์ ลงานกันต่อไป หากผ้อู ่านวารสารทา่ นใดที่สนใจสามารถเขา้ ศึกษาเพม่ิ เตมิ ได้ตามเวบ็ ไซตท์ ่ีปรากฏในรูปภาพ Ysc Insight รอบรัว้ ศูนย์วทิ ย์ฯยะลำ เรยี บเรยี งขอ้ มูลโดย นายณัฐกร ปลวัชร ครูผูช้ ่วย และงานเทคโนโลยี ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา 18 #ฉบบั ที่ 1 | ประจำเดือนเมษำยน-พฤษภำคม 2564

ศูนย์วทิ ยำศำสตรเ์ พ่ือกำรศึกษำ 1/29 ถนนอำคำรสงเครำะห์ ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลำ 95000 โทรศัพท์ 073-214920 (ธรุ กำร) E-mail : [email protected]