Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE)

ความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE)

Published by Pongsaton Palee, 2021-07-13 16:56:26

Description: มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางด้านความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) ประกอบด้วย ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) ทักษะในการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี (Critical Thinking) ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) ทักษะในการจัดการข้อมูลที่ผู้ใช้งานทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) จริยธรรมของผู้ประกอบการและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจในยุคดิจิทัล และการทำ Crowdfunding ตลาดของการระดมทุนในรูปแบบใหม่/รูปแบบวิธีการระดมทุนแบบ Crowdfunding

Keywords: ความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ,Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur

Search

Read the Text Version

หลักสูตร ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั สำหรับผปู้ ระกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur) วชิ า ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั สำหรบั ผูป้ ระกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) กล่มุ เปา้ หมาย กล่มุ ขนาดกลางและขนาดใหญ่ (Advanced) อาจารยป์ ระจำวิชา ช่ือ ดร.พงศธร ปาลี/ผศ.ดร.อดิเรก เยาว์วงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์ สถานประกอบการ ช่ือ........................................................... บริษทั ............................................

แนะนำรายวชิ า (Course Description) คำอธบิ ายรายวิชา มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางด้านความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) ประกอบด้วย ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของ ตนเอง (Digital Citizen Identity) ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) ทักษะในการคิด วิเคราะหม์ วี จิ ารณญาณที่ดี (Critical Thinking) ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) ทักษะในการจัดการข้อมูลที่ ผู้ใช้งานทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) จริยธรรมของ ผปู้ ระกอบการและกฎหมายทเี่ กยี่ วข้องกบั การดำเนินธรุ กจิ ในยุคดิจิทลั และการทำ Crowdfunding ตลาดของการ ระดมทุนในรูปแบบใหม/่ รปู แบบวิธีการระดมทนุ แบบ Crowdfunding วัตถุประสงคข์ องบทเรยี น 1) มีความรแู้ ละเข้าใจทกั ษะความฉลาดทางดจิ ทิ ัลสำหรบั ผปู้ ระกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) 2) มีความรู้และเข้าใจจริยธรรมของผู้ประกอบการและกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกับการดำเนินธุรกจิ ในยคุ ดิจทิ ลั 3) มีความรู้ความเข้าใจการทำ Crowdfunding ตลาดของการระดมทนุ ในรปู แบบใหม่/รูปแบบวธิ ีการ ระดมทุนแบบ Crowdfunding ขอบเขตบทเรียน 1) ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั สำหรับผ้ปู ระกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) 2) จรยิ ธรรมของผ้ปู ระกอบการและกฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกบั การดำเนินธุรกิจในยุคดิจิทัล 3) การทำ Crowdfunding ตลาดของการระดมทุนในรูปแบบใหม่/รูปแบบวธิ กี ารระดมทนุ แบบ Crowdfunding เนอื้ หาวชิ า ตอนที่ 1 ความฉลาดทางดจิ ิทัลสำหรบั ผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) ตอนที่ 2 จริยธรรมของผปู้ ระกอบการและกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การดำเนินธรุ กิจในยคุ ดิจิทัล ตอนท่ี 3 การทำ Crowdfunding ตลาดของการระดมทุนในรปู แบบใหม่/รปู แบบวธิ กี ารระดมทนุ แบบ Crowdfunding

ตอนท่ี 1 ความฉลาดทางดจิ ิทลั สำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) ความฉลาดทางดิจิทัล เป็นผลจากศึกษาและพัฒนาของ DQ institute หน่วยงานที่เกิดจากความร่วมมือ กันของภาครัฐและเอกชนทั่วโลกประสานงานรว่ มกับ เวิลด์อีโคโนมิกฟอรั่ม (World Economic Forum) ที่มุ่งมั่น ให้เด็ก ๆ ทุกประเทศได้รับการศึกษาด้านทักษะพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพและใช้ชีวิตบนโลกออนไลน์อย่าง ปลอดภัยด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ความฉลาดทางดิจิทัล เป็นกรอบแนวคิดที่ครอบคลุมของ ความสามารถทางเทคนิคความรู้ความเข้าใจและความคิดทางสังคมที่มีพื้นฐานอยู่ในค่านิยมทางศีลธรรมที่ช่วยให้ บุคคลที่จะเผชิญกับความท้าทายทางดิจิทัล ความฉลาดทางดิจิทัล มีสามระดับ 8 ด้าน และ 24 สมรรถนะที่ ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ ทัศนคตแิ ละค่านิยม โดยบทความน้จี ะกล่าวถึงทักษะ 8 ด้านของความฉลาดดิจิทัลใน ระดบั พลเมอื งดจิ ิทัล ซ่ึงเปน็ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั และส่ือในรูปแบบท่ีปลอดภยั รับผิดชอบ และมี จริยธรรม ดังน้ี ภาพที่ 1 แบบจำลองทกั ษะความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผ้ปู ระกอบการ

1) ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ความสามารถในการสร้าง และบริหารจัดการอัตลักษณ์ที่ดีของตนเองไว้ได้อย่างดีทั้งในโลกออนไลน์และโลกความจริง เช่น การผยแพร่และ การรักษาข้อมูลโดยคำนึงถึงชื่อเสียงของตัวเอง ตัวตนและความเป็นจริง เพื่อไม่ให้ข้อมูลเหล่านั้นย้อนกลับมาทำ ความเสยี หายให้ตวั เองในภายหลัง 2) ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ความสามารถในการบริหาร เวลาที่ใช้อุปกรณ์ยุคดิจิตอล และสามารถการทำงานที่หลากหลายในเวลาเดียวกันได้ เช่น การแบ่งเวลาในการใช้ คอมพวิ เตอร์หรอื แทบ็ เลต็ 3) ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) ความสามารถในการรับรู้ และรับมือการคุกคามข่มขู่บนโลกออนไลน์ได้อย่างชาญฉลาด เช่น รู้เท่าทันภัยที่มากับ อินเตอรเ์ น็ต ไมส่ ่งขอ้ มูลสำคญั ให้กับมจิ ฉาชีพจนตัวเองตกเป็นเหยื่อ 4) ท ั ก ษ ะ ใ น ก า ร ร ั ก ษ า ค ว า ม ป ล อ ด ภ ั ย ข อ ง ต น เ อ ง ใ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ (Cybersecurity Management) ความสามารถในการป้องกันข้อมูลด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยที่เข้มแข็ง และป้องกันการ โจรกรรมข้อมูลหรือการโจมตีออนไลน์ได้ เชน่ การร้จู ักตรวจสอบไวรสั และอัปเกรดโปรแกรมกำจัดไวรสั เป็นประจำ สม่ำเสมอ 5) ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) มีดุลพินิจในการบริหารจัดการข้อมูล ส่วนตัว โดยเฉพาะการแชร์ข้อมลู ออนไลนเ์ พื่อป้องกันความเปน็ ส่วนตัวท้ังของตนเองและผู้อ่ืน เช่น การรักษาข้อมูล สว่ นตวั ของตวั เองในคอมพวิ เตอรโ์ ดยการใส่รหัสไว้อยา่ งเหมาะสม 6) ทักษะการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี (Critical Thinking) ความสามารถในการวิเคราะห์ แยกแยะระหว่างข้อมูลที่ถูกต้องและข้อมูลที่ผิด ข้อมูลที่มีเนื้อหาดีและข้อมูลที่เข้าข่ายอันตราย ข้อมูลติดต่อ ออนไลน์ที่น่าตั้งข้อสงสัยและน่าเชื่อถือได้ เช่น การตรวจสอบข้อมูลที่ได้มาจากโลกอินเตอร์เน็ตให้ถูกต้องก่อนท่ี จะเแชรใ์ หค้ นรู้จัก 7) ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลที่ผู้ใช้งานมีการทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ความสามารถในการเข้าใจธรรมชาติของการใช้ชีวิตในโลกดิจิตอลว่าจะหลงเหลือร่อยรอยขอ้ มูลท้ิงไว้เสมอ รวมไป ถึงเข้าใจผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อการดูแลสิ่งเหล่านี้อย่างมีความรับผิดชอบ เช่น การไม่ใช้ช่องทางโซเชียวไปก่อ ความเดอื ดรอ้ นแก่บุคคลอื่น เพราะทราบวา่ ถา้ ทำเชน่ นีจ้ ะโดนฟอ้ งร้องและสง่ ผลเสียต่อตวั เอง 8) ทักษะการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) ความเห็นอกเห็นใจ และเข้าใจ ความรสู้ กึ ผอู้ ่ืนบนโลกออนไลน์ เชน่ การแสดงความคิดเห็นในกระดานข้อความดว้ ยความสุภาพและคดิ ถึงจิตใจของ ผอู้ ่านคนอน่ื ไม่พมิ พค์ ำท่เี สียดสี ใหร้ ้าย หรอื ประชดประชนั โดยเฉพาะในเร่ืองทลี่ ะเอียดอ่อน

การพฒั นาแรงงานในสถานประกอบการดจิ ทิ ัล (Digital Workforce Development for Entrepreneur) จากการทบทวนวรรณกรรม ไม่พบว่ามีการบัญญัตินิยามกําลังคนด้านดิจิทัลในที่ใดมีเพียงการ กล่าวถึง กำลังคนดิจิทัล โดยโครงการ Future intec ซึ่งจัดตั้งโดยสมาคมวิชาชีพวิศวกรของประเทศนิวซีแลนด์ (Engineering New Zealand) ได้ระบุว่า “กำลังคนดิจิทัล หมายถึง ธุรกิจที่เกี่ยวกับไอที การทําโปรแกรม คอมพิวเตอร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ อิเล็กทรอนิกส์ไฮเทค ระบบข้อมูล และการพัฒนาเว็บ เกม และมัลติมีเดีย ” และหน่วยงานหลักที่จ้างบุคลากรท่ีมีทักษะด้านดจิ ทิ ัล ได้แก่ บริษัทพัฒนาซอฟต์แวร์ เว็บ และมัลติมีเดีย บริษัทท่ี ให้บริการคอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล และเครือข่าย ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตและโทรคมนาคม องค์กรด้านการศึกษา และวิจัย ผู้ค้าปลีกรายใหญ่ ธนาคาร และองค์กรสื่อ (เช่น หนังสือพิมพ์ และ โทรทัศน์) และองค์กรอื่น ๆ ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ โดยผู้ทํางานในกำลังคนดิจิทัลส่วนใหญ่จบการศึกษาด้านการคํานวณ (Computing) ระบบ คอมพวิ เตอรห์ รอื ซอฟตแ์ วร์ วทิ ยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมระบบซอฟตแ์ วรแ์ ละคอมพวิ เตอร์ จากยุทธศาสตร์ที่ 5 ของการพัฒนาดจิ ทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมที่มุ่งเน้นการพัฒนากำลังคนดจิ ิทัล (Digital Manpower) ขึ้นมารองรับการทำงานในระบบเศรษฐกิจดิจิทัล โดยเน้นทั้งกลุ่มคนทำงานที่จะเป็นกำลังสำคัญใน การสรา้ งผลติ ภาพการผลิต (Productivity) ในระบบเศรษฐกิจ และกลุ่มคนท่ีเปน็ ผู้เชย่ี วชาญด้านดิจิทลั การพฒั นา บุคคลากรภาครัฐให้นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไปพัฒนาประเทศ ที่สามารถนำไปสู่ความ “มั่นคง ม่ัง คั่ง และยั่งยืน” ได้ตามเจตนารมณ์ของรัฐบาล โดยมุ่งเน้นการกา้ วสูก่ ารเป็นรัฐบาลดิจิทัล (Digital Government) นน้ั “สถาบนั พฒั นาบุคลากรด้านดิจทิ ลั ภาครัฐ หรือ Thailand Digital Government Academy: TDGA” จึงได้มี การพัฒนาบุคคลากรภาครฐั ให้มีความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่ Digital Government กล่าวคือ สามารถทำงานภายใต้ โครงการบูรณาการข้อมูลเพ่อื เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของภาครฐั โดยมงุ่ เน้นการใหบ้ ริการประชาชนเป็นสำคัญ และโปร่งใส มคี วามรู้ความสามารถหลายศาสตร์ สามารถเข้าใจและสื่อสารในการพัฒนาระบบท่ีหลากหลาย โดยมี ความรู้เชิงลึกที่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างน้อยหนึ่งศาสตร์ และทำงานได้ตามภารกิจในการรับผิดชอบเพื่อช่วย ขับเคลือ่ นรฐั บาลดิจทิ ลั เป้าหมายของการพัฒนาแรงงานในสถานประกอบการดิจิทัล (Digital Workforce Development for Entrepreneur) ต้องมุ่งเน้นการสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วัยทำงานให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพในการประกอบอาชีพ รวมถึงการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลใน บุคลากรภาครัฐ ภาคเอกชน ในทุกสาขาอาชีพ ให้มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในระดับ มาตรฐานสากล เพอื่ รองรบั การพฒั นาประเทศในยคุ เศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทลั เป็นปัจจัยหลักในการ ขับเคลื่อน นอกจากการอบรมให้ความรู้เพิม่ ทักษะด้านไอทีแล้ว ในหลายประเทศทั่วโลกรวมถึงสหประชาชาตแิ ละ ยูเนสโก ยังมีการสอบวัดมาตรฐานความรู้ความสามารถด้านไอทีโดยใช้วุฒิบัตรรับรองความสามารถคอมพิวเตอร์ สากล ICDL (International Computer Driving License) เป็นเกณฑ์สากลซง่ึ ชว่ ยเพิ่มศกั ยภาพการเรยี นรู้ด้านไอ ทใี ห้สูงขนึ้ และเป็นแรงผลักให้ทรัพยากรมนุษย์ถูกพัฒนาไปในทิศทางเดยี วกันอย่างถกู ต้องและมีประสิทธิภาพ เป็น เกณฑส์ ำหรับคดั เลือกบคุ ลากรท่ีมีคณุ ภาพสำหรับนุคดิจิทัลในขณะเดียวกันกเ็ ป็นเสมือนอีกใบเบิกทางสู่โอกาสงาน และโอกาสความก้าวหน้าและรายได้ที่ดกี ว่าสำหรับนักศึกษาจบใหม่และผู้ท่ีกำลังมองหาโอกาสงานใหม่ ๆ สำหรบั ประเทศไทยนั้นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน รวมทั้งภาคบุคคล

คนทั่วไป มุ่งเพ่ิมคุณค่าและสร้างบุคลากรท่ีมปี ระสิทธิภาพสอดรับนโยบาย Digital Thailand และ Thailand 4.0 เพื่อนำประเทศไทยไปสู่การเปน็ ดจิ ทิ ลั อย่างเต็มรปู แบบ การเตรียมบุคลากรที่มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็น เพื่อเปลี่ยนแปลงองค์กรสู่ดิจิทัลและเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันในโลกดิจิทัลมากขึ้น เป็นเรือ่ งที่เปน็ ความจำเปน็ อยา่ งเร่งเร็วและรอช้ามิได้ เพราะหน่ึง ในทรัพยากรที่สำคัญสำหรับการประสบความสำเร็จในการออกแบบและการใช้กลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงองค์กรสู่ ดิจิทัลคือการมีผู้นำขององค์กรและพนักงานที่เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี แต่ความหลากหลายของนวัตกรรมดิจิทัล เทคโนโลยีใหม่เองก็มีสว่ นเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงองค์กรสู่ดิจิทัลด้วยเช่นกัน (สำนักงานรัฐบาล อิเลก็ ทรอนกิ ส์, 2560) หนึ่งในทรัพยากรทส่ี ำคญั สำหรบั การประสบความสำเรจ็ ในการออกแบบและการใช้กลยทุ ธ์การเปล่ียนแปลง องคก์ รสู่ดิจทิ ลั คอื การมผี ูน้ ำขององคก์ รและพนกั งานที่เชีย่ วชาญดา้ นเทคโนโลยี แต่ความหลากหลายของนวัตกรรม ดิจทิ ลั เทคโนโลยใี หม่เองก็มีส่วนเป็นพ้ืนฐานสำคญั สำหรบั การเปล่ยี นแปลงองคก์ รส่ดู ิจทิ ัล ดงั ภาพที่ 2 ภาพท่ี 2 แบบจำลองการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยดิจทิ ัล (Digital University) จากภาพที่ 2 จะเห็นได้ว่าการขับเคลื่อนนโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามแนว ทางการขบั เคลือ่ นตามกรอบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ดจิ ิทลั (Digital University) ของกล่มุ มหาวทิ ยาลยั ตามกรอบ Digital University แบง่ ออกเป็น 6 ด้าน ดงั นี้ 1) ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Digital Infrastructure) คือการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ดิจิทัลให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ การมีขนาดและความสามารถที่พอเพียงกับการใช้งานมีเสถียรภาพที่มั่นคง เพื่อเป็น พ้นื ฐานไปสูก่ ารตอ่ ยอดกจิ กรรมการพัฒนามหาวิทยาลัยฯ ทม่ี ีประสิทธิภาพสงู สุด

2) ด้านการพัฒนาสังคมดิจิทัล (Digital Society) คือการสร้างสังคมดิจิทัลที่มีคุณภาพด้วยการพัฒนา ข้อมูลข่าวสาร และบริการต่าง ๆ ที่เอื้ออำนวยต่อคนทุกระดับ โดยคำนึงถึงผู้ด้อยโอกาสให้สามารถเข้าถึงข่าวสาร ได้ทุกที่ ทกุ เวลา อยา่ งทัว่ ถึง เท่าเทียมกนั ผ่านเทคโนโลยีดจิ ิทัล 3) ด้านการประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ (Digital Analytics) คือการเน้นการบริหารจัดการ โดยการ อำนวยความสะดวก (Facilitator) และการส่งเสริมสนับสนุน (Promoter) โดยการสร้างแรงจูงใจแก่บุคลากรใน องค์กรและนักศึกษาอย่างเป็นระบบ และปรับปรุงประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัยฯ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลอย่าง โปรง่ ใสและปิดช่องทางในการคอรัปชน่ั 4) ด้านการพัฒนาดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Digital Academic) เพื่อการยกระดับเพิ่มขีดความสามารถของ บุคลากรทางการศึกษา นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ด้วยการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สารสอดคล้องกับความต้องการทั้งภาคการศึกษา ภาคธรุ กจิ และภาคอตุ สาหกรรม โดยการพัฒนาบุคลากรให้มี ความรแู้ ละทักษะใหม่ ๆ จนนำไปส่กู ารพฒั นาเปน็ ศนู ยค์ วามเปน็ เลิศทางวิชาการ 5) ด้านการพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้แบบดิจิทัล (Digital Content) คือการเน้นพัฒนา Digital Content แบบบูรณาการ โดยการบูรณาการเนื้อหา/สาระ ที่แปลงเข้าสู่ระบบดิจิทัล ในด้านการศึกษา ด้าน วัฒนธรรม และด้านพัฒนาทักษะทางอาชีพ จนนำไปสู่การพัฒนาเป็นคอร์สการเรียนออนไลน์ระบบเปิดที่รองรับ ผู้เรียนจำนวนมาก (MOOC – Massive Open Online Course) และการเรียนเทคโนโลยีผ่าน Mobile Application 6) ดา้ นระบบนิเวศดิจิทัลงานวจิ ยั (Digital Research) คอื การสรา้ งระบบนิเวศดิจิทัลสำหรบั งานวิจัยอย่าง ครบวงจร สนับสนนุ ขอ้ มูลการวิจัยให้กับผปู้ ระกอบการ (Entrepreneur) และธุรกจิ SME จากการแขง่ ขันเชิงราคา ไปสู่การแขง่ ขนั เชิงการสร้างคณุ คา่ ของสินค้าและบริการ (Service Innovation) รวมท้งั มคี ลงั ทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล และองค์ความรู้ในรูปแบบดิจิทัลที่ประชาชนสามารถเข้าถึงและสามารถเรียกข้อมูลมาใช้ หรือนำไปวเิ คราะห์ต่อยอดได้อยา่ งสะดวก ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก จากการขับเคลื่อนทั้ง 6 ด้าน ท่ี ประกอบไปด้วยการขับเคลื่อนจาก ส่วนประกอบ Hardware, Software, Service Infrastructure, Internal management application, Digital transformation และ Digital economy เพื่อก่อให้เกิดเป็นผลลัทธ์ท่ี สำคญั 4 ด้าน คือ 1. พัฒนากำลังแรงงานดิจิทัล (Digital Workforce) คือการสร้างบุคลากรเพื่อรองรับโครงสร้างพื้นฐาน ดิจิทัลโดยการเพิ่มศักยภาพของบัณฑิตและบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการทั้งภาคการศึกษา ภาค ธุรกิจ และภาคอตุ สาหกรรม 2. พัฒนาเน้ือหา (Digital Contents) คือการเนน้ การพฒั นา Digital Content แบบบรู ณาการ โดยการบรู ณาการเนื้อหา/สารัตถะทุกประเภท และแปลงเขา้ สูร่ ะบบดิจทิ ัล ทั้งในด้านการศกึ ษา ด้านการวิจัยและการบรกิ าร ทางวิชาการ ดา้ นศลิ ปะและวฒั นธรรม และด้านพัฒนาทักษะทางอาชพี 3. การส่งเสริมการเรียนรู้ (Digital Learning) คือการพัฒนาระบบการเรียนการสอนแบบดิจิทัลเพื่อ สนองตอบต่อการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต โดยการสร้างหลกั สูตรออนไลนร์ ะบบเปิดที่รองรับผู้เรยี นจำนวนมาก (Massive Open Online Course) โดยการสรา้ งหลักสตู ร/รายวชิ าออนไลนใ์ นลักษณะเปิดทอ่ี นุญาตให้ผูเ้ รียนจำนวนมากเข้า มาเรียนรู้ไปด้วยกัน อย่างยืดหยุ่น ทุกสถานที่ (จากทั่วโลก) ทุกเวลา (ไม่จำกัดเวลา) และทุกเครื่องมือ (ไม่จำกัด อปุ กรณ์การเขา้ ถงึ )

4. การพัฒนาผู้ประกอบการภายใต้เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Entrepreneur) คือการสร้างระบบนิเวศ ดิจิทัลงานวิจัยและการบริการทางวิชาการอย่างครบวงจร สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการและการวิจัยให้กับ ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) และธุรกิจ SME จากการแข่งขันเชิงราคา ไปสู่การแข่งขันเชิงการสรา้ งคุณค่าของ สนิ ค้าและบริการ (Service Innovation) ส่งเสริมใหเ้ กดิ การจัดตง้ั (Start up) โดยการสรา้ ง Incubator Program และเครือข่ายเพื่อสร้าง Pre-startup ที่มีคุณภาพ รวมทั้งมีคลังทรัพยากรสารสนเทศเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลและ องค์ความรู้ในรูปแบบดิจิทัลที่ประชาชนสามารถเข้าถึงและสามารถเรียกข้อมูลมาใช้หรือนำไปวิเคราะ ห์ต่อยอดได้ อย่างสะดวก ตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลงของโลก แม้ว่าไม่มีการบัญญัตินิยามกําลังคนดา้ นดิจิทัล นิยามที่ใกล้เคียงที่สุดน่าจะเปน็ กําลังคนด้าน เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) อย่างไรกต็ ามในปจั จบุ นั ยังไม่มีขอ้ ตกลงทชี่ ดั เจนเกี่ยวกบั นิยาม ของกําลังคนด้าน ICT โดยทั่วไป นิยามของกําลังคนด้าน ICT อาจวัดได้ใน 3 รูปแบบ คือ 1) กําลังคนในอุตสาหกรรม ICT 2) อาชีพ ดา้ น ICT และ 3) การศึกษาดา้ น ICT ดังแสดงรายละเอยี ดในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 นยิ ามกําลังคนดา้ น ICT กําลงั คนดา้ น ICT นิยามและการใช้ กาํ ลงั คนใน นิยามโดยการจัดประเภทของอุตสาหกรรม ICT อุตสาหกรรม ICT มกั ใช้ในการเปรียบเทียบขนาดของอตุ สาหกรรม ICT ระหว่างประเทศ ขอ้ จาํ กดั : นยิ ามของบางสาขาอุตสาหกรรม ICT ไมช่ ัดเจน และการนับรวมเฉพาะกําลังคน ใน ภาคอุตสาหกรรม อาชีพดา้ น ICT นยิ ามโดยการจดั ประเภทของอาชีพดา้ น ICT ข้อจํากดั : นิยามอาชีพ ICT ท่ีใช้อยู่ในปัจจุบัน ไมป่ รบั ทันตามสถานการณท์ ี่เปล่ยี นแปลงไป การศึกษาด้าน ICT มกั ใช้ในการประมาณการขนาดของอปุ สงค์กาํ ลงั คนด้าน ICT ต้องกาํ หนดสาขาวิชา คณุ สมบัติ และทกั ษะด้าน ICT ข้อจํากัด : มกั นบั รวมเฉพาะผู้ทีศ่ ึกษาดา้ น ICT ในสถานศึกษา (ควรนับรวม ผ้ทู ่ีศึกษาแบบ ไมเ่ ป็น ทางการ และผู้ท่ีมีใบรับรองคุณวุฒิด้าน ICT) ท่ีมา: (Ko and Kang, 2014)

นโยบายท่สี ําคญั ของประเทศไทยเก่ยี วกบั การพัฒนากําลงั คนด้านดจิ ิทลั เพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) แสดงดังภาพที่ 3 ภาพที่ 3 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างบริบทด้านนโยบายที่เก่ียวข้องและการพัฒนากำลงั คนดิจิทลั การให้ความสำคัญกับทกั ษะด้านนวัตกรรมดจิ ิทัลเป็นสิ่งจำเปน็ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อรัฐบาลพยายามที่จะ เน้นเรื่องของ Thailand 4.0 ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยทักษะด้านดิจิทัลเทคโนโลยีเป็นอย่างมากในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการเตรียมความพร้อมบุคลากรในอนาคตต้องรองรับกลุม่ ที่เป็นนักวิชาชีพด้านดิจิทลั เทคโนโลยี และคนทั่วไปที่เป็นผู้ใช้ท่ีต้องมีทักษะด้านดิจิทัลขั้นสูงหรือพลเมืองดิจิทัล (สํานักงานคณะกรรมการ ขา้ ราชการพลเรือน, 2560) ดังนั้นองค์กรจำเป็นต้องพัฒนาทักษะเฉพาะทางด้านนวัตกรรมดิจิทัลให้กับพนักงานก่อนที่จะเริ่มต้นการ เปลี่ยนแปลงองค์กรสู่ดิจิทัลอย่างแท้จริง โดยองค์กรต้องมุ่งเน้นไปที่แนวโน้มของเทคโนโลยีบางอย่าง เช่น ระบบ เซ็นเซอร์ หรือ IoT เพื่อใช้ในการสนับสนุนศักยภาพทางธุรกิจในองค์กร โดยจะเป็นการเปลี่ยนกระบวนการ ดำเนินงานให้เป็นอัตโนมัติ และเพิ่มกระแสรายได้ใหม่ ผ่านผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็นแบบดิจิทัลเพิ่มขึ้น แต่ ทรัพยากรบุคคลที่สามารถพัฒนาทักษะทางด้านเทคโนโลยี มักจะมีการจำกัดเฉพาะภายในองค์กรเท่านั้น ดังน้ัน องค์กรก็ต้องรู้ว่าควรจะลงทุนในส่วนของการพัฒนาทักษะ ความสามารถให้กับพนักงาน และทักษะที่ขาดแคลน ดา้ นต่าง ๆ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรที่มีความเช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นไอที

ความต้องการกำลังคนใน 10 อุตสาหกรรมส่งเสริมและโครงสร้างพื้นฐานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก EEC ระหว่างปี 2562 – 2566 จากตารางที่ 2-6 เป็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับภาคอุตสาหรรมที่จะ เกดิ ข้ึนในอนาคตของ EEC โดยส่งเสรมิ ใหม้ ีการพฒั นาบคุ ลากรด้านดิจิทลั ดังภาพท่ี 4 ภาพที่ 4 การสรา้ งบคุ ลากรรองรับ 10 อตุ สาหกรรม ของเขต EEC สำหรับโครงสร้างการดำเนินงานตามกรอบงาน EEC HDC คือการศึกษาและวิจัยความต้องการของ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นที่อีอีซี ท่ีได้ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษาท้ัง ในและต่างประเทศ เพื่อผลิตบุคลากรป้อนให้ตามความต้องการนั้น ๆ ซึ่งโมเดล EEC HDC สามารถนำไป ประยุกตใ์ ช้ในพ้นื ที่อ่ืน ๆ ไดท้ วั่ ประเทศ อุตสาหกรรมดิจิทัล เป็นอุตสาหรรมที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในภาคการผลิต โดยให้ผู้ประกอบการ สามารถใชเ้ ครือ่ งจักร อุปกรณ์ และระบบอตั โนมัติท่ีเหมาะสม โดยสามารถแยกประเภทสนิ ค้าดจิ ิทัลได้เปน็ 3 กลุ่ม หลกั ดังตารางที่ 2-6 1) เนือ้ หาดจิ ิทัลและขอ้ มลู ดิจิทัล ฮาร์ดแวรแ์ ละอุปกรณ์อจั ฉรยิ ะ ซอฟตแ์ วร์และระบบอจั ฉริยะ 2) บริการดิจิทัล เช่นธุรกิจให้บริการเกี่ยวกับหน่วยจัดเก็บข้อมูลและการประมวลผลออนไลน์ (Cloud computer) 3) โครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง โดยจะสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล ให้มีการลงทุนดา้ น Internet of Things (IoT) เพื่อสร้างโอกาสต่อผู้ประกอบการในการพฒั นาอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยจะนำ IoT มาปรับใช้ในภาคการเกษตรเพื่อควบคุมระบบการให้น้ำ การควบคุมโรคและศัตรูพืชตลอดจนการ ติดตามสภาพของดิน เพื่อปรบั ปรุงการบำรงุ รกั ษาดิน

การเตรียมความพร้อมของกำลังคนดิจิทลั ในการมุ่งไปสู่การเป็นพลเมืองที่ดี เป็นผู้ซึ่งเติบโตขึน้ ด้วยเทคโนโลยี ที่ทันสมัยมากมายไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีของอุปกรณ์สื่อสารที่ทันสมัย สื่อหรือข้อมูล มากมายมหาศาลในโลกดิจิทลั รู้จกั ทจี่ ะเปน็ พลเมืองดจิ ิทัลท่ีมีความรบั ผิดชอบและสามารถใชส้ ่งิ ต่าง ๆ เหล่าน้ันใน การมีปฏิสัมพันธ์และใช้ประโยชน์กับสารสนเทศได้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบสภาพแวดล้อมในการ เรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ทักษะการรู้ดิจิทัลเป็นทักษะหลักที่มีความสำคัญและมีความจำเป็นต่อการศึกษา และการ ดำรงชวี ติ ต่อไปในอนาคต (นติ ยา, 2560) ตารางที่ 2 การสงั เคราะห์ผลลัพธ์ทสี่ ำคญั ตามประเภททกั ษะ ทกั ษะการจา้ งงาน ความหมายของทักษะ ทกั ษะดา้ น ทกั ษะสง่ เสริมการทำงาน คุณลักษณะสว่ น ประเภทของทักษะ วิชาชพี (Soft Skills) บุคคล (Hard Skills) (Personal Attribute) ความสัมพันธ์ ลกู คา้ พนกั งาน ทกั ษะเฉพาะ + ทักษะด้านไอที + การวเิ คราะห์และ - ความเอาใจ + มกี ารเรียนรู้ + ทักษะด้าน การแกป้ ัญหา ใส่ + มเี จตคติทดี่ ี ภาษา + การส่ือสาร - การทำงาน + มคี วามยดื หยุน่ ทักษะการ + การทำงานเป็นทีม อยา่ งอสิ ระ และความ วิเคราะห์โครงการ + การกำหนดทิศ - การควบคมุ กระตือรือร้น และกระบวนการ ทางการบริการลูกค้า เวลาและ ความยดื หยุ่น + การจัดการ - การรับรทู้ าง ความสามารถ มุ่งเนน้ ผลงาน ขอ้ มลู ภายนอก วฒั นธรรม ในการ - ความคดิ จัดลำดบั สรา้ งสรรค์ ความสำคญั - การเอาใจใส่ - ทักษะการ ทำงานหลาย องค์กร + มีความสำคญั มาก มีความสำคญั ปานกลาง - มคี วามสำคัญน้อย ที่มา : (Foerster - Pastor and Golowko, 2017) เอกสารอ้างอิง ท่มี าเว็บไซต์ : https://www.scimath.org/article-technology/item/10611-digital-intelligence ปณติ า วรรณพริ ณุ . (2560). “ความฉลาดทางงดิจิทัล,” พัฒนาเทคนิคศึกษา. 29 (102), 12-20.

ตอนที่ 2 จริยธรรมของผูป้ ระกอบการและกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการดำเนนิ ธุรกจิ ในยุคดิจิทลั 1. จรรยาบรรณของผูป้ ระกอบธุรกิจตอ่ ลกู ค้า ลูกคา้ (Customer) กล่มุ บุคคลผู้ซ้ือสนิ ค้าหรอื บริการทำให้ธรุ กจิ มีรายได้ มกี ำไร สามารถดำรงธุรกิจ เจรญิ ก้าวหนา้ จงึ ควรมจี รรยาบรรณในการประกอบ ปฏิบัตติ ามข้อตกลงท่ที ำไวด้ ้วยความซื่อสัตย์ธุรกจิ ต่อลกู คา้ ดังน้ี 1.1 กำหนดราคาสินค้าบริการด้วยความยุตธิ รรมเหมาะสมกบั คุณภาพและปริมาณ 1.2 มคี วามเสมอภาคเทา่ เทยี มกันในการเอาใจใส่ลูกคา้ ทุกคน เปดิ โอกาสใหล้ ูกค้าทุกคนซื้อสินค้า และบรกิ ารในทุกสภาวะเศรษฐกิจ 1.3 ไมส่ ร้างเงอื่ นไขใหล้ ูกค้ากระทำตาม บีบบังคบั ควบคุมการตัดสนิ ใจของลูกค้า 1.4 ไม่กระทำการใด ๆ เพ่ือทำใหส้ นิ ค้ามีราคาสูงขนึ้ โดยไม่มีเหตผุ ล 1.5 ปฏบิ ตั ิตอ่ ลกู คา้ อย่างมีอธั ยาศยั ไมตรีอนั ดี 2. จรรยาบรรณของผ้ปู ระกอบธรุ กจิ ตอ่ ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ (Product) คือ สงิ่ ทเี่ สนอขายเพือ่ สนองความต้องการของผู้บริโภคซงึ่ ผู้ประกอบธุรกจิ ตอ้ งมีการควบคุมการผลติ ให้ไดผ้ ลติ ภัณฑ์ทด่ี มี ีคณุ ภาพตรงตามความต้องการของผ้บู รโิ ภค ดงั นน้ั ผ้ปู ระกอบธุรกิจ ควรมจี รรยาบรรณต่อผลิตภัณฑ์ดังน้ี 2.1 ผลิตภัณฑแ์ ละบรกิ ารทีม่ ีคุณภาพ สามารถใชง้ านได้เหมาะสม มีความสวยงาม มรี าคาคุ้มค่า สามารถตอบสนองความตอ้ งการและเป็นท่ีพึงพอใจแกผ่ ้บู รโิ ภค 2.2 ผลิตสนิ ค้าและบรกิ ารได้มาตรฐานอตุ สาหกรรม โดยมีการรับรองกรรมวธิ กี ารผลิตตามระบบท่ี แสดงถึงความปลอดภัยไมเ่ ปน็ อันตรายต่อผบู้ รโิ ภค เชน่ มาตรฐานของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) มาตรฐานของสำนกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) และมาตรฐานระบบคุณภาพ (ISO) เป็นต้น 2.3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตผลติ ภณั ฑอ์ ย่างสม่ำเสมอ 2.4 ผลติ สินคา้ ทม่ี ีความปลอดภัยตอ่ ผู้บริโภค โดยระบุวนั ผลติ และวันหมดอายุ ทต่ี ง้ั ผลิตภัณฑไ์ ว้ อย่างชดั เจน 2.5 เปดิ เผยความเสี่ยงทกุ ประเภทท่เี ก่ียวข้องหรอื เนือ่ งจากตงั ผลิตภัณฑ์ เชน่ เครื่องดม่ื ชูกำลงั มี ข้อความระบุวา่ \"หา้ มดืม่ เกนิ วันละ 2 ขวด จะเปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพ\" ยาฆา่ แมลง มีข้อความระบวุ ่า \"ควรเกบ็ ให้ พน้ มือเดก็ \" หรือนมข้นหวาน ระบุข้อความวา่ \"หา้ มใช้เล้ยี งทารก\" เป็นต้น 2.6 เปดิ เผยถึงสว่ นผสมของผลิตภัณฑ์ 2.7 ไมต่ ง้ั ช่ือและออกแบบผลิตภัณฑ์รวมทัง้ บรรจุภัณฑ์เลยี นแบบผอู้ ่ืน 2.8 ผลติ ภัณฑด์ ้านอุตสาหกรรมต้องมีการควบคุมคุณภาพทัง้ ระบบครบวงจร

3. จรรยาบรรณของผ้ปู ระกอบธรุ กจิ ตอ่ คู่แขง่ ขัน ค่แู ขง่ ขัน (Competitor) คือ ผทู้ ีป่ ระกอบธุรกิจประเภทเดียวกบั ซงึ่ ตอ้ งมกี ารแขง่ ขันกนั บางครง้ั ต้อง มกี ารพ่ึงพาอาศัยกัน การแข่งขนั ตอ้ งเป็นไปอยา่ งถกู ต้อง จึงควรมจี รรยาบรรณต่อคแู่ ข่งขนั ดงั น้ี 3.1 ไม่กลน่ั แกลง้ หรอื ใหร้ า้ ยทั้งโดยทางตรงและทางออ้ ม หรือทำการข่มข่แู ละกีดกนั ทางการค้า 3.2 การใหค้ วามร่วมมือในการแข่งขันเพื่อสรา้ งภาวะตลาดท่ีดี เช่น การให้ข้อมลู เกีย่ วกับสินคา้ การ ร่วมมือในการปอ้ งกันรักษาส่ิงแวดล้อม เป็นต้น 3.3 ไมล่ ว่ งละเมดิ สิทธิตามกฎหมายของคูแ่ ข่งขนั เช่น ละเมดิ ลขิ สิทธิ์ สทิ ธิบัตรเป็นต้น 3.4 ไมจ่ ารกรรมความลบั ทางธรุ กจิ ของค่แู ขง่ ขัน 4. จรรยาบรรณของผู้ประกอบธุรกิจต่อหน่วยราชการ หนว่ ยราชการ เปน็ สถาบนั หน่ึงทมี่ ีความสัมพันธ์กับการประกอบธุรกจิ ผปู้ ระกอบธรุ กิจต้องมีการ ตดิ ต่อกับหน่วยงานอยา่ งสม่ำเสมอ นอกจากน้ีการประกอบธุรกิจยังอยู่ในการควบคุมดแู ลของหนว่ ยราชการอีกดว้ ย ดงั นั้น ผปู้ ระกอบธรุ กิจจงึ ควรมจี รรยาบรรณต่อส่วนราชการดงั น้ี 4.1 ปฏบิ ตั ติ ามข้อบังคับของกฏหมายในการประกอบธรุ กจิ ดว้ ยความซื่อสัตย์ เช่น จัดทำบัญชแี ละเสยี ภาษถี กู ต้องสามารถตรวจสอบได้ และไม่เปิดโอกาสให้ข้าราชการประพฤติมชิ อบในธุรกิจของตน 4.2 ไม่ใหส้ ินบนเพ่อื อำนวยความสะดวกในการดำเนนิ ธุรกิจ 4.3 ไม่ใหค้ วามรว่ มมือสนับสนุนขา้ ราชการในการกระทำทสี่ ่อทางทจุ ริต 4.4 ไม่ใหข้ องขวัญหรอื ของกำนัลแก่ข้าราชการเพ่อื ประโยชนข์ องธรุ กิจ 4.5 ทำธุรกิจกบั ส่วนราชการดว้ ยความซ่อื สัตย์สุจริต เปน็ ธรรม มีความเป็นมิตรไมตรี 4.6 ใหค้ วามรว่ มมอื กับสว่ นราชการในการทำหนา้ ท่พี ลเมืองท่ีดี โดยการสละกำลงั กาย กำลงั ทรพั ย์ ตามความเหมาะสม สนบั สนุนด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชนแ์ ก่สงั คมและชมุ ชน 4.7 มที ศั นคตทิ ่ีดแี ละเช่ือมัน่ ต่อสว่ นราชการ ใหค้ วามรว่ มมือกบั ส่วนราชการ 5. จรรยาบรรณของผูป้ ระกอบธุรกจิ ต่อพนักงาน พนกั งาน (Employer) คอื บคุ ลากร ซง่ึ เปน็ ปัจจยั ในการประกอบธุรกจิ ทสี่ ำคญั ถา้ ไม่มีพนักงานทำ หนา้ ท่ีต่าง ๆ ในองค์กร ยอ่ มทำให้ไมเ่ กิดกิจกรรมทางธรุ กจิ ผูป้ ระกอบธรุ กิจจงึ ควรมีจรรยาบรรณดังน้ี 5.1 ใหค้ ่าจ้างและผลตอบแทนอย่างเหมาะสม โดยพจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถ และลักษณะ ของงาน 5.2 ใหส้ วสั ดิการท่ีดี ทำใหพ้ นักงานมีสวสั ดภิ าพในการดำรงชีวติ 5.3 สนับสนุนพนกั งานมีการพฒั นาตนเองเพ่ิมพูนความรู้ ความสามารถโดยการฝกึ อบรมสมั มนา รวมทั้งสนบั สนนุ ด้านการศึกษา เช่น ให้ทุนการศกึ ษาต่อในระดบั ท่สี ูงขนึ้ เป็นต้น 5.4 ใหค้ วามยุตธิ รรมเทา่ เทยี มกนั ทั้งด้านการปกครองและผลตอบแทน 5.5 เคารพสิทธสิ ่วนบคุ คลและความสามารถของพนกั งาน โดยไมเ่ ปิดเผยข้อมูลส่วนตวั ของพนักงาน โดยไม่ได้รับอนญุ าต 5.6 ศึกษาทำความเขา้ ใจพนกั งานด้านอุปนสิ ัย ความถนัด ความสามารถ เพ่อื จดั หนา้ ทข่ี องพนกั งาน ใหเ้ หมาะสมกับงานทที่ ำ

5.7 ใหค้ วามเชอื่ ถือไว้วางใจด้วยการมอบหมายงานทมี่ ีความรบั ผิดชอบเพิ่มขึน้ รวมทง้ั ให้การยอมรบั ในผลงาน และสง่ เสรมิ สถานภาพในการทำงานให้สูงข้ึน 5.8 ให้คำแนะนำปรึกษาดว้ ยความเต็มใจทั้งเรอื่ งงานเรื่องสว่ นตวั ตามความเหมาะสม 5.9 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหพ้ นกั งานประพฤติตนเปน็ พลเมืองดีต่อสงั คมประเทศชาติ 6. จรรยาบรรณของผู้ประกอบธรุ กจิ ต่อสงั คม สังคม (Society) คือ การอยรู่ ่วมกนั เป็นกล่มุ ของบุคคล มหี น้าที่ในสงั คมแตกตา่ งกนั มกี ารแบง่ งาน กันทำ มีสทิ ธแิ ละเสรภี าพในฐานะการเป็นพลเมืองเท่าเทยี มกนั ตามกฎหมาย ผู้ประกอบธุรกจิ ก็ถือวา่ เป็นส่วนหนึ่ง ของสงั คม จงึ ต้องมสี ว่ นร่วมช่วยพัฒนาสังคมใหเ้ จรญิ กา้ วหน้ามีความสงบสุข มสี ว่ นรบั ผิดชอบกบั สภาพแวดล้อม และกจิ กรรมต่าง ๆ ในสังคม ดงั นัน้ ผ้ปู ระกอบธุรกิจจงึ ควรมีจรรยาบรรณต่อสงั คมดงั นี้ 6.1 ไมป่ ระกอบธรุ กิจที่ทำให้สงั คมเส่ือมทง้ั ด้านจิตใจและดา้ นศลี ธรรม เชน่ การเปดิ บ่อนการพนัน ทำธุรกิจทีส่ นบั สนนุ ให้เกิดการทำผดิ กฎหมายเช่น รบั ซื้อของโจร เป็นต้น 6.2 ไมท่ ำธรุ กิจทที่ ำลายทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เชน่ คา้ ไมเ้ ถอื่ น การรุกลำ้ ท่ีสาธารณะ การปลอ่ ยนำ้ เสยี ลงแมน่ ำ้ ลำคลอง เป็นต้น 6.3 มกี ารปอ้ งกันไม่ให้ธุรกิจเป็นต้นเหตใุ ห้เกิดมลพิษต่อสงิ่ แวดล้อมและสงั คมทัง้ ด้านเสยี ง สีและ กลน่ิ เช่นมีการจดั ทำบ่อบำบัดนำ้ เสยี การเก็บรักษาและทำลายวัตถมุ ีพิษต่าง ๆ ด้านความปลอดภัย และการรกั ษา ความปลอดภยั ดา้ นอน่ื ๆ เป็นต้น 6.4 ใหค้ วามเคารพในสิทธิทางปญั ญาของบุคคลอน่ื หรือธรุ กิจอื่น ดว้ ยการไมล่ อกเลยี นแบบโดย ไม่ได้รับอนญุ าต 6.5 ใหค้ วามร่วมมอื กบั ทกุ ฝา่ ยในชมุ ชนเพอ่ื สร้างสรรคส์ ังคมโดยการสละเวลา กำลังกาย กำลัง ทรพั ยเ์ พ่ือความน่าอยู่ของสงั คม เช่น รว่ มจดั ทำศาลาพกั ผู้โดยสาร รว่ มปลกู ตน้ ไมใ้ นสวนสาธารณะ ฯลฯ 6.6 สรา้ งงานแกค่ นในสงั คม ให้มีรายได้ ทำใหม้ ีคุณภาพชีวิตและความเป็นอย่ดู ีข้ึน 7. จรรยาบรรณของพนักงานต่อผปู้ ระกอบธรุ กิจ พนักงานต้องมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพต่อผปู้ ระกอบธุรกจิ เช่นเดียวกัน ถา้ ทัง้ 2 ฝา่ ยต่าง ปฏิบัตติ อ่ กนั ด้วยการมจี รรยาบรรณย่อมทำใหก้ ารทำงานประสบผลสำเรจ็ และอยรู่ ่วมกันอย่างมีความสุขได้ ดงั นนั้ พนักงานจึงควรมจี รรยาบรรณต่อผ้ปู ระกอบธรุ กิจดงั น้ี 7.1 มคี วามซอ่ื สัตย์สุจริตมคี วามรบั ผดิ ชอบ ขยันหม่นั เพียรและมีวนิ ัย 7.2 มคี วามรบั ผดิ ชอบและรกั ษาทรัพย์สนิ ของกิจการ ดว้ ยการใช้ทรัพย์สินให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด ดูแลรกั ษาไม่ให้สูญหายและไม่นำไปใชป้ ระโยชน์สว่ นตัว 7.3 ประพฤติและปฏิบัตติ นใหอ้ ยู่ในศลี ธรรม ไม่ปฏบิ ัติตนให้มีผลกระทบต่อนายจ้าง 7.4 ไม่ประพฤติและปฏบิ ัติสง่ิ ที่ขัดต่อผลประโยชน์ของนายจ้าง ดว้ ยการกระทำตนเป็นคแู่ ข่งขนั ใน เชงิ ธุรกิจการรับผลประโยชน์และเก่ียวข้องทางการเงินกับคู่แข่งขนั ของนายจ้าง ซ่ึงมผี ลทำใหเ้ กิดความได้เปรยี บ และเสยี เปรยี บในเชงิ ธรุ กิจกบั คู่แข่งขัน 7.5 ไม่ทำงานใหบ้ ุคคลอื่น ต้องมีความจงรักภกั ดเี ต็มใจทำงานใหน้ ายจ้างอยา่ งเตม็ ความสามารถ ยกเว้นไดร้ ับการอนญุ าตจากนายจา้ งก่อนซ่ึงต้องไมเ่ ปน็ อุปสรรคตอ่ งานประจำ เอกสารอ้างอิง : จากเวบ็ ไซต์ https://www.gotoknow.org/posts/494333

ตอนที่ 3 การทำ Crowdfunding ตลาดของการระดมทุนในรูปแบบใหม่/รปู แบบวธิ ีการระดมทนุ แบบ Crowdfunding การระดมทุนสาธารณะ หรือ Crowdfunding กลายเป็นทางเลือกสำคัญและน่าสนใจสำหรับคนที่อยาก เริ่มต้นธุรกิจสตาร์ทอัพ (Startup) แต่ยังขาดเงินลงทุน รวมถึงต้องการสำรวจตลาดและกลุ่มเป้าหมายของธรุ กจิ ไป พร้อมๆ กัน โดยโปรโมทโครงการหรือธุรกิจ เพื่อเปิดรับการระดมทุนสาธารณะบนแพลตฟอร์ม หรือเว็บไซต์ที่เปน็ ตัวกลางในการชว่ ยระดมทุน ซงึ่ การระดมทุนสาธารณะที่เราคุ้นเคยกันดี จะมี 4 รปู แบบด้วยกัน ได้แก่ 1. Reward-based Crowdfunding หากผู้สนับสนุนช่วยกันระดมทุนให้แก่โครงการได้สำเร็จ ถึงเป้าที่กำหนด ผู้สนับสนุนจะได้รบั สทิ ธิประโยชน์ตอบแทนกลับไป เช่น ได้รับสินค้าหรือบริการจากโครงการเปน็ กลุม่ แรก เป็นต้น 2. Donation-based Crowdfunding การระดมทุนในรปู แบบการขอรับบริจาค เพื่อนำทุนไปใช้ ตามวัตถปุ ระสงค์โครงการ ผสู้ นบั สนุนทุนจะไม่ไดร้ บั ส่ิงใดเปน็ ผลตอบแทน 3. Equity-based Crowdfunding การระดมทุนด้วยการ “เข้าหุ้น” คือ ผู้สนับสนุนทุนจะได้ถือ ครองหนุ้ ของโครงการนน้ั ๆ ด้วยตามสดั ส่วน พร้อมโอกาสทีจ่ ะไดร้ ับผลประโยชนจ์ ากกจิ การในอนาคต 4. Lending-based Crowdfunding หรือ Peer-to-Peer Lending การระดมทุนผ่านการกู้ยืม เงินทุนจากผสู้ นับสนุน โดยกำหนดระยะเวลาในการชำระเงินคนื และจ่ายดอกเบยี้ ใหแ้ ก่ผ้สู นบั สนุน Crowdfunding ตลาดของการระดมทนุ ในรปู แบบใหม่ การประกอบธรุ กิจไมว่ ่าจะเป็นการคา้ หรอื การบรกิ าร เงินทนุ ถอื เป็นปัจจยั สำคัญท่ีสุดสำหรับการ พัฒนาธุรกิจของตนให้เติบโตมากขึ้น ซึ่งหากผู้ประกอบการมีเงินทุนที่จำกัด หรือมีเงินทุนที่ไม่เพียงพอ การมองหา แหล่งเงนิ ทนุ อน่ื เพ่ือที่จะมาสนับสนนุ จงึ เป็นส่ิงที่สำคัญและหลีกเล่ียงไม่ได้ แต่สำหรับผู้ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม ขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) การที่จะมองหาแหล่งเงินทุนจากสาธารณะนั้นอยู่ภายในขอบเขตที่จำกัด เนื่องจากธุรกิจประเภทดังกล่าวไม่มีประวัติการประกอบการ (track record) ถึงขนาดที่จะขอระดมทุนผ่านการ เสนอขายหุ้นต่อประชาชน (IPO) ได้ อีกทั้งวิธีการดังกล่าวต้องมีขั้นตอนและค่าใช้จ่ายที่เป็นภาระอย่างมากกับผู้ ประกอบกิจการ SME ดังนั้นเพื่อตอบสนองการเติบโตของอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่อม ตลาดของการ ระดมทนุ รปู แบบใหม่ Crowdfunding จึงถือกำเนิดขนึ้ Crowdfunding คือ การระดมเงินทุนสาธารณะทั้งจากประชาชนหรือองค์กรจำนวนมากโดยใช้อินเตอร์เน็ตเป็น ช่องทางในการระดมเงินทุน ซึ่งตอบสนองทั้งผู้ประกอบการที่ไม่มีเงินทุน และนักลงทุนที่มีเงินลงทุนน้อยสามารถ ลงทุนในรูปแบบ Crowdfunding ได้โดยผ่านช่องทางคือ website หรือ URL ต่าง ๆ (funding portal) ที่เริ่มมี มากขน้ึ เร่อื ย ๆ เชน่ www.kickstarter.com และ www.indiegogo.com เป็นต้น

รูปแบบวธิ ีการระดมทนุ แบบ Crowdfunding องค์การกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สากล หรือ International Organization of Securities Commissions (IOSCO) ไดจ้ ัดรูปแบบการรว่ มลงทุนแบบ Crowdfunding โดยแบ่งออกได้เปน็ ส่ีประเภทดังน้ี 1. Donation Crowdfunding ผู้ลงทุนลงทุนโดยไม่ได้คาดหวังสิ่งตอบแทน ซึ่งจะอยู่ในรูปการระดมทุนเพื่อ การกศุ ล เช่นการระดมทนุ เพ่อื บรณู ะโรงเรยี นหรือสวนสาธารณะ 2. Reward-based Crowdfunding การระดมประเภทนี้เหมาะสำหรับ ศิลปิน นักเขียน นักสร้างภาพยนต์ หรือนักสร้างเกมส์ ที่มีเงินทุนไม่เพียงพอที่จะสร้างสรรค์ผลงาน การระดมทุนประเภทนี้ซึ่งลงทุนจะได้รับ ผลตอบแทนเป็นผลติ ภณั ฑ์หรือบริการจากโครงการระดมทนุ 3. Loan-based Crowdfunding (peer-to-peer lending) เป็นรปู แบบการก้ยู ืมเงนิ โดยรูปแบบที่ใช้กันอยู่ ทั่วไปมี 2 แบบคือ รายได้แบบการมีส่วนร่วม (revenue participation) หมายถึงผู้ลงทุนได้รับส่วน แบ่งเป็นร้อยละของการขายเป็นระยะเวลาหนึ่งโดยไม่ได้รับเงินกู้คืน กับรายได้แบบดอกเบี้ย (revenue interest) หมายถึงผู้ลงทุนได้รับจะได้รับดอกเบี้ยระยะเวลาหนึ่งและเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กู้ยืมก็จะได้รับ เงินก้คู ืน การระดมประเภทนเ้ี หมาะสำหรับผ้ปู ระกอบธุรกจิ ทีต้องการขยายกิจการของตน 4. Equity-based Crowdfunding เป็นรูปแบบที่ใชก้ ันอยู่ทั่วไปสำหรบั กิจการทีเ่ พิ่งเริม่ ต้น (start-ups) โดย นักลงทนุ จะได้รบั ผลตอบแทนเป็นห้นุ ของบริษทั ทำไมประเทศไทยถงึ ตอ้ งสนใจ Crowd Funding? การประกอบธุรกิจโดยการระดมทุนแบบ Crowdfunding โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรูปแบบของ Loan-based Crowdfunding และ Equity-based Crowdfunding ซึ่งเป็นการระดมทุนที่ผู้ลงทุนได้ผลตอบแทนทางการเงิน (Financial Return Crowdfunding หรือ Investment-based Crowdfunding) ได้มีการเติบโตอย่างอย่าง รวดเร็วทวั่ โลก โดยเมอ่ื พจิ าณาจากข้อมลู Working Paper เรื่อง Crowd-funding: An Infant Industry Growing Fast ของ IOSCO พบว่า ภายในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมามีเงินทุนหมุนเวียนกวา่ 6.4 พันล้านดอลลาร์ และมีมูลค่า การตลาดกว่า 1 พันล้านดอลลาร์ทั้งในสหรัฐอเมริกา อังกฤษ รวมทั้งจีน และยังกำลังเกิดขึ้นในอีกหลายประเทศ รอบโลก เอกสารอ้างองิ : เว็บไซต์ https://ictlawcenter.etda.or.th/contents/detail/crowdfunding-investment-revolution-01 เวบ็ ไซต์ : https://www.krungsri.com/th/plearn-plearn/3-crowdfunding-tips