Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปย่อติวสอบนายหน้าประกันชีวิต

สรุปย่อติวสอบนายหน้าประกันชีวิต

Published by scbpt.learning, 2021-01-03 14:31:42

Description: สรุปย่อติวสอบนายหน้าประกันชีวิต

Search

Read the Text Version

ส่วนท่ี 1 จรรยาบรรณนายหน้าประกนั ชีวติ 1. มีความซื่อสัตย์ต่อผเู้ อาประกนั ภยั บริษทั และเพอ่ื นร่วมอาชีพ 2. ให้บริการที่ดีอยา่ งสม่าเสมอ และช้ีแจงให้ผเู้ อาประกนั ภยั ทราบถึงสิทธิและหนา้ ที่เพ่อื รักษา ผลประโยชน์ของผเู้ อาประกนั ภยั 3. รักษาความลบั อนั มิควรเปิ ดเผยของผเู้ อาประกนั ภยั และของบริษทั ต่อบุคคลภายนอก 4. เปิ ดเผยขอ้ ความจริงของผเู้ อาประกนั ภยั ในส่วนทเ่ี ป็นสาระสาคญั เพอ่ื การพิจารณารับประกนั หรือเพ่อื ความสมบูรณ์แห่งกรมธรรม์ 5. ไม่แนะผขู้ อเอาประกนั ภยั ทาประกนั ภยั เกินความสามารถในการชาระเบ้ียประกนั ภยั หรือ เสนอขายนอกเหนือเง่ือนไขแห่งกรมธรรม์ 6. ไม่ลดหรือเสนอท่ีจะลดคา่ บาเหน็จ เพ่อื เป็นแรงจงู ใจให้เอาประกนั ภยั 7. ไม่แนะนาใหผ้ เู้ อาประกนั ภยั สละกรมธรรมเ์ ดิมเพ่อื ทาสญั ญาใหม่ หากทาให้ผเู้ อาประกนั ภยั เสียประโยชน์ 8. ไม่กล่าวใหร้ ้ายทบั ถมนายหนา้ หรือบริษทั อ่ืน 9. หมน่ั ศึกษาหาความรู้ในวชิ าชีพเพิ่มเตมิ อยเู่ สมอ 10. ประพฤติตนอยใู่ นศีลธรรมประเพณีอนั ดีงาม ท้งั ธารงไวซ้ ่ึง เกียรตศิ กั ด์ิศรีและคุณ ธรรมแห่ง อาชีวปฏญิ าณ หลกั จรรยาบรรณ หลกั การจา เรียงตามลาดบั ขอ้ 1-10

หลกั การจา 1. ซื่อสตั ย์ 2. บริการ/หนา้ ท่ี 3. ความลบั 4. เปิ ดเผย 5. ไม่แนะ/เงื่อนไข 6. ไมล่ ด 7. ไมส่ ละ 8. ไมก่ ลา่ ว 9. ความรู้ 10. ศีลธรรม ส่วนที่ 2 หลกั การประกนั ชีวติ ความหมายของการประกนั ชีวติ วิธีการที่คนกลุ มีหน่ึงรวมตวั กนั เพือ่ ช่วยกนั เฉลี่ยภยั จากการเสียชีวิต สูญเสียอวยั วะและทุพพลภาพ ความแตกต่างระหว่างการประกนั ชีวติ กั บการประกันวนิ าศภยั การประกนั ชีวิต เป็นการจ่ายจานวนเงินเอาประกนั ชีวิตที่แน่นอน การประกนั วินาศภยั เป็นการจ่ายคา่ สินไหมทดแทนตามความเสียหายแทจ้ ริง แต่ไม่เกินจานวนเงินเอา ประกนั ภยั

ลกั ษณะพืน้ ฐานของการประกันชีวติ ซ่ึงสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด คือ 1. มีเงินปันผล 2. ไม่มีเงินปันผล 3 ประเภท 1. สามญั 2. อุตสาหกรรม 3. กลมุ่ 4 แบบ คือ 1. ชว่ั ระยะเวลา 2. ตลอดชีพ 3. สะสมทรัพย์ 4. เงินไดป้ ระจา (เงินไดบ้ านาญ) เงนิ ปันผล คือเงินส่วนเกินท่เี กิดจากการดาเนินงานของบริษทั ซ่ึงจะจ่ายใหก้ บั กรมธรรมท์ ี่มีตกลงกนั ไว้ ต้งั แต่ตน้ วา่ เป็นชนิดท่ีมีเงินปันผลระบุตามเงื่อนไขกรมธรรม์ การประกันชีวติ แบ่งเป็ น 3 ประเภท ดงั นี้ 1. ประเภทสามญั การประกนั รายเด่ียวหรือบคุ คล เงินเอาประกนั ภยั สูง ชาระเบ้ียประกนั รายปี อาจตรวจ สุขภาพหรือไม่ตรวจก็ไดข้ ้ึนอยกู่ บั อายแุ ละจานวนเงินเอาประกนั ระยะเวลาผอ่ นผนั 30 วนั 2. ประเภทอตุ สาหกรรม ผทู้ ี่มีรายไดน้ อ้ ย ชาระเบ้ียประกนั รายเดือน ไมต่ รวจสุขภาพ ระยะเวลาผอ่ นผนั 60 วนั และมีระยะเวลารอคอย 180 วนั และไมม่ ีมูลค่าขยายเวลา (เสียชีวิตจากการเจบ็ ป่ วย บริษทั จะคืนเบ้ีย เทา่ น้นั แตถ่ า้ เสียชีวิตจากอุบตั ิเหตุ ก็จะไดร้ ับความคุม้ ครองทนั ที) 3. ประเภทกล่มุ การทาประกนั ต้งั แต่ 5 - 10 คนข้ึนไป ภายใตก้ รมธรรมฉ์ บบั เด่ียว ไม่ตรวจสุขภาพ และ บริษทั จะออกใบสาคญั ในการประกนั ชีวิตใหส้ มาชิกทกุ คน (นายจา้ งผถู้ ือกรมธรรมม์ ีหนา้ ที่เรียกร้อง ผลประโยชน์) เรื่องการชาระเบ้ยี 1. นายจา้ งเป็นคนชาระเบ้ีย ลกู จา้ งทาประกนั 100% ของผมู้ ีสิทธ์ิ 2. นายจา้ งกบั ลกู จา้ งร่วมกนั ชาระเบ้ีย ลกู จา้ งทาประกนั ไมต่ ่ากวา่ 75% ของผมู้ ีสิทธ์ิ การสิ้นผลบังคบั ของสมาชิก  การว่าจา้ งพนกั งานส้ินสุด  พนกั งาน หรือนายจา้ งขาดการชาระเบ้ียประกนั  กรมธรรมก์ ลมุ่ หมดผลบงั คบั  พนกั งานสูญเสียคณุ สมบตั ิในการเอาประกนั

การประกนั ชีวติ แบ่งเป็ น 4 แบบพืน้ ฐาน 1. แบบชว่ั ระยะเวลา เบ้ียต่า ทนุ ประกนั สูง เนน้ เสียชีวิตในเวลาท่ีกาหนดตามสญั ญา ถา้ อยคู่ รบสญั ญาจะ ไมไ่ ดอ้ ะไรเลยมลู คา่ กรมธรรมไ์ มม่ ีหรือนอ้ ยมาก 2. แบบตลอดชีพ ความคุม้ ครองจนถึงอายุ 99ปี เบ้ียตา่ เวนคืนกรมธรรมไ์ ด้ แปลงเป็นใชเ้ งินสาเร็จ แปลง แบบขยายเวลา กูเ้ งิน โดยวิธีการชาระเบ้ียของแบบตลอดชีพ มีดว้ ยกนั 3 วิธี คือ 2.1 จ่ายเบ้ียคร้งั เดียว 2.2 จ่ายเบ้ียทีก่ าหนดเวลาแน่นอน เช่น จ่ายเบ้ียประกนั 15ปี ฯ 2.3 จ่ายเบ้ียตลอดชีพ 3. แบบสะสมทรัพย์ เนน้ การออมทรัพย์ เมื่ออยคู่ รบสญั ญาหรือเสียชีวิตระหวา่ งสญั ญากไ็ ดร้ ับเงินตามทนุ ประกนั เบ้ียสูงเวนคืนกรมธรรมไ์ ด้ แปลงเป็นใชเ้ งินสาเร็จ แปลงแบบขยายเวลา กูเ้ งิน 4. แบบเงินไดป้ ระจา (บานาญ) เหมาะสาหรับบุคคลท่ีตอ้ งการเงินไวใ้ ชจ้ ่ายในยามชรา โดยรับเงินประจา งวดสม่าเสมอ เชน่ มีเงินไปเที่ยวตา่ งประเทศ หรือมีเงินเป็นคา่ ใชจ้ ่ายส่วนตวั 5. กรมธรรมป์ ระกนั ชีวิตแบบยนู ิเวอร์แซลไลฟ์ เป็นกรมธรรมป์ ระกนั ชีวิตท่ีแยกเบ้ียส่วนของเงินออมไป ลงทุน และจะมีการจ่ายผลตอบแทน ที่ไดจ้ ากการลงทนุ ใหก้ บั ผเู้ อาประกนั ภยั 6. กรมธรรมป์ ระกนั ชีวิตแบบยนู ิต ลิงค์ ไลฟ์ อินชวั รันส์ เป็นกรมธรรมป์ ระกนั ชีวิตที่แยกเบ้ยี ส่วนของเงิน ออมไปลงทุนในหน่วยลงทุน ผเู้ อาประกนั ภยั เป็นผเู้ ลือกตามความเส่ียงที่สามารถรับได้ คุณลกั ษณะของประกนั ชีวติ ตวั อย่าง นายสมชาย ทาประกนั ชีวิตประเภทสามญั แบบสะสมทรัพย์ 15/8 เงินเอาประกนั ภยั 200,000 บาท คาว่า 15/8 หมายถึง เวลาเอาประกนั ภยั (คุม้ ครอง) 15 ปี และเวลาการจ่ายเบ้ียประกนั ภยั 8 ปี สัญญาเพม่ิ เตมิ เป็ นสัญญาปี ต่อปี - การประกนั อุบตั ิเหตุ ความคุม้ ครองการเสียชีวิต สูญเสียอวยั วะ หรือทุพพลภาพ จากอุบตั ิเหตุ

- การประกนั สุขภาพ ผลประโยชน์ค่ารักษาพยาบาลจากการบาดเจบ็ หรือเจ็บป่ วย จนเขา้ รักษาตวั ใน โรงพยาบาลฐานะผปู้ ่ วยใน และมีระยะเวลารอคอย 30วนั มี ดงั น้ี 1. ค่ารักษาพยาบาลและศลั ยกรรมในโรงพยาบาล คมุ้ ครองตามผลประโยชนโ์ ดยจ่ายตามจริงแต่ไมเ่ กิน ตาราง ข้อควรจาค่ารักษาพยาบาลและศลั ยกรรม ผเู้ อาประกนั ภยั รักษาตวั ในโรงพยาบาลในฐานะคนไขใ้ น ดว้ ย โรคเดีย่ วกนั 2 คร้ังหรือมากกว่า ไม่เกิน 90 วนั นบั วนั ออกจากโรงพยาบาลคร้ังสุดทา้ ย ถือว่าเขา้ รักษาตวั ใน คราวเด่ียวกนั 2. คา่ ชดเชยรายวนั จ่ายตามจานวนวนั ท่ีเขา้ รักษาตวั ในโรงพยาบาล ตวั อย่างนาย ก. ซ้ือสญั ญาเพิ่มเติมค่ารักษาพยาบาลและศลั ยกรรมแนบกบั สญั ญาประกนั ชีวิต โดยซ้ือ ผลประโยชนค์ า่ ห้องและค่าอาหาร 1,000 บาทตอ่ วนั (สูงสุดไมเ่ กิน 45 วนั ) และเงินชดเชยรายวนั 1,000 บาทตอ่ วนั (สูงสุด 365วนั ) ตอ่ มา นาย ก. เจบ็ ป่ วยตอ้ งเขา้ รกั ษาตวั ในโรงพยาบาลในฐานะคนไขใ้ นดว้ ย โรคไขขอ้ อกั เสบเป็นระยะเวลา 3 วนั หลงั จากน้นั อีก 1 เดือน นาย ก.เขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาลดว้ ย โรคเดิม และอยอู่ ีก 5 วนั คาตอบ บริษทั จ่ายเงินค่าหอ้ งและคา่ อาหารให้แก่ นาย ก. รวมเป็นเงิน 8,000 บาท และเงินชดเชย 8,000 บาท ตวั อย่างนาย ก. ซ้ือสญั ญาเพิ่มเติมค่ารักษาพยาบาลและศลั ยกรรมแนบกบั สญั ญาประกนั ชีวิต โดยซ้ือ ผลประโยชนค์ ่าห้องและค่าอาหาร1,000 บาทต่อวนั (สูงสุดไมเ่ กิน 45 วนั ) และเงินชดเชยรายวนั 1,000 บาทตอ่ วนั (สูงสุด 365วนั ) ตอ่ มา นาย ก. เจ็บป่ วยตอ้ งเขา้ รักษาตวั ในโรงพยาบาลในฐานะคนไขใ้ นดว้ ยโรค ไขขอ้ อกั เสบเป็นระยะเวลา 35 วนั หลงั จากน้นั อีก 1 เดือน นาย ก.เขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาลดว้ ยโรค เดิมและอยอู่ ีก 20 วนั คาตอบ บริษทั จะจ่ายเงินคา่ หอ้ งและค่าอาหารให้แก่ นาย ก. รวมเป็นเงิน 45,000 บาท และเงินชดเชย 55,000 บาท

ตวั อย่างนาย ก. ซ้ือสญั ญาเพ่ิมเติมคา่ รักษาพยาบาลและศลั ยกรรมแนบกบั สญั ญาประกนั ชีวิต โดยซ้ือ ผลประโยชนค์ ่าห้องและคา่ อาหาร1,000 บาทตอ่ วนั (สูงสุดไมเ่ กิน 45 วนั ) ตอ่ มา นาย ก. เจ็บป่ วยตอ้ งเขา้ รักษาตวั ในโรงพยาบาลในฐานะคนไขใ้ นดว้ ยโรคไขขอ้ อกั เสบเป็นระยะเวลา 35 วนั หลงั จากน้นั อีก 4 เดือน นาย ก.เขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาลดว้ ยโรคเดิม และอยอู่ ีก 20 วนั คาตอบ บริษทั จะจ่ายเงินคา่ ห้องและคา่ อาหารใหแ้ ก่ นาย ก. รวมเป็นเงิน 55,000 บาท และเงินชดเชย 55,000 บาท ตวั อย่างนาย ก. ซ้ือสญั ญาเพ่ิมเติมค่ารักษาพยาบาลและศลั ยกรรมแนบกบั สญั ญาประกนั ชีวิต โดยซ้ือ ผลประโยชน์ค่าหอ้ งและคา่ อาหาร1,000 บาทต่อวนั (สูงสุดไมเ่ กิน 45 วนั ) และเงินชดเชยรายวนั 1,000 บาทต่อวนั (สูงสุด 365วนั ) ต่อมา นาย ก. เจบ็ ป่ วยตอ้ งเขา้ รักษาตวั ในโรงพยาบาลในฐานะคนไขใ้ นดว้ ยโรค ไขขอ้ อกั เสบเป็นระยะเวลา 30 วนั หลงั จากน้นั อีก 1 เดือน นาย ก.เขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาลดว้ ยโรค ปอดและอยอู่ ีก 20 วนั คาตอบ บริษทั จะจ่ายเงินค่าหอ้ งและคา่ อาหารใหแ้ ก่ นาย ก. รวมเป็นเงิน 50,000 บาท และเงินชดเชย 50,000 บาท - ยกเวน้ เบ้ียประกนั ภยั ของผเู้ อาประกนั ภยั ผเู้ อาประกนั เกิดเหตุทพุ พลภาพถาวรสิ้นเชิงทกุ กรณีจะไดร้ ับ สิทธิไมต่ อ้ งชาระเบ้ียปี ต่อไปและผลประโยชนไ์ ดต้ ามสญั ญา - ยกเวน้ เบ้ียประกนั ของผชู้ าระเบ้ีย หากผชู้ าระเบ้ียเกิดเสียชีวิตหรือทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวรจะไดส้ ิทธิไม่ ตอ้ งชาระเบ้ียปี ตอ่ ไปและผลประโยชน์ไดต้ ามสญั ญา - เพิ่มเติมแบบชวั่ ระยะเวลา คุม้ ครองเสียชีวิตทกุ กรณีตามสญั ญา บริษทั จึงจ่ายทนุ ประกนั ภยั ตวั อย่างนายสมชาย ทาประกนั ชีวิตประเภทสามญั แบบสะสมทรัพย์ 15/8 ทนุ ประกนั ภยั 200,000 บาทและ สญั ญาเพ่ิมเติมอบุ ตั ิเหตุอีก100,000 บาทและสญั ญาเพิ่มเติมแบบชว่ั ระยะเวลา 10ปี อีก 100,000 บาท ถา้ นาย สมชายเกิดป่ วยเป็นโรคหวั ใจ ระหวา่ งเดินทางไปโรงพยาบาล เกิดเสียชีวิตจากรถคว่า คาตอบ บริษทั จะจ่ายเงินเอาประกนั ภยั 400,000 บาท

ตวั อย่างนายสมชาย ทาประกนั ชีวิตประเภทสามญั แบบสะสมทรัพย์ 15/8 เงินเอาประกนั ภยั 200,000 บาท และเงินเอาประกนั ภยั อบุ ตั ิเหตุเพ่ิมเติม อีก 100,000 บาท และเงินเอาประกนั ภยั ชวั่ ระยะเวลา 10ปี เพ่ิมเตมิ อีก 100,000 บาท จนกระทงั่ สญั ญาครบ 15 ปี คาตอบ บริษทั จะจ่ายเงินเอาประกนั ภยั 200,000 บาท หลกั เกณฑ์การพจิ ารณารับประกนั ชีวติ 1. นายหนา้ ประกนั ชีวิต เป็นผพู้ ิจารณาคนแรก เพราะจะเป็นผทู้ ่ีทราบขอ้ มลู เบ้อื งตน้ ไดด้ ีที่สุด อาจจะตอ้ งมี การตรวจสุขภาพในการทาประกนั โดยพจิ ารณาจากอายแุ ละเงินเอาประกนั ภยั เป็นหลกั 2. บริษทั พิจารณารับประกนั โดยคดั เลือกภยั ของผขู้ อเอาประกนั ภยั แบง่ ความเสี่งภยั ออกเป็น 3 กลุม่ 2.1. เส่ียงภยั มาตรฐาน ลูกคา้ มีสุขภาพดี อาชีพไม่เสี่ยง บริษทั รับประกนั คิดเบ้ียประกนั ปกติ 2.2. เส่ียงภยั ต่ากวา่ มาตรฐาน ลกู คา้ มีสุขภาพดี อาชีพเสี่ยง บริษทั รับประกนั และคิดเบ้ียประกนั เพิ่มหรือไม่ รับประกนั บางเรื่อง 2.3. เส่ียงภยั ท่ีไมส่ ามารถรับประกนั ได้ ลกู คา้ มีอาชีพหรือสุขภาพเสี่ยงที่สุด บริษทั ี่ไมร่ ับประกนั และคืน เบ้ียประกนั อตั ราเบยี้ ประกันภยั มีองค์ประกอบท่ใี ช้ในการกาหนด ได้แก่ 1. อตั รามรณะ สถิติผเู้ อาประกนั ที่เสียชีวิตและมีชีวิตอยู่ ใน 5ปี ที่ผา่ นมาโดยแยกตามอายขุ องผเู้ อาประกนั 2. อตั ราดอกเบยี้ หรืออตั ราผลตอบแทน โดยจะคาดคะเนดอกเบ้ียในอนาคตท่ีบริษทั จะนาเงินไปลงทุน 3. อตั ราค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน รวมถึงคา่ ใชจ้ ่ายในการรับประกนั ชีวิต เงนิ สารองประกันภยั คือหน้ีสินหรือเงินที่บริษทั จดั สรรไวต้ ามความผกู้ พนั ของกรมธรรมเ์ พื่อสารองไวจ้ ่าย ผลประโยชนต์ ามเงื่อนไขของกรมธรรม์ มูลค่ากรมธรรม์ ส่วนใหญจ่ ะเกิดข้ึนเม่ือผเู้ อาประกนั ชาระเบ้ียมาแลว้ 2 -3 ปี ข้ึนไป 1. มูลค่าเวนคืนกรมธรรม์

1.1 เวนคืนเงินสด หยดุ ชาระเบ้ียและเลิกสญั ญา ผเู้ อาประกนั กจ็ ะไดร้ ับเงิน และคืนกรมธรรมใ์ ห้บริษทั 1.2 การกเู้ งินในกรมธรรม์ ข้อควรจา 1. ขอกเู้ งินไดไ้ ม่เกินมลู คา่ กรมธรรม์ 2. ดอกเบ้ีย คิดจากอตั ราดอกเบ้ียหนา้ กรมธรรม์ บวกส่วนเพ่ิม 3. หากเสียชีวิต บริษทั จ่ายทุนประกนั หกั หน้ีท่ีคา้ งชาระท้งั หมด >> กเู้ งิน เม่ือกรมธรรมม์ ีมลู คา่ เวนคืนเงินสด โดยกูเ้ งินไดไ้ ม่เกินจานวนเงินค่าเวนคืนกรมธรรมข์ ณะน้นั >> กเู้ งินจ่ายเบ้ียอตั โนมตั ิ เม่ือเลยช่วงระยะเวลาผอ่ นผนั 30/31 วนั แลว้ ผเู้ อาประกนั ไม่ไดช้ าระเบ้ียทาง บริษทั จะทาการกเู้ พอ่ื ชาระเบ้ียอตั โนมตั ิให้ก่อน เพ่ือคุม้ ครองตามสญั ญา ** ระยะเวลาผอ่ นผนั 30วนั นบั ถดั จากวนั ครบกาหนดชาระเบ้ีย / ระยะเวลาผอ่ นผนั 31วนั นบั จากวนั ครบ กาหนดชาระเบ้ีย 2. มูลค่าใช้เงนิ สาเร็จ หยดุ ชาระเบ้ีย เวลาความคุม้ ครองเท่าเดิม ทนุ ประกนั จะลดลงเท่ากบั มูลค่าใชเ้ งินสาเร็จ ผลกค็ ืออยคู่ รบกาหนดสญั ญาหรือเสียชีวิตไปก่อนกจ็ ะไดเ้ งินตามมลู คา่ ใชเ้ งินสาเร็จ 3. มูลค่าขยายเวลา หยดุ ชาระเบ้ียประกนั ทนุ ประกนั เทา่ เดิม เวลาความคุม้ ครองเปลี่ยนไป ผลกค็ ือหาก เสียชีวิตในระยะเวลาท่ีขยายไปน้นั บริษทั จะจ่ายทุนประกนั ให้กบั ผรู้ ับประโยชน์ แต่ถา้ หากผเู้ อาประกนั อยู่ ครบสญั ญาที่ขยายไปแลว้ อาจจะไม่ไดร้ ับอะไรเลย หรือมีเงินเหลอื ตามตารางแบบขยายเวลาเบ้ียประกนั เวลาคุม้ ครองชีวิต ทนุ ประกนั เวนคืนเงนิ สด หยุดจ่ายและรับเงนิ สัญญาสิ้นสุด แปลงแบบใช้เงนิ สาเร็จ หยุดจ่าย ระยะเวลาคุ้มครองเท่าเดิม ทุนประกนั ลดลง แปลงแบบขยายเวลา หยุดจ่าย ทุนประกนั เท่าเดิม ความคุ้มครองลดลง

ตวั อย่างเวนคืน นาย ก. ทาประกนั ชีวิตเม่ือวนั ที่ 1 มกราคม 2534แบบสะสมทรัพย์ 18/18 มีเง่ือนไขจ่ายเงิน คืนลว่ งหนา้ ทกุ 3 ปี เป็นจานวน 10 %ของจานวนเงินเอาประกนั ภยั จานวนเงินเอาประกนั ภยั 100,000 บาท นาย ก. ชาระเบ้ียประกนั ภยั รายปี มาโดยสม่าเสมอ ถา้ นาย ก.มาขอเวนคืน กรมธรรม์ เมื่อวนั ท่ี 1 มกราคม 2541 นาย ก. จะไดร้ ับเงินเท่าไร อตั รามูลค่าเวนคืนเงินสด ณ สิ้นปี กรมธรรมท์ ี่ 7 = 81 บาท / จานวนเงินเอาประกนั ภยั 1,000 บาท อตั รามูลค่าเวนคืนเงินสด ณ สิ้นปี กรมธรรมท์ ่ี 8 = 130 บาท / จานวนเงินเอาประกนั ภยั 1,000 บาท อตั รามลู คา่ เวนคืนเงินสด ณ ส้ินปี กรมธรรมท์ ี่ 9 = 181 บาท / จานวนเงินเอาประกนั ภยั 1,000 บาท ตอบ เวลาจ่ายเบ้ยี มา 8 ปี (จ่าย 1-1-2534 ถึง 1-1-2541) ดงั น้นั อตั รามูลคา่ เวนคืนเงินสด ณ สิ้นปี ที่ 8 เทา่ กบั 130 บาทตอ่ ทนุ ประกนั 100,000 บาท ดงั น้นั นาย ก. ไดร้ ับเงิน เท่ากบั 130 X 100,000 / 1,000 เท่ากบั 13,000 บาท ตวั อย่างเวนคืน นาย ก. ทาประกนั ชีวิตประเภทสามญั แบบสะสมทรัพย์ 21/21 จานวนเงินเอาประกนั ภยั 100,000 บาท จานวนเงินเอาประกนั ภยั อบุ ตั ิเหตุ 100,000 บาท มลู คา่ เวนคืนเงินสด ณ ส้ินปี กรมธรรมท์ ่ี 3 เทา่ กบั 150 บาท ต่อจานวนเงินเอาประกนั ภยั 1,000 บาท มลู คา่ เวนคืนเงินสด ณสิ้นปี กรมธรรมท์ ่ี 4 เทา่ กบั 225 บาท ตอ่ จานวนเงินเอาประกนั ภยั 1,000 บาท นาย ก. เวนคืนกรมธรรมใ์ นปี ท่ี 3 กบั อีก 6 เดือน อยากทราบวา่ ถา้ นาย ก. ตอ้ งการเวนคืนกรมธรรมเ์ พ่ือขอรับเป็นเงินสด นาย ก. จะไดร้ ับจานวน เงินเทา่ ใด ตอบ เวลาจ่ายเบ้ียมาแลว้ 3 ปี (โจทยถ์ าม เวนคืนปี ที่ 3 กบั 6 เดือน) ดงั น้นั อตั รามูลคา่ เวนคืนเงินสด ณ ส้ินปี ท่ี 3 เท่ากบั 150 ตวั อย่าง เวนคืน นาย ก. ทาประกนั ชีวิตประเภทอตุ สาหกรรม 15/15 จานวนเงินเอาประกนั ภยั 50,000 บาท เร่ิมทาประกนั ชีวิต เม่ือวนั ที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2540 ตอ่ มาวนั ท่ี 2 กุมภาพนั ธ์ 2541 นาย ก. ขอยกเลิกกรมธรรม์ เพ่ือรับเงินสดไดห้ รือไม่ ตอบ ไม่ไดเ้ พราะกรมธรรมข์ อง นาย ก. ยงั ไมม่ ีมูลค่าเวนคืนเงินสด

ตารางมูลค่ากรมธรรมป์ ระกนั ภยั แบบสะสมทรัพย์ 25/15 อายุ 30 ปี ตอ่ จานวนเงินเอาประกนั ภยั 1,000 บาท สิ้นปี กรมธรรมท์ ี่มูลค่าเวนคืนเงินสด มูลคา่ ใชเ้ งิน สาเร็จ การขยายเวลา ปี วนั เงินเหลือ นางสาว ก. อายุ 30 ปี ทาประกนั ชีวิตประเภทสามญั แบบสะสมทรัพย์ 25/15 จานวนเงินเอาประกนั ภยั 100,000 บาท จานวนเงินเอาประกนั ภยั อบุ ตั เิ หตุ 100,000 บาท กรมธรรมเ์ ร่ิมมีผลบงั คบั วนั ท่ี 4 เมษายน 2536 ตวั อย่าง แบบขยายเวลา ถา้ นางสาว ก. ชาระเบ้ียประกนั ภยั คร้ังสุดทา้ ยเม่ือวนั ที่ 4 เมษายน 2537 และมาขอ เปล่ียนแปลงกรมธรรมเ์ ป็นการประกนั ภยั แบบขยายเวลา นางสาว ก. จะไดร้ ับความคุม้ ครอง เมื่อวนั ที่ 4 เมษายน 2538 ดงั น้ี ตอบ นส. ก. ชาระเบ้ียประกนั มาแลว้ 2 ปี (4-4-2536 ถึง 4-4-2537) ดงั น้นั สิ้นปี ท่ี 2 จากตารางมลู ค่า กรมธรรม์ ในส่วน การขยายเวลา จะมีระยะเวลาเอาประกนั ชีวิต เทา่ กบั 6ปี 327วนั ดงั น้นั นส. ก. เสียชีวิตใน 6 ปี 327 วนั ไดร้ ับเงิน 100,000 บาท และถา้ มีชีวิตอยคู่ รบ 6ปี 327 วนั ไม่มีเงินคืน ให้ ตวั อย่างมูลค่าใช้เงนิ สาเร็จ ถา้ นางสาว ก. ชาระเบ้ียประกนั ภยั คร้ังสุดทา้ ยเม่ือวนั ที่ 4 เมษายน 2537 และมา ขอเปลี่ยนแปลงกรมธรรมเ์ ป็นกรมธรรมใ์ ชเ้ งินสาเร็จ นางสาว ก. จะไดร้ ับความคุม้ ครอง เมื่อวนั ที่ 4 พฤษภาคม 2538 ดงั น้ี ตอบนส. ก. ชาระเบ้ียประกนั มาแลว้ 2 ปี (4-4-2536 ถึง 4-4-2537) จากตารางมลู คา่ กรมธรรม์ ในส่วน มลู ค่าใชเ้ งินสาเร็จ ส้ินปี ท่ี 2 เท่ากบั 61บาทต่อทุนประกนั 100,000 บาท นส. ก. ไดร้ ับเงินเทา่ กบั 61 X

100,000/1,000 เทา่ กบั 6,100 บาทดงั น้นั นส. ก. ไดร้ ับความคมุ้ ครองในกรณีมรณกรรม และมีชีวิตอยรู่ อด จนครบกาหนดสญั ญาจะไดร้ ับเงิน 6,100 บาท ตวั อย่างมูลค่าใช้เงนิ สาเร็จ ถา้ นางสาว ก. ชาระเบ้ียประกนั ภยั คร้ังสุดทา้ ยเมื่อวนั ท่ี 4 เมษายน 2539 และมา ขอเปลี่ยนแปลงกรมธรรมเ์ ป็นกรมธรรมใ์ ชเ้ งินสาเร็จ เมื่อวนั ที่ 4 เมษายน 2540 ต่อมาอีก 4 เดือน นางสาว ก. ประสบอบุ ตั เิ หตุเสียชีวิต บริษทั จะจ่ายเงินใหผ้ รู้ ับประโยชน์ จานวนเทา่ ใด ตอบนส. ก. ชาระเบ้ียประกนั มาแลว้ 4 ปี (4-4-2536 ถึง 4-4-2539) จากตารางมูลค่ากรมธรรม์ ในส่วน มูลคา่ ใชเ้ งินสาเร็จ สิ้นปี ที่ 4 เทา่ กบั 288บาทต่อทุนประกนั 100,000 บาท นส. ก. ไดร้ ับเงินเทา่ กบั 288 X 100,000/1,000 เท่ากบั 28,800 บาทดงั น้นั นส. ก. ไดร้ ับความคมุ้ ครองในกรณีมรณกรรม และมีชีวิตอยรู่ อด จนครบกาหนดสญั ญาจะไดร้ ับเงิน 28,800 บาท ตวั อย่างแบบขยายเวลา ถา้ นางสาว ก. ชาระเบ้ียประกนั ภยั คร้ังสุดทา้ ยเมื่อวนั ที่ 4 เมษายน 2539 และมาขอ เปลี่ยนแปลงกรมธรรมเ์ ป็นการประกนั ภยั แบบระยะเวลา เมื่อวนั ที่ 4เมษายน 2540 นางสาว ก. จะไดร้ ับ ความคมุ้ ครองดงั น้ี ตอบนส. ก. ชาระเบ้ียประกนั มาแลว้ 4 ปี (4-4-2536 ถึง 4-4-2539) ดงั น้นั ส้ินปี ที่ 4 จากตารางมูลคา่ กรมธรรม์ ในส่วน การขยายเวลา จะมีระยะเวลาเอาประกนั ชีวิต เท่ากบั 21ปี เงินคงเหลือ 166 บาทตอ่ ทนุ ประกนั 100,000 บาทดงั น้นั ถา้ เสียชีวิตภายใน 21 ปี ไดร้ ับเงิน 100,000 บาท สญั ญาเพิ่มเติมอุบตั ิเหตไุ มม่ ี และมีเงินคงเหลอื =166X100,000/1,000 = 16,600 บาท เงื่อนไขมาตรฐานของกรมธรรม์ประกนั ภยั >> ระยะเวลารอคอย ระยะเวลาท่ีผเู้ อาประกนั ท่ีไม่สามารถใชส้ ิทธิตามเงื่อนไขของสญั ญา จนกวา่ จะพน้ 30 วนั >> ระยะเวลาผอ่ นผนั การชาระเบ้ีย หากถึงครบกาหนดชาระเบ้ียแต่ไม่ไดช้ าระ กย็ งั มีระยะเวลาผอ่ นผนั ชาระเบ้ียได้ และกรณีพน้ ระยะเวลาผอ่ นผนั แลว้ ยงั ไมไ่ ดช้ าระเบ้ียกรมธรรมจ์ ะขาดอายุ ถา้ กรมธรรมย์ งั ไมม่ ี มลู ค่าเกิดข้ึน

ประเภทสามัญจะให้ 30 หรือ 31 วนั หากผเู้ อาประกนั เสียชีวิต บริษทั จ่ายตามสญั ญาประกนั ภยั ประเภท อุตสาหกรรมจะผ่อนผนั ให้ 60 วนั หากผเู้ อาประกนั เสียชีวิตจากอุบตั ิเหตบุ ริษทั จ่ายเตม็ ทุนประกนั หาก เสียชีวิตจากเจบ็ ป่ วย บริษทั คืนเบ้ียประกนั >> กรมธรรม์ขาดอายุ สญั ญาที่สิ้นผลบงั คบั >> การต่ออายุกรมธรรม์ มีเงื่อนไขว่า ตอ้ งตอ่ อายภุ ายใน 5 ปี (5ปี 30วนั ) นบั แตว่ นั ที่ขาดอายุ ผเู้ อาประกนั ตอ้ ง 1. ตอบแบบสอบถามสุขภาพ และจะตอ้ งเสียคา่ ใชจ้ ่ายเองหากมีการตรวจ 2. จ่ายเงินเบ้ียประกนั จะมี 2 แบบ คือแบบธรรมดา (ยอ้ นหลงั ) และแบบพิเศษ (วนั เร่ิมสญั ญาใหม)่ 2.1 แบบธรรมดา คิดจากเบ้ียประกนั ท่ีคา้ งชาระท้งั หมดรวมดอกเบ้ยี (ดอกเบ้ียหนา้ กรมธรรมบ์ วกส่วนเพิม่ ) 2.2 ต่อแบบพิเศษ โดยคิดจากเบ้ียประกนั ตามอายปุ ัจจุบนั ล่าสุดที่ขอตอ่ อายกุ รมธรรม์ >> การแก้ไขกรมธรรม์ ผเู้ อาประกนั ตอ้ งการเปล่ียนแปลงแกไ้ ขไดต้ ลอดและกรมธรรมจ์ ะสมบรู ณ์เม่ือไดม้ ี การออกบนั ทึกสลกั หลงั เชน่ ชื่อสกุล อาชีพ ที่อยู่ และอื่น ๆ >> การเปล่ียนแบบประกนั ผเู้ อาประกนั ทาไดโ้ ดยไดร้ ับความยน่ ยอ่ มจากบริษทั และตามหลกั เกณฑเ์ ง่ือนไข ที่กาหนดไวแ้ ละออกบนั ทึกสลกั หลงั >> การโอนประโยชน์แห่งสัญญาให้แก่บุคคลอ่ืนทไี่ ม่ใชผ้รู ับประโยชน์ได้ เช่น หุน้ ส่วน มี 2 เง่ือนไข 1. จะมอบสิทธิใหผ้ อู้ ื่น ผเู้ อาประกนั ตอ้ งทาเป็นหนงั สือแจง้ บริษทั ทราบ 2. ตอ้ งไดร้ ับความเห็นชอบจากบริษทั ก่อน และบริษทั จึงทาบนั ทึกสลกั หลงั >> การแจ้งการตายพสิ ูจน์ศพ เป็นสิทธิของตวั แทน ผรู้ ับประโยชน์ หรือทายาทโดยชอบธรรม แตห่ นา้ ท่ี เป็นของผรู้ ับประโยชน์ท่ีตอ้ งแจง้ ให้บริษทั ทราบภายใน 14 วนั นบั แต่ผเู้ อาประกนั เสียชีวิต หรือ 7 วนั เม่ือ เพิ่งทราบภายหลงั วา่ มีการตายเกิดข้ึนหรือมีการทาประกนั ไว้ มาตรการทางภาษีเพื่อส่ งเสริมการประกันชีวติ 1. กรมธรรมท์ ่ีคมุ้ ครองตอ้ ง 10 ปี ข้ึนไป

2. ตอ้ งเอาประกนั ชีวิตกั บบริษทั ท่ีประกอบธุรกิจในประเทศไทย 3. ผเู้ อาประกนั : ลดหยอ่ นเตม็ จานวนตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท 4. คู่สมรสของผเู้ อาประกนั ไม่มีรายได้ : ลดหยอ่ นไดต้ ามจานวนท่ีจ่ายจริงแต่ไมเ่ กิน 10,000 บาท 5. สญั ญาเพิ่มเติมแบบชวั่ ระยะเวลาที่มีระยะเวลาเอาประกนั ภยั 10 ปี ข้ึนไป ส่วนท่ี 3 กฎหมายที่เกยี่ วข้องกบั นายหน้าประกนั ชีวติ 1) วิชาประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชยว์ า่ ดว้ ยการประกนั ภยั การประกนั ชีวิต 1. ลักษณะของสัญญาประกนั ภยั เป็ นสัญญาเอกเทศ มลี ักษณะพเิ ศษ 5 ข้อ ดังนี้ 1.1 สญั ญาประกนั ภยั เป็นสัญญาต่างตอบแทน ผเู้ อาประกนั ภยั คือการส่งเบ้ียประกนั ภยั ผรู้ ับประกนั ภยั คือจ่ายคา่ สินไหมทดแทน หรือตอ้ งชดใชเ้ งินตามจานวนในสญั ญาประกนั ภยั 1.2 สญั ญาเสี่ยงโชค ผเู้ อาประกนั ภยั ชาระเบ้ยี ประกนั ภยั เพียงงวดเดี่ยวหรือสองงวดกถ็ ึงแก่ความตายผรู้ ับประกนั ภยั ก็ตอ้ งชดใช้ เงินตามสญั ญา 1.3 สญั ญาท่ีตอ้ งการความซ่ือสัตย์อยา่ งยงิ่ ขณะที่สญั ญาประกนั ภยั ขอ้ เทจ็ จริงทเ่ี กี่ยวกบั การเสี่ยงภยั ซ่ึงมีผลตอ่ การพิจารณารับประกนั ภยั หากผเู้ อา ประกนั ภยั ไม่เปิ ดเผยขอ้ ความจริง ผรู้ ับประกนั ภยั กไ็ มม่ ีโอกาสไดล้ ว่ งรู้ เชน่ สุขภาพ รายได้ 1.4 สญั ญาท่ีตอ้ งมีหลักฐานเป็ นหนังสือ การฟ้องร้องบงั คบั คดีตามสญั ญาประกนั ภยั จะกระทาไดเ้ มื่อผฟู้ ้องร้องมีหลกั ฐานเป็นหนงั สือลงลายมือช่ือ ฝ่ ายที่ตอ้ งรับผิด หรือลายมือช่ือตวั แทนของฝ่ ายน้นั เป็นสาคญั

1.5 สญั ญาที่ภาครัฐควบคุม ผรู้ ับประกนั ภยั ส่งมอบกรมธรรมท์ ี่มีเน้ือความถูกตอ้ งตามสญั ญาให้แก่ผเู้ อาประกนั ภยั โดยกรมธรรมน์ ้นั จะตอ้ งมีลายมือช่ือของผรู้ ับประกนั ภยั และตอ้ งมีรายการตามที่กฎหมายกาหนด กรมธรรมท์ ่ีบริษทั ออก ใหแ้ ก่ผเู้ อาประกนั ภยั ตอ้ งเป็นไปตามแบบ และขอ้ ความที่นายทะเบียน (เลขาธิการสานกั งานคณะกรรมการกากบั และส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกนั ภยั หรือคปภ.) ไดใ้ ห้ความเห็นชอบ รวมถึงเอกสารประกอบหุ รี่อแนบทา้ ยกรมธรรมด์ ว้ ย 2. ประเภทของสัญญาประกันภยั ในประเทศไทย แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. สัญญาประกันวนิ าศภยั หมายถึง สญั ญาผรู้ ับประกนั ภยั ตกลงจะชดใชค้ า่ สินไหมทดแทนตามความ เสียหายท่ีแทจ้ ริงแตไ่ มเ่ กินจานวนเงินเอาประกนั ภยั ในกรณีมีวินาศภยั ตามที่ระบุไวใ้ นสญั ญาเกิดข้ึนใน อนาคต และผเู้ อาประกนั ภยั มีหนา้ ท่ีชาระ เบ้ียประกนั ภยั 2. สัญญาประกันชีวติ หมายถึง สญั ญาผรู้ ับประกนั ภยั ตกลงใชเ้ งินจานวนหน่ึงให้เม่ือเหตอุ ยา่ งอื่นในอนาคต ที่ระบไุ วใ้ นสญั ญา และผเู้ อาประกนั ภยั มีหนา้ ท่ีจ่ายเบ้ียประกนั ภยั 3. บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับสัญญาประกันภยั ประกอบไปด้วยบุคคล 3 ฝ่ าย ไดแ้ ก่ 1. ผ้เู อาประกนั ภยั คู่สญั ญาซ่ึงตกลงจะส่งเบ้ียประกนั ภยั ผเู้ อาประกนั ภยั อาจทาประกนั ชีวิตของตนเองหรือ อาจทาประกนั ชีวิตของบคุ คลอ่ืนไดผ้ เู้ อาประกนั ภยั จะตอ้ งมีส่วนไดใ้ นชีวิตของบคุ คลผถู้ กู เอาประกนั ภยั ดว้ ย มิฉะน้ีน สัญญาประกนั ชีวิตจะไมม่ ีผลผกู้ พนั คู่สญั ญา 2. ผู้รับประกันภยั คสู่ ญั ญาฝ่ ายซ่ึงตกลงจะใชค้ ่าสินไหมทดแทน หรือใชเ้ งินจานวนหน่ึงใหซ้ ่ึงหมายถึง บริษทั หรือผรู้ ับประกนั ภยั จะเป็นผไู้ ดร้ ับใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกนั ชีวิต 3. ผู้รับประโยชน์ บุคคลผจู้ ะพึงไดร้ ับค่าสินไหมทดแทนหรือพึงรับจานวนเงินเอาประกนั ภยั หรือบุคคลที่ ถกู ระบุชอื่ ไวใ้ นกรมธรรมป์ ระกนั ภยั ใหร้ ับประโยชน์ 4. ความสมบูรณ์ของสัญญาประกันภยั

4.1 เม่ือคาเสนอและคาสนองมีขอ้ ความถูกตอ้ งตรงกนั สญั ญาจึงจะเกิดข้ึนโดยไม่จาเป็นตอ้ งรอออก กรมธรรมก์ ่อน 4.2 กรณีผเู้ อาประกนั ภยั เป็นผเู้ ยาวท์ าประกนั ชีวิต จะตอ้ งไดร้ ับความยน่ ยอ่ มจากผแู้ ทนโดยชอบธรรมกอ่ น มิฉะนน้ีจะมีผลทาให้สญั ญาประกนั ชีวิตตกเป็นโมฆียะได้ 4.3 หลกั เกณฑส์ ่วนไดเ้ สีย และหลกั เกณฑเ์ ปิ ดเผยขอ้ ความจริง 5. ส่วนได้เสียในสัญญาประกันภยั ถา้ ผเู้ อาประกนั ภยั มิไดม้ ีส่วนไดเ้ สียในเหตุท่ปี ระกนั ภยั ไวน้ ้นั ไซร้ ท่านว่ายอ่ มไมผ่ กู้ พนั คู่สญั ญาแต่อยา่ ง หน่ึงอยา่ งใดผมู้ ีส่วนไดเ้ สีย คือบคุ คลท่ีไดร้ ับความเสียหายจากเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนทางจิตใจและทางการเงนิ ส่วนได้เสีย ประกอบด้วย 1. สามี-ภรรยา ค่หู ม้นั 1. สามีภรรยาท่ีจดทะเบียนสมรส (นิตินยั ) 2. สามีภรรยาที่ไม่ไดจ้ ดทะเบยี นสมรส (พฤตินยั ) 2. บิดามารดา กบั บตุ ร 1. บุตรทางสายเลือด 2. บุตรบุญธรรม ตอ้ งจดทะเบียนรับรองตามกฎหมาย 3. ญาติพี่นอ้ ง ตอ้ งมีการพิสูจนโ์ ดยใชส้ าเนาทะเบียนบา้ นที่มีความสัมพนั ธเ์ ก่ียวโยงกนั 4. นายจา้ งกบั ลูกจา้ ง เชน่ ประกนั ภยั กลมุ่ 5. เจา้ หน้ีกบั ลกู หน้ี เจา้ หน้ีมีส่วนไดเ้ สียที่จะเอาประกนั ชีวิตลูกหน้ีเทา่ น้นั เช่น ประกนั คมุ้ ครองวงเงินกูซ้ ้ือ บา้ น 6. หน้าที่ในการเปิ ดเผยข้อความจริง กฎหมายจึงให้ผเู้ อาประกนั ภยั มีหนา้ ที่เปิ ดเผยขอ้ เทจ็ จริงใหแ้ ก่ผรู้ ับ ประกนั ภยั ทราบตามหลกั สุจริตใจอยา่ งยงิ่ ผลของสญั ญาประกนั ภยั แบ่งได้ 3 ประการคอื  สมบูรณ์  โมฆะกรรม หมายถึง นิติกรรมหรือการกระทาที่ไมส่ มบูรณ์มาต้งั แต่ตน้

 โมฆียะกรรม หมายถึง นิติกรรม หรือการกระทาที่สมบรู ณ์ใชบ้ งั คบั ตามกฎหมายจนกว่าจะถกู บอก ลา้ งใหเ้ ป็นโมฆะหรือมีผลสมบรู ณ์โดยการให้สตั ยาบนั ผลของการบอกลา้ งสญั ญาท่ีเป็นโมฆียะ บริษทั คืนเงินค่าไถถ่ อนกรมธรรม์ ค่าไถ่ถอนกรมธรรม์ประกันภยั คือเงนิ เบีย้ ประกนั ภยั ทีผ่ ้เู อาประกนั ภยั ได้ชาระให้แก่ผ้รู ับประกนั ภยั หักด้วย ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของบริษทั 6.1 ผมู้ ีหนา้ ที่เปิ ดเผยขอ้ ความจริง - กรณีประกนั วินาศภยั คือผเู้ อาประกนั ภยั - กรณีประกนั ชีวิต หากทาประกนั ชีวิตตนเอง ผทู้ ี่มีหนา้ ที่ตอ้ งเปิ ดเผยขอ้ ความจริง คือผเู้ อาประกนั ภยั แต่ หากทาประกนั ชีวิตให้บคุ คลอ่ืน ผทู้ ่ีมีหนา้ ท่ีตอ้ งเปิ ดเผยขอ้ ความจริง คือบคุ คลผถู้ ูกเอาประกนั ภยั เช่น นาย ดาทาประกนั ชีวิตของนายแดง ทนายแดงเป็นผเู้ อาประกนั ชีวิต ดงั น้นั ผทู้ ่ีมีหนา้ ท่ีเปิ ดเผยขอ้ ความจริง คอื นายแดง 6.2 เวลาท่ีตอ้ งเปิ ดเผยขอ้ ความจริง “ ถา้ ในเวลาทาสญั ญาประกนั ภยั ผเู้ อาประกนั ภยั หรือกรณีประกนั ชีวิต บคุ คลอื่นอนั การใชเ้ งินยอ่ มอาศยั ความทรงชีพ หรือมรณะของเขาน้นั ก็ดี รู้อยแู่ ลว้ ละเวน้ เสียไม่เปิ ดเผย ขอ้ ความจริง ” หน้าท่ีในการเปิ ดเผยข้อความจริงมอี ยู่ในขณะย่ืนคาเสนอขอเอาประกนั ภยั และหน้าท่ี ดังกล่าวยังคงมีต่อไปจนกว่าผ้รู ับประกนั ภยั ตอบตกลงรับประกนั ภยั 1. บริษทั ยงั ไมต่ อบตกลงรับประกนั ภยั นายดาตอ้ งแจง้ ใหบ้ ริษทั ทราบ หากนายดาไมแ่ จง้ ใหบ้ ริษทั ทราบ สญั ญาประกนั ชีวิตจะตกเป็นโมฆียะ ตวั อยา่ งขณะนายดากรอกใบคาขอเอาประกนั ชีวิต นายดาไม่เคยรับการรักษา หรือไม่เคยทราบวา่ ตนเองเป็น โรคตบั แขง็ จึงแถลงขอ้ มลู ในใบคาขอเอาประกนั ชีวิตว่า ไม่เคยเป็นโรคตบั แขง็ แต่วนั รุ่งข้ึนนายดาไปตรวจ สุขภาพประจาปี พบว่าเป็นโรคตบั แขง็ วนั ที่นายดาทราบวา่ เป็นโรคดงั กลา่ ว ตอ้ งแจง้ ใหบ้ ริษทั ทราบ 2. หากมีขอ้ ความจริงเกิดข้ึนภายหลงั ท่ีผรู้ ับประกนั ภยั ตอบตกลงรบั ประกนั ภยั แลว้ ผรู้ ับประกนั ภยั ตอ้ ง รับผดิ ชอบตามสญั ญา ผเู้ อาประกนั ภยั หรือผถู้ ูกเอาประกนั ภยั กไ็ ม่จาตอ้ งเปิ ดเผยให้ผรู้ บั ประกนั ภยั ทราบแต่ อยา่ งใดตวั อยา่ งนายแดงทาประกนั ชีวิตไว้ โดยกาหนดทุนประกนั ภยั ไว้ 200,000 บาท วนั ที่สญั ญาเร่ิมมีผล

บงั คบั คือวนั ที่ 3 มกราคม2543 ต่อมาเมื่อวนั ท่ี 3 มกราคม 2544 นายแดงไปตรวจร่างกาย แลว้ พบว่าตนเอง เป็นมะเร็ง และเสียชีวิตต่อมาเมื่อวนั ท่ี 3 มีนาคม 2544 ดว้ ยโรคมะเร็ง กรณีดงั กล่าว นายแดงทราบวา่ ตนเอง เป็นมะเร็งภายหลงั จากที่บรัทตกลงรบั ประกนั ภยั แลว้ นายแดงไม่มีหนา้ ทีท่ีจะตอ้ งเปิ ดเผยขอ้ ความจริงใด ๆ สญั ญาประกนั ชีวิตจึงสมบูรณ์ บริษทั ตอ้ งชดใชเ้ งินเอาประกนั ภยั ให้แก่ผรู้ ับประโยชน์ 6.3 ขอ้ ความจริงท่ีตอ้ งเปิ ดเผย เพราะเป็นสาระสาคญั ในการพิจารณารับประกนั ภยั ของผรู้ ับประกนั ภยั ถา้ ผรู้ ับประกนั ภยั ทราบถึงขอ้ ความจริง มีผลให้เรียกเบ้ยี ประกนั ภยั สูงข้ึนหรือบอกปัดไมย่ อมรับประกนั ภยั 6.4 ผลของการไม่เปิ ดเผย หากผเู้ อาประกนั ภยั ไม่เปิ ดเผยหรือแถลงขอ้ ความอนั เป็นเทจ็ เป็นผลใหส้ ญั ญา ประกนั ชีวิตน้นั ตกเป็นโมฆียะ ผรู้ ับประกนั ภยั บอกลา้ งสญั ญาภายในระยะเวลาท่ีกาหนดและมีหนา้ ท่ีเพียง ชดใชค้ า่ ไถ่ถอนกรมธรรมเ์ ทา่ น้นั 6.5 กาหนดเวลาบอกลา้ ง ผรู้ ับประกนั ภยั จะตอ้ งใชส้ ิทธิบอกลา้ งภายในหน่ึงเดือนนบั แตว่ นั ที่ผรู้ ับ ประกนั ภยั ทราบมูลหรือถา้ มิไดใ้ ชส้ ิทธิภายใน 5ปี (หรือ 2 ปี ) นบั แตว่ นั ทาสญั ญาสิทธิที่จะบอกลา้ งสญั ญา ยอ่ มเป็นอนั ระงบั สิ้น (บริษทั รับผิดชอบ) 7. การแถลงอายุคลาดเคลื่อน กรณี 1 บอกอายตุ ่ากว่าความเป็นจริง เก็บเบ้ียประกนั ต่ากวา่ ดงั น้นั บริษทั รับประกนั และลดจานวนเงินเอา ประกนั ภยั ลงตามส่วน หรือ ตอ้ งปรับเบ้ียประกนั ภยั เพ่ิมข้ึน ตวั อย่างนายดาอายุ 30 ปี ทาประกนั ชีวิตทุนประกนั 100,000 บาท ชาระเบ้ียประกนั ภยั ปี ละ 3,000 บาท ชาระมา 2ปี แลว้ เกิดเสียชีวิต หลกั ฐานพิสูจน์ไดว้ า่ นายดามีอายจุ ริง 34 ปี เมื่อวนั ท่ีเร่ิมทาประกนั ภยั ซ่ึงตอ้ ง ชาระเบ้ียประกนั ภยั ปี ละ 3,200 บาท ดงั น้นั บริษทั ตอ้ งจ่ายทุนประกนั ภยั ใหผ้ รู้ ับประโยชนเ์ ทา่ ไร ทุนประกนั ลดลงตามส่วน = ทุนประกนั ภยั X เบ้ียประกนั ที่ชาระ / เบ้ียประกนั ท่ีแทจ้ ริง = 100,000 X 3,000 / 3,200 = 93,750 บาท กรณีที่ 2 : บอกอายสุ ูงกวา่ ความเป็นจริง เบ้ยี ประกนั สูงกว่า ดงั น้นั บริษทั รับประกนั และคืนเบ้ียประกนั ส่วนท่ีเกินคืน

ตวั อย่างนายแดง อายุ 35 ปี ทาประกนั ชีวิต ทนุ ประกนั 100,000 บาท ชาระเบ้ียประกนั ภยั ปี ละ 5,000 บาท ตอ่ มาบริษทั ฯ ทราบว่า นายแดง มีอายจุ ริง 30 ปี คิดเบ้ียประกนั ภยั ปี ละ 4,000 บาท ดงั น้นั บริษทั จะทาอยา่ งไรดงั น้นั บริษทั รับประกนั ชีวิตให้กบั นายแดง ที่ทนุ ประกนั 100,000 บาท และ คืนเบ้ียประกนั ส่วนท่ีเกิน 1,000 บาท กรณีที่ 3 : บอกอายนุ อกพิกดั ทางการคา้ ปกติสญั ญาประกนั ชีวิตจะตกเป็นโมฆียะ โดยคืนเบ้ียประกนั ภยั ท้งั หมด ตวั อย่างนายแดงแถลงวา่ ตนมีอายุ 55 ปี ขณะขอทาประกนั ภยั แต่ตอ่ มา 3 ปี บริษทั ไดพ้ ิสูจน์อายจุ ริงของ นายแดง ขณะขอทาประกนั ภยั วา่ มีอายจุ ริง 65 ปี ดงั น้นั บริษทั ฯ บอกลา้ งสญั ญาเป็นโมฆียะ และคืนเบ้ีย ประกนั ท้งั หมด ข้อควรจาอายคุ วามเรียกร้องตามหลกั โมฆียะกรรมทวั่ ไป คือบอกลา้ งภายใน 10 ปี นบั แตเ่ ริ่มทาสญั ญา 8. หนา้ ที่ของผรู้ ับประกนั ภยั 8.1.ออกกรมธรรมป์ ระกนั ภยั บริษทั มีหนา้ ที่ส่งมอบกรมธรรมป์ ระกนั ภยั อนั มีเน้ือความตอ้ งตามสญั ญาน้นั แก่ผเู้ อาประกนั ภยั ฉบบั หน่ึง กรมธรรมป์ ระกนั ภยั ตอ้ งลงลายมือช่ือของกรรมการผมู้ ีอานาจพร้อมตรา ประทบั บริษทั และมีรายการดงั น้ี 1. วตั ถุที่เอาประกนั ภยั 2. ภยั ใดซ่ึงผรู้ ับประกนั ภยั รับเสี่ยง 3. ราคาแห่งมูลประกนั ภยั อาจไมม่ ีการกาหนดไวใ้ นกรมธรรม์ 4. จานวนเงินซ่ึงเอาประกนั ภยั 5. จานวนเบ้ียประกนั ภยั และวิธีส่งเบ้ียประกนั ภยั 6. ถา้ หากสญั ญาประกนั ภยั มีกาหนดเวลา ตอ้ งลงเวลาเริ่มตน้ และเวลาส้ินสุดไวด้ ว้ ย 7. ช่ือหรือยห่ี ้อของผรู้ ับประกนั ภยั

8. ชื่อหรือยี่ห้อของผเู้ อาประกนั ภยั 9. ชื่อของผรู้ ับประโยชน์ ถา้ จะพึงมี 10. วนั ทาสญั ญาประกนั ภยั ตวั อย่างสญั ญาประกนั ชีวิต (กรมธรรม์ ) เน้ือความใดไมอ่ ยใู่ นสญั ญาน้ี คาตอบ ช่ือหรือย่หี อ้ ของตวั แทน หรือราคาแห่งมูลประกนั ภยั 8.2 การชดใชเ้ งินตามสญั ญา ก) อาศยั ความทรงชีพ เรียกว่าสญั ญาประกนั ชีวิตแบบสะสมทรัพยแ์ ทจ้ ริง (Pure Endowment) ผรู้ ับ ประกนั ภยั จะชดใชเ้ งินจานวนหน่ึงให้เมื่อผเู้ อาประกนั ภยั มีชีวิตอยรู่ อดจนครบกาหนดสญั ญา ข) อาศยั ความมรณะ เรียกวา่ สญั ญาประกนั ชีวิตแบบชวั่ ระยะเวลา (Term Insurance) ผรู้ ับประกนั ภยั จะ ชดใชเ้ งินจานวนหน่ึงให้เมื่อผเู้ อาประกนั ภยั เสียชีวิตลงในระหว่างสญั ญา ค) อาศยั ท้งั ความทรงชีพและความมรณะ เรียกวา่ สญั ญาประกนั ชีวิตแบบสะสมทรัพย์ (Endowment Insurance) ผรู้ ับประกนั ภยั กจ็ ะชดใชเ้ งินจานวนหน่ึงใหเ้ มื่อผเู้ อาประกนั มีชีวิตอยคู่ รบสญั ญาหรือเสียชีวิต ลงในระหว่างสญั ญา 9. ข้อยกเว้นความรู้รับผดิ ของผู้รับประกนั ภยั 1. บุคคลผนู้ ้นั ไดก้ ระทาอตั ตวินิบาตดว้ ยใจสมคั รภายในปี หน่ึงนบั แตว่ นั ทาสญั ญา บริษทั จะคืนเบ้ีย ประกนั ภยั ที่ชาระให้แก่ทายาทหรือผเู้ อาประกนั ภยั 2. บคุ คลผนู้ ้นั ถูกผรู้ ับประโยชนฆ์ า่ ตายโดยเจตนา บริษทั จะคืนเงินคา่ ไถถ่ อนกรมธรรม์ (เทา่ กบั ค่าเวนคนื กรมธรรม์ ) ให้แก่ทายาทของผเู้ อาประกนั 10. การเปลยี่ นตวั ผ้รู ับประโยชน์ ผรู้ ับประโยชน์ คือบคุ คลที่ผเู้ อาประกนั ภยั กาหนดให้เป็นผรู้ ับเงินเอาประกนั ภยั อาจเป็นคนเดี่ยวหรือหลาย คนก็ไดเ้ ม่ือผเู้ อาประกนั ภยั เสียชีวิตในกรณีผรู้ ับประโยชนเ์ สียชีวิตก่อนผเู้ อาประกนั ภยั หากไมม่ ีการแจง้ ให้ ผรู้ ับประกนั ภยั ทราบ ดงั น้ี

10.1. ระบุผรู้ ับประโยชน์คนเดียว ผรู้ ับประโยชนช์ ีวติ ก่อนผเู้ อาประกนั ภยั ต่อมาผเู้ อาประกนั ภยั เสียชีวิต จานวนเงินเอาประกนั ภยั จะตกแก่กองมรดกของผเู้ อาประกนั ภนั ภยั 10.2. ระบผุ รู้ ับประโยชน์ไวห้ ลายคน ผรู้ ับประโยชนค์ นหน่ึงคนใดเสียชีวิตก่อนผเู้ อาประกนั ภยั ต่อมาผเู้ อา ประกนั ภยั เสียชีวิต เงินเอาประกนั ภยั ในส่วนของผรู้ บั ประโยชน์ที่เสียชีวิตก่อน จะตกแก่ผรู้ ับประโยชน์ที่ เหลือในจานวนเท่า ๆ กนั การเปลย่ี นตวั ผ้รู ับประโยชน์ 1. บิดา มารดา สามี ภริยา หรือบุตร ผเู้ อาประกนั แสดงเจตนา เมื่อแจง้ ใหบ้ ริษทั ทราบและออกบนั ทึกสลกั หลงั กรมธรรม์ จะสมบูรณ์ 2. ผอู้ ื่น เช่น หุ้นส่วน ผเู้ อาประกนั แสดงเจตนา เมื่อแจง้ ให้บริษทั ทราบ บริษทั ตอ้ งเห็นชอบและออกบนั ทกึ สลกั หลงั กรมธรรมจ์ ะสมบูรณ์ 11. การบอกเลิกสัญญาประกนั ชีวติ ผเู้ อาประกนั ภยั ไมต่ อ้ งช้ีแจงเหตุผลการยกเลิก และใชส้ ิทธิยกเลิกโดย ทาหนงั สือส่งพร้อมกรมธรรมม์ ายงั บริษทั ผา่ นไปรษณีย์ หรือติดตอ่ โดยตรงที่พนกั งานสานกั งานใหญ่หรือ สาขาบริษทั 11.1 ผเู้ อาประกนั ภยั ชอบที่จะบอกเลิกสญั ญาประกนั ภยั ในเวลาใด ๆ กไ็ ด้ ดว้ ยการงดไม่ส่งเบ้ียประกนั ภยั ตอ่ ไป 11.2 ภายหลงั ท่ีกรมธรรมป์ ระกนั ภยั ไม่มีมูลค่ากรมธรรมเ์ หลือ 11.3 สิทธิในการขอยกเลิกกรมธรรม์ (FREE LOOK) ผา่ นตวั แทน ผเู้ อาประกนั ภยั ยกเลิกใบ FREE LOOK และส่งคืนกรมธรรมไ์ ปยงั ผรู้ ับประกนั ภยั ภายใน 15 วนั นบั แตว่ นั ท่ีไดร้ ับกรมธรรมแ์ ละบริษทั คืนเบ้ีย ประกนั ภยั หกั คา่ ออกกรมธรรม์ 500 บาทและค่าตรวจสุขภาพตามที่จ่ายจริง 11.4 สิทธิในการขอยกเลิกกรมธรรม์ (FREE LOOK) ผา่ นโทรศพั ท์ ผเู้ อาประกนั ภยั ยกเลิกใบ FREE LOOK และส่งคืนกรมธรรมไ์ ปยงั ผรู้ ับประกนั ภยั ภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ที่ไดร้ ับกรมธรรมแ์ ละบริษทั คืน เบ้ียประกนั ภยั เตม็ 12. สิทธิของทายาทผ้เู อาประกนั ภยั

ในการประกนั ชีวิต แมค้ วามตายของผเู้ อาประกนั ภยั จะเกิดข้ึนจากการกระทาของบุคคลภายนอก สิทธิใน การเรียกร้องคา่ เสียหายจากบคุ คลภายนอกยงั คงเป็นของทายาทของผเู้ อาประกนั ภยั และทายาทยงั ไดร้ ับการ ชดใชเ้ งินเอาประกนั ภยั จากผรู้ ับประกนั ภยั เตม็ จานวน ผรู้ ับประกนั ภยั ไมม่ ีสิทธ์ิเรียกเงินเอาประกนั ภยั ทตี่ น ไดจ้ ่ายไปใหแ้ ก่ผรู้ ับประโยชนค์ ืนจากบุคคลภายนอกได้ 13. สิทธิของเจ้าหนี้ของผู้เอาประกันภยั กรณีท่ีผเู้ อาประกนั ภยั เสียชีวิตโดยมีหน้ีสินเจา้ หน้ีเรียกร้องเงิน ดงั น้ี 1. ไม่มีผรู้ ับประโยชนเ์ จา้ หน้ีสามารถเรียกร้องจานวนหน้ีไดท้ ้งั หมดจากเงินเอาประกนั ภยั ท้งั หมดในกอง มรดกของผเู้ อาประกนั ภยั 2. ระบุตวั ผรู้ ับประโยชน์ เจา้ หน้ีเรียกร้องจานวนหน้ีไดเ้ ฉพาะเบ้ียประกนั ภยั ท้งั หมดที่จ่ายให้บริษทั เทา่ น้นั ไม่เกินภาระหน้ีจากผรู้ ับประโยชน์ 3. ระบเุ จา้ หน้ีเป็นผรู้ ับประโยชน์ เจา้ หน้ีรับทุนประกนั เตม็ จานวนจากเงินเอาประกนั ภยั 14. อายุความคสู่ ญั ญาฟ้องร้องบงั คบั คดีไดใ้ น 10 ปี หากพน้ กาหนดบริษทั บอกปฏิเสธการจ่ายได้ เงินเอา ประกนั ภยั ตกที่กองทนุ ประกนั ชีวิต ส่วนท่ี 4 พระราชบัญญัตปิ ระกนั ชีวติ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดย พระราชบัญญตั ิประกนั ชีวติ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2551 วตั ถุประสงค์ของพระราชบญั ญตั ิ ประการแรก เพ่ือกากบั ดแู ลบริษทั ประกนั ชีวิตให้มีความมน่ั คงดา้ นกิจการและฐานะการเงิน ประการทีส่ อง เพื่อกากบั ดแู ลคนกลางประกนั ภยั ใหป้ ฏิบตั ิตอ่ ผเู้ อาประกนั และผรู้ ับประโยชน์อยา่ งเป็น ธรรม ประการทส่ี าม ธุรกิจประกนั ภยั เป็นธุรกิจท่ีมีความสาคญั อยา่ งมากตอ่ เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ

ชื่อพรบ.น้ีคือ “ พระราชบญั ญตั ิประกนั ชีวิต พ.ศ.2535 แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิประกนั ชีวิต (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2551 พระราชบญั ญตั ิประกนั ชีวิตน้ีมีเพื่อใชก้ ากบั ดูแล...1.บริษทั ประกนั ชีวิต 2. บุคลากรท่ี เกี่ยวขอ้ งการประกนั ภยั 3. กองทุนประกนั ชีวิต 1. บริษทั ประกนั ชีวิต  กรรมการบริษทั ตอ้ งมีคนสญั ชาติไทย + ไม่ต่ากวา่ 3 ใน 4  การให้บคุ คลซ่ึงไม่มีสญั ชาติไทยถือหุน้ ไดถ้ ึง 49% ของหุ้นที่มีสิทธ์ิออกเสียงและจาหน่ายไดแ้ ลว้ ท้งั หมดตอ้ งไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการคปภ. 2. บุคลากรที่เกี่ยวขอ้ งกบั การประกนั ภยั ไดแ้ ก่ ตวั แทนประกนั ชีวิต, นายหนา้ ประกนั ชีวิต, นกั คณิตศาสตร์ ประกนั ภยั , ผปู้ ระเมินวินาศภยั 3. กองทนุ ประกนั ชีวิต รัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลงั ซ่ึงเป็นผรู้ ักษาการ นายทะเบยี น เลขาธิการคณะกรรมการกากบั และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกนั ภยั หรือผซู้ ่ึง เลขาธิการคปภ. มอบหมาย คณะกรรมการสานกั งานคณะกรรมการกากบั และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกนั ภยั ตวั แทน ผซู้ ่ึงบริษทั มอบหมายให้ทาการชกั ชวนให้บุคคลทาสญั ญาประกนั ชีวิตกั บบริษทั นายหน้าประกนั ชีวติ ผชู้ ้ีชอ่ งหรือจดั การใหบ้ ุคคลทาสญั ญาประกนั ชีวิตกั บบริษทั โดยกระทาเพ่ือบาเหนจ็ เนื่องจากการน้นั การกากบั ดูแลบริษทั ประกนั ชีวติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลงั เป็นผรู้ ักษาการมีอานาจหนา้ ที่ 1. แตง่ ต้งั พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ 2. แต่งต้งั ผชู้ าระบญั ชีเม่ือบริษทั ฯ ถกู เพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกนั ชีวิต 3.ออกกฎกระทรวงกาหนดคา่ ธรรมเนียมไม่เกินอตั ราในบญั ชี

4. กาหนดกิจการอ่ืน เพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญตั ิ 5.ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกนั ชีวิต รัฐมนตรี ไมม่ ีอานาจหนา้ ที่ในการแตง่ ต้งั คณะกรรมการกากบั และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกนั ภยั ข้อกาหนดการประกอบธุรกิจประกันชีวติ 1. บริษทั มหาชนจากดั ที่ไดร้ ับใบอนุญาตประกอบธรุ กิจประกนั ชีวิตน้ีและรวมถึงสาขาของบริษทั ประกนั ชีวิตต่างประเทศท่ีไดร้ ับใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกนั ชีวิตในไทย จากรมต. กระทรวงการคลงั โดย อนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี 2. ห้ามประกอบธุรกิจวินาศภยั 3. ห้ามจ่ายเงินให้กบั บุคคลอื่นที่มิใช่ตวั แทนหรือนายหนา้ 4. ผใู้ ดทาการเป็นผรู้ ับประกนั ภยั โดยทาสญั ญาประกนั ชีวิตกั บบุคคลใด ๆ เวน้ แต่จะเป็นผไู้ ดร้ ับใบอนุญาต ประกอบธุรกิจประกนั ชีวิต 5.การเปิ ดสาขา บริษทั ของไทย ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากนายทะเบียนตามเงื่อนไขที่รัฐมนตรีกาหนด บริษทั ของต่างประเทศ ขอจดั ต้งั บริษทั ใหมโ่ ดยไดร้ บั อนุญาตจากรัฐมนตรีและเปิ ดสาขาอีกไมไ่ ด้ 6.สาขารวมถึงสานกั งานที่แยกออกจากสานกั งานใหญ่ไมว่ ่าจะเรียกอยา่ งใดและไดร้ ับเงินค่าใชจ้ ่ายจาก บริษทั ทางตรงหรือทางออ้ มสานกั งานท่ีแยกออกจากสานกั งานใหญ่ยนื่ ขอเปิ ดเป็นสาขาภายใน 1 ปี บุคคลที่ ใช้ช่ือหรือคาแสดงในชื่อธุรกจิ ว่า “ ประกนั ชีวติ ” ได้ตามพระราชบัญญัติประกนั ชีวติ พ.ศ. 2535 1. สหภาพแรงงานท่ีมีสมาชิกเป็นพนกั งานหรือลกู จา้ งของบริษทั ประกนั ชีวิต 2.สมาคมท่ีมีสมาชิกส่วนมากเป็นตวั แทนหรือนายหนา้ ประกนั ชีวิต 3.สมาคมที่มีสมาชิกส่วนมากเป็นบริษทั ประกนั ชีวิต 4.บริษทั ประกนั ชีวิตท่ีรับอนุญาต 5. ตวั แทนหรือนายหนา้ ประกนั ชีวิตที่ใชเ้ พ่ือเป็นคาแสดงชื่อในธุรกิจของตน

6. สถาบนั การศึกษา หรือสถาบนั อื่นที่เกี่ยวขอ้ งกบั ธุรกิจประกนั ชีวิต ซ่ึงใชเ้ พ่ือเป็นคาแสดงช่ือของสถาบนั 7. กรรมการพนกั งานลกู จา้ ง สมาชิก หรือผมู้ ีตาแหน่งในบริษทั ประกนั ชีวิต หากบคุ คลผใู้ ดฝ่ าฝืนปรับ 20,000 - 100,000 บาทและปรับอกี วนั ละ 5,000 บาทตลอดเวลาท่ีฝ่ าฝืน การเพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันชีวติ รัฐมนตรีมีส่ังเพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบธุรกจิ ฯ เม่ือ ปรากฏว่า บริษทั 1.มีหน้ีสินเกินกว่าทรัพยส์ ินหรือมีฐานะการเงินไม่มนั่ คง 2.ฝ่ าฝื นบทบญั ญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั ิน้ี หรือกฎกระทรวง 3.หยดุ ประกอบธุรกิจประกนั ชีวิตโดยไม่มีเหตอุ นั สมควร 4.ประวิงการจ่ายเงินตามกรมธรรมห์ รือประวงิ การคนื เบ้ียประกนั ภยั ท่ีจ่ายหรือคืนโดยไมม่ ีเหตอุ นั ควร หรือ จ่ายคืนไปโดยไมส่ ุจริต 5.ถา้ ประกอบธุรกิจประกนั ชีวิตตอ่ ไปจะทาใหเ้ กิดความเสียหายแก่ผเู้ อาประกนั ภยั หรือประชาชน ประวงิ การใช้เงนิ ถ่วงเวลาหรือหน่วงเวลาการชดใชล้ า่ ชา้ หรือไมป่ ระสงคจ์ ่ายค่าสินไหมหรือจ่ายไมเ่ ป็นไป ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ บริษัทประกันชีวติ ลงทุนประกอบธุรกจิ อื่น ไดต้ ามท่ีคณะกรรมการคปภ. กาหนด การกากับดูแลบริษัท นายทะเบียน มีหนา้ ท่ี 1. กาหนดแบบคาขอรับ 2. กาหนดแบบหนงั สือมอบอานาจในการรับเบ้ียฯ 3. ใหค้ วามเห็นชอบกรมธรรมป์ ระกนั ชีวิตรวมท้งั เอกสารประกอบ หรือแนบทา้ ยกรมธรรมป์ ระกนั ภยั 4. อนุมตั ิอตั ราเบ้ียประกนั 5. อนุมตั ิการเปิ ดและปิ ดสาขาบริษทั ประกนั ชีวิตในประเทศ

6. ตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของบริษทั ประกนั ชีวิต (คณะกรรมการคปภ.สง่ั ใหเ้ ปิ ดเผยฐานะ การเงิน) 7.ออกใบอนุญาต หรือเพิกถอนใบอนุญาต หรือตอ่ อายใุ บอนุญาตการเป็นตวั แทน /นายหนา้ ประกนั ชีวิต คณะกรรมการเปรียบเทียบปรับ แตง่ ต้งั 3 คนตอ้ งมีพนง.สอบสวนคดีอาญาโดยรมต.คลงั ซ่ึงมีอานาจ เปรียบเทียบปรับได้ การกากับฐานะทางการเงนิ พนกั งานเจา้ หนา้ ที่คือผูซ้ ่ึงรัฐมนตรีแตง่ ต้งั ให้ปฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญตั ิมี หนา้ ที่ตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของบริษทั ประกนั ชีวิต 1. เขา้ ไปในสานกั งานของบริษทั ประกนั ชีวิตในระหวา่ งเวลาทาการเพอื่ ทราบขอ้ เทจ็ จริง 2. เขา้ ไปในสถานท่ีประกอบการของบริษทั ประกนั ชีวิต หรือในสถานท่ีใด เพื่อทาการตรวจสอบและ ประเมินราคาที่ี่รัพยส์ ิน 3. สง่ั ใหบ้ ริษทั ประกนั ชีวิตหรือผเู้ ก่ียวขอ้ งกบั ธุรกิจประกนั ชีวิตของบริษทั ประกนั ชีวิตส่งเอกสารหลกั ฐาน หรือหลกั ฐานอื่น ๆ 4. เรียกกรรมการผจู้ ดั การพนกั งานหรือลูกจา้ งของบริษทั ประกนั ชีวิตมาใหถ้ ือยคา หากขดั ขวางเจ้าหน้าที่มีโทษจาคุก 1 เดือนหรือปรับ 10,000บาทหรือท้งั จาคุกท้งั ปรับ การกากับดูแลฐานะการเงนิ บริษัท ดงั น้ี 1. หลกั ทรัพยป์ ระกนั 2. เงินสารอง 3. เงินกองทุนและสินทรัพย์ สภาพคล่อง - หลกั ทรัพย์ประกันไว้กับนายทะเบยี น 1.หลักทรัพย์ของบริษทั จะเป็ นเงนิ สดพนั ธบตั รรัฐบาลไทย หรือทรัพยส์ ินอยา่ งอ่ืนตามที่ คณะกรรมการคปภ.กาหนด 2.ดารงเงนิ กองทุนภายในหกเดือนนับแต่วนั ท่ีได้จดทะเบียนจดั ต้งั บริษทั มหาชนจากดั แลว้ เม่ือรัฐมนตรี พิจารณาแลว้ จึงดาเนินการออกใบอนุญาตแก่บริษทั ที่จดั ต้งั ข้ึน

3.บริษทั ่ีไมส่ ามารถวางหลกั ทรัพยห์ รือดารงเงินกองทนุ ตามระยะเวลาที่กาหนดถือว่าการอนุมตั ิประกอบ ธุรกิจประกนั ชีวิตส้ินผล 4.หลกั ทรัพย์มีมูลค่าลดต่าลงกว่าทีก่ าหนด บริษทั ฯต้องนาหลักทรัพย์ประกันมาเพม่ิ จนครบภายใน 2 เดือน นับแต่ได้รับคาส่ัง 5.เพื่อชาระหน้ีจากการเอาประกนั ภยั ให้ผเู้ อาประกนั ภยั หรือผรู้ ับประโยชน์ (เจา้ หน้ีตามสัญญา) ก่อน เจา้ หน้ีรายอื่น - จดั สรรเบยี้ ประกันภยั ไว้เป็ นเงนิ สารองกับนายทะเบียน 1.บริษทั จดั สรรเบ้ยี ประกนั ภยั ไวเ้ ป็นเงินสารองประกนั ภยั สาหรับกรมธรรมป์ ระกนั ภยั ทย่ี งั ผกู้ พนั อยแู่ ละ เงินสารองอ่ืน 2.เงนิ สารอง ไม่เกินร้อยละ 25 ของเงินสารองประกนั ภยั (เป็นส่วนหน่ึงของเบ้ียประกนั หลงั หกั ค่าใชจ้ ่าย ต่าง ๆ) 3.เงนิ สารองเป็ นเงนิ สด,พนั ธบัตรรัฐบาลไทย หรือทรัพย์สินอื่น ตามหลกั เกณฑว์ ิธีการเง่ือนไขและสดั ส่วน ท่ีคณะกรรมการคปภ.กาหนด 4.เพ่ือชาระหน้ีจากการเอาประกนั ภยั ใหผ้ เู้ อาประกนั ภยั หรือผรู้ ับประโยชน์ (เจา้ หน้ีตามสัญญา) ก่อน เจา้ หน้ีรายอื่น - ดารงเงนิ กองทุนและสินทรัพย์สภาพคล่อง เพื่อขยายสาขาและต้องรายงานเงนิ กองทุนตอนายทะเบียนทุก เดือน 1.เงินกองทนุ หมายถึง ทรัพยส์ ินส่วนที่เกินกว่าหน้ีสินตามราคาประเมินปัจจุบนั 2.ดารงเงนิ กองทุนไม่น้อยกว่า 2%ของเงินสารองแต่ไม่ต่ากวา่ 50 ลา้ นบาที่ทบริษทั ไดร้ ับในรอบระยะเวลา 6 เดือนก่อนงวดนาส่งเขา้ เงินกองทนุ 3.ต้องเป็ นหลกั ทรัพย์ทีไ่ ม่อยู่ในความรู้รับผดิ แห่งการบงั คบั คดีตลอดเวลาทย่ี งั ไม่เลกิ กิจการ

4.บริษทั ตอ้ งดารงไวซ้ ่ึงเงินกองทุนตลอดเวลาท่ีประกอบธุรกิจประกนั ชีวิตเป็นอตั ราส่วนกบั สินทรพั ย์ หน้ีสินหรือภาระผกู้ พนั หรือตามระดบั ความเส่ียง 5.หากเงนิ กองทนุ ของบริษัทประกันชีวติ ลดลงตา่ กว่าที่ต้องดารงไว้ บริษัทประกันชีวติ ต้องเสนอโครงการ เพ่ือแก้ไขฐานะเงนิ กองทุนภายใน 30 วนั นับแต่ได้รับแจ้งจากนายทะเบียน วนั ทีผ่ ู้สอบบญั ชีตรวจพบ และ บริษัทประกันชีวติ ตรวจพบ 6.ระหวา่ งดาเนินการตามโครงการเพือ่ แกไ้ ขฐานะเงินกองทนุ บริษทั ยงั ดาเนินธุรกิจไดป้ กติแต่จะขยาย ธุรกิจไม่ไดจ้ นกวา่ เงินกองทุนไดค้ รบถว้ น 7.รายการโครงการตอ้ งประกอบดว้ ย 1. ข้นั ตอนที่จะเพ่ิมเงินกองทุนใหเ้ พียงพอ 2. ระดบั เงินกองทนุ ที่คาดวา่ จะดารงในแตล่ ะไตรมาสภายในระยะเวลาของโครงการ 3. ประเภทและธุรกิจท่ีจะประกอบการ 4.ระยะเวลาของโครงการซ่ึงตอ้ งไมเ่ กินหน่ึงปี 8.นายทะเบยี นต้องพจิ ารณาและแจ้งให้บริษทั ทราบภายใน 30วนั นับแต่วนั ทีไ่ ด้รับโครงการกรณีนาย ทะเบยี นไม่ให้ความเหน็ ชอบหรือบริษทั ่ไี ม่เหน็ ด้วยกบั เง่ือนไขหรือเวลาทน่ี ายทะเบียนกาหนด บริษทั มี สิทธอิ ุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายใน 30 นับแต่วนั ทไี่ ด้รับแจ้ง และคณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์ให้แล้ว เสร็จภายใน 60วนั นับแต่วนั ทไี่ ด้รับอุทธรณ์คาวนิ ิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็ นที่สุด การควบคุมกจิ การดาเนินงานของบริษทั ดงั น้ี 1. บริษทั ลดทนุ ตอ้ งขออนุญาตเป็นหนงั สือจากนายทะเบียนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ สานกั งาน คปภ. 2. บริษทั ฝากเงินที่ธนาคาร บริษทั เงินทนุ หรือบริษทั เงินทนุ หลกั ทรัพยห์ รือเก็บเงินสดไวท้ ี่สานกั งานของ บริษทั 3. บริษทั จ่ายเงินค่าจา้ งหรือบาเห็นจท่ีพงึ จ่ายตามปกติให้ตวั แทนหรือนายหนา้ ประกนั ชีวิต

4. บริษทั จ่ายบาเห็นจแก่บุคคลอ่ืนที่ชว่ ยให้มีการทาสญั ญาประกนั ชีวิตไมไ่ ด้ 5. บริษทั ใหป้ ระโยชนเ์ ป็นพิเศษแก่ผเู้ อาประกนั ภยั หรือผรู้ ับประโยชน์ตามกรมธรรมไ์ มไ่ ด้ 6. บริษทั รับชาระเบ้ยี ประกนั ภยั จากผเู้ อาประกนั ภยั ลดลงต่ากวา่ เบ้ียประกนั ไม่ได้ 7. บริษทั ต้งั หรือมอบหมายตวั แทนหรือนายหนา้ ประกนั ชีวิตหรือพนกั งานบริษทั ในการรับเงินเป็นผรู้ ับ ชาระเบ้ียประกนั ภยั 8. บริษทั ออกกรมธรรมป์ ระกนั ภยั ตอ้ งมีลายมือช่ือของกรรมการผมู้ ีอานาจและตอ้ งประทบั ตราของบริษทั หรือตอ้ งมีลายช่ือของผจู้ ดั การสาขาของบริษทั ประกนั ชีวิตต่างประเทศตามระบุไวใ้ นใบอนุญาตประกอบ ธุรกิจและตอ้ งประทบั ตราของบริษทั น้นั ดว้ ย 9. บริษทั ประกนั ชีวิตซ้ือหรือมีไวซ้ ่ึงอสงั หาริมทรัพย์ เวน้ แตบ่ ริษทั ประกนั ชีวิตใชเ้ ป็นสถานท่ีประกอบ ธุรกิจหรือใชเ้ พื่อสวสั ดิีการพนกั งานตามสมควรหรือเป็นอสงั หาริมทรัพยท์ บี่ ริษทั ประกนั ชีวิตไดม้ าจากการ รับชาระหน้ี 10. บริษทั มอบหมายหรือยน่ ยอ่ มให้บคุ คลใดทาการรับประกนั ชีวิต โดยใชก้ รมธรรมป์ ระกนั ภยั ของบริษทั ่ี ไม่ได้ 11. บริษทั มอบหมายหรือยน่ ยอ่ มให้บคุ คลใดชดใชค้ า่ สินไหมทดแทนตามกรมธรรมป์ ระกนั ภยั บางส่วน หรือท้งั หมดไมไ่ ดน้ อกจากการประกนั ต่อเวน้ แตจ่ ะไดร้ ับอนุญาตจากนายทะเบียน 12. บริษทั ประวิงการใชเ้ งินแก่ผเู้ อาประกนั ภยั หรือผรู้ ับประโยชน์ไมไ่ ด้ 13.ออกกรมธรรมร์ ะบจุ านวนเงินพึงใชเ้ ป็นเงินตราตา่ งประเทศแก่ผเู้ อาประกนั ภยั หรือผรู้ ับประโยชน์ไม่ได้ การให้ความเห็นชอบสัญญาประกันชีวติ 1. แบบประกนั ภยั ขอ้ ความและเบ้ียประกนั ภยั โดยนกั คณิตศาสตร์ประกนั ภยั ตอ้ งขอ้ ความเห็นชอบจาก นายทะเบียน ถา้ ฝ่ าฝื นมีความผดิ ปรับไมเ่ กิน 300,000 บาท นักคณิตศาสตร์ประกนั ภยั ไม่มหี น้าทีร่ ายงานฝ่ าฝื นหรือไม่ทาตามกฎหมายของบริษทั ต่อ คณะกรรมการคปภ.

2. หากมีขอ้ ความตา่ งจากท่ีนายทะเบียนเห็นชอบ ถือว่า สญั ญาสมบูรณ์ โดยผเู้ อาประกนั ภยั มีสิทธิเลือก ดงั น้ี  ใหบ้ ริษทั รับผิดตามกรมธรรมป์ ระกนั ภยั หรือขอ้ ความประกนั ภยั ที่บริษทั ออกให้หรือ  ใหบ้ ริษทั รับผดิ ตามแบบ หรือขอ้ ความที่นายทะเบียนใหค้ วามเห็นชอบ หรือ  บอกเลิกสญั ญาประกนั ชีวิต และใหบ้ ริษทั คืนเบ้ียประกนั ภยั ท้งั หมด 3. หากขอ้ ความหรือภาพโฆษณาในกรมธรรมข์ ดั กบั ขอ้ ความในกรมธรรมใ์ ห้ตีความไปในทางที่เป็นคุณแก่ ผเู้ อาประกนั ภยั หรือผรู้ ับประโยชนต์ ามกรมธรรม์ และขอ้ ความโฆษณาเกินจริง มีโทษปรับไม่เกิน 500,000 บาท 4.อตั ราเบ้ียประกนั ภยั ตอ้ งรับความเห็นชอบจากนายทะเบียน เม่ือนายทะเบยี นเห็นสมควรหรือบริษทั ร้อง ขอนายทะเบียนจะสง่ั ใหเ้ ปลี่ยนอตั ราน้นั เสียใหม่ ซ่ึงไมก่ ระทบต่อกรมธรรมท์ ี่ไดใ้ ห้ความเห็นชอบไวก้ ่อน แลว้ การกระทาความผดิ บทกาหนดโทษ 1.เปิ ดกิจการรับประกนั ภยั โดยไม่ไดร้ บั ใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกนั ชีวิตจาคกุ ต้งั แต่ 2-5 ปี หรือ ปรับต้งั แต่ 200,000 - 500,000 บาทหรือท้งั จาท้งั ปรับ 2. บริษทั ประวิงการใชเ้ งินแก่ผเู้ อาประกนั ภยั หรือผรู้ ับประโยชนต์ ามกรมธรรม์ หรือประวิงการคืนเบ้ยี ประกนั ภยั ท่ีตอ้ งจ่ายหรือคืนโดยไม่มีเหตุผลอนั สมควรหรือจ่ายหรือคืนไปโดยไม่สุจริต (ประวิง คือถว่ ง หรือหน่วงเวลาหรือไมจ่ ่าย)ปรับไมเ่ กิน 500,000บาทและถา้ เป็นความผิดตอ่ เนื่องใหป้ รับอีก ไมเ่ กินวนั ละ 20,000บาทตลอดเวลาที่ยงั ฝ่ าฝืนอยู่ ลกั ษณะของตวั แทนประกันชีวติ เป็นบคุ คลธรรมดา และชกั ชวนทาสญั ญาประกนั ชีวิตในนามบริษทั เม่ือมี หนงั สือมอบอานาจจากบริษทั และตอ้ งมีสงั กดั บริษทั ใดบริษทั หน่ึง ลกั ษณะของนายหน้าประกันชีวติ เป็นบคุ คลธรรมดา หรือนิติบุคคล และช้ีชอ่ งหรือจดั การให้บคุ คลทา สญั ญาประกนั ชีวิตกบั บริษทั เพ่ือหวงั ค่าบาเห็นจ และรับเบ้ียประกนั ภยั ในนามบริษทั ตอ้ งมีหนงั สือมอบ อานาจจากบริษทั และไม่ตอ้ งสงั กดั บริษทั ใด

คุณสมบัตขิ องผู้ขอรับใบอนุญาตเป็ นนายหน้าประกนั ชีวติ กาหนดดงั นี้ 1.บรรลุนิติภาวะ (อายคุ รบ 20 ปี บริบูรณ์หรือชายและหญิงอายุ 17 ปี บริบูรณ์ สมรสถกู ตอ้ งตามกฎหมาย) 2.มีภมู ิลาเนาในประเทศไทย 3.ไมเ่ ป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟื อนไมส่ มประกอบ 4.ไม่เคยตอ้ งโทษจาคุก โดยคาพิพากษาถึงที่สุดใหจ้ าคุกในความผิดเก่ียวกบั ทรัพย์ เช่นลกั ทรัพย์ , ชิงทรัพย์ , ยกั ยอกทรพั ย์ ท่ีกระทาโดยทจุ ริต เวน้ แตไ่ ดพ้ น้ โทษมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี ก่อนวนั ขอรับใบอนุญาต (ยกเวน้ การรอลงอาญาหรือรอกาหนดโทษ ) 5.ไม่เป็นบคุ คลลม้ ละลาย 6.ไมเ่ ป็นตวั แทนประกนั ชีวิต 7.ไม่เคยถกู เพิกถอนใบอนุญาตเป็นนายหนา้ ประกนั ชีวิต หรือนายหนา้ ประกนั ชีวิตในระยะเวลา 5 ปี ก่อน วนั ขอรับใบอนุญาต 8.อบรมความรู้เก่ียวกบั การประกนั ชีวิต ไดต้ ามหลกั สูตรและวิธีการท่ีนายทะเบียนประกาศกาหนด หรือ ไดร้ ับการศึกษาวิชาประกนั ชีวิต จากสถาบนั การศึกษาท่ีนายทะเบียนประกาศกาหนด ถือวา่ มีคุณสมบตั ิการ ขอรับใบอนุญาตเป็นนายหนา้ ประกนั ชีวิตหมายเหตุคุณสมบตั ิของนายหนา้ ฯ ไมไ่ ดก้ าหนดวฒุ ิการศึกษา การขอรับใบอนุญาตเป็ นนายหน้าประกันชีวติ ใบอนุญาตเป็นตวั แทนหรือนายหนา้ ประกนั ชีวิตน้นั เป็นเอกสิทธ์ิเฉพาะบคุ คลมีอายุ 1 ปี นบั แตว่ นั ท่ีออก ใบอนุญาต (ไม่มีแบบตลอดชีพ) และกฎกระทรวงกาหนดคา่ ธรรมเนียมการออกใบอนุญาต 200 บาท 1. สอบความรู้เก่ียวกบั การประกนั ชีวิต 2.อบรมความรู้เก่ียวกบั การประกนั ชีวิต 10 ชวั่ โมง ยกเวน้ : ผทู้ ่ีจบการศึกษาระดบั ปริญญาเอก 6 หน่วยกิต / ปริญญาโท 10 หน่วยกิต / ปริญญาตรี 12 หน่วย กิต

การต่ออายุใบอนุญาตนายหน้าประกันชีวติ ถา้ ผรู้ ับใบอนุญาตประสงคจ์ ะตอ่ อายใุ บอนุญาต ใหย้ ่ืนคาขอตอ่ อายใุ บอนุญาตตอ่ นายทะเบียนตามท่ี กาหนดภายใน 2 เดือนก่อนใบอนุญาตส้ินอายโุ ดยผขู้ อต่อใบอนุญาตตอ้ งมีหนงั สือรับรองวา่ ผา่ นการอบรม เพ่ิมเติมจากสานกั งาน คปภ. กาหนด ถา้ ผไู้ ดอ้ นุญาตเป็นตวั แทนและนายหนา้ ประกนั ชีวิตไดต้ อ่ อายใุ บอนุญาตครบ 2 คราวติดตอ่ กนั แลว้ และ ไดย้ ืน่ คาขอต่ออายใุ บอนุญาตใหใ้ บอนุญาตที่ออกใหต้ อ่ ไปมีอายคุ ร้งั ละ 5 ปี และค่าธรรมเนียมการออก ใบอนุญาต 800 บาทการขอตอ่ ใบอนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขที่ คณะกรรมการประกาศกาหนด ตวั อยา่ งนาย ก. ไดร้ ับใบอนุญาตเป็นนายหนา้ ประกนั ชีวิต จากนายทะเบียน เมื่อวนั ท่ี 3 กนั ยายน 2551อยาก ทราบวา่ ใบอนุญาตฯ ของ นาย ก.น้นั วนั หมดอายขุ องใบอนุญาต คือวนั ที่เท่าไร คาตอบ 2 กนั ยายน 2552 การเพิกถอนใบอนุญาตนายหนา้ ประกนั ชีวิต นายทะเบียนมีอานาจสง่ั เพิกถอนใบอนุญาตเป็นนายหนา้ หรือ นายหนา้ ประกนั ชีวิตเมื่อปรากฏวา่ 1. กระทาการฝ่ าฝืนบทบญั ญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั ิน้ี 2.ฝ่ าฝื นหรือไมป่ ฏิบตั ิดตามหลกั เกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขที่นายทะเบยี นหรือคณะกรรมการประกาศ กาหนด 3. ขาดคณุ สมบตั ิการเป็นนายหน้าประกนั ชีวิต 4. ดาเนินงานทาให้เกิดหรืออาจทาให้เกิดความเสียหายแก่ผเู้ อาประกนั ผรู้ ับประโยชนต์ ามกรมธรรมห์ รือ ประชาชนเมื่อนายทะเบียนสง่ั เพิกถอนใบอนุญาตฯแลว้ ให้แจง้ คาสง่ั น้นั ไปยงั ผถู้ กู สง่ั เพิกถอนใบอนุญาต ผู้

ถกู สง่ั เพิกถอนใบอนุญาตมีสิทธิอทุ ธรณ์ต่อคณะกรรมการภายใน 15 วนั นบั แตท่ ่ีไดท้ ราบคาสงั่ และให้ถอื คาวินิจฉยั ของคณะกรรมการใหเ้ ป็นท่ีสุด บทลงโทษ นายหน้า การกระทาความผดิ บทกาหนดโทษ 1.ทาสญั ญาประกนั ชีวิตโดยไม่ไดร้ ับหนงั สือมอบอานาจจากบริษทั จาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาทหรือท้งั จาท้งั ปรับ 2.กระทาการเป็นนายหนา้ โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาตจากนายทะเบียน 3.ทาการชกั ชวน แนะนาทาสญั ญาประกนั ชีวิตกั บบคุ คล ดงั น้ี -บริษทั ในต่างประเทศ -ผไู้ ม่มีใบอนุญาตประกอบธุรกิจในไทย จาคุกไมเ่ กิน 6 เดือนหรือปรับไมเ่ กิน 50,000 บาทหรือท้งั จาท้งั ปรับ 4. ตอ้ งแสดงใบอนุญาตฯ ที่ชกั ชวนทาสญั ญาประกนั ชีวิต 5.รับเบ้ียประกนั ภยั ในนามบริษทั โดยไมม่ ีหนงั สือมอบอานาจบริษทั 6. หา้ มนาขอ้ ความภาพโฆษณาหรือหนงั สือชกั ชวนั ที่ไม่ไดร้ ับความ เห็นชอบจากบริษทั ไปใชจ้ าคุกไมเ่ กิน 3 เดือน หรือปรับไมเ่ กิน 30,000บาทหรือท้งั จาท้งั ปรับ กองทุนประกันชีวติ เป็ นนิตบิ ุคคลแยกจากสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกจิ ประกนั ภยั วตั ถุประสงค์ ดงั นี้ 1.ใหค้ วามช่วยแหลือเจา้ หน้ีซ่ึงมีสิทธิไดร้ ับชาระหน้ีที่เกิดจากการเอาประกนั ภยั ในกรณีบริษทั ลม้ ละลาย หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกนั ชีวิต (วงเงินมลู หน้ีไม่เกิน 1.0 ลา้ นบาท) 2. เป็นคา่ ใชจ้ ่ายในการพฒั นาธุรกิจประกนั ชีวิตใหม้ ีความมน่ั คงและเสถียรภาพ ท้งั น้ีไม่เกินวงเงินท่ีไดร้ ับ การใช้จ่ายเพ่ือกิจการดงั นี้

1.ใหค้ วามช่วยแหลือเจา้ หน้ีซ่ึงมีสิทธิไดร้ ับชาระหน้ีท่ีเกิดจากการเอาประกนั ภยั ในกรณีบริษทั ลม้ ละลาย หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกนั ชีวิต (วงเงินมลู หน้ีไม่เกิน 1.0 ลา้ นบาท) 2. เป็นค่าใชจ้ ่ายในการพฒั นาธุรกิจประกนั ชีวิตให้มีความมน่ั คงและเสถียรภาพ ท้งั น้ีไมเ่ กินวงเงินท่ีไดร้ ับ 3.เป็นคา่ ใชจ้ ่ายบริหารกองทนุ และคา่ ใชจ้ ่ายอื่นที่เกี่ยวเน่องกบั กิจการกองทนุ ท้งั น้ี ไม่เกินอตั ราท่ี คณะกรรมการบริหารกองทนุ กาหนด แหล่งทมี่ าเงนิ กองทุน 1.เงินและทรัพยส์ ินท่ีไดร้ ับโอนจากกองทุนเพ่ือการพฒั นาธุรกิจประกนั ชีวิตของสานกั งาน คปภ. 2.เงินค่าสินไหม 3.เงินที่บริษทั นาส่งเขา้ โดยคณะกรรมการตามความเห็นชอบของรัฐมนตรี 4.เงินคา่ ปรับ (บริษทั ี่ไม่นาเงินส่งเขา้ กอลทนุ เสียเพม่ิ 1.5% ต่อเดือนของเงินนาส่งไม่ครบถว้ นถกู ตอ้ ง) 5.ดอกผลหรือรายไดจ้ ากเงินหรือทรัพยส์ ินของกองทนุ 6.เงินท่ีผเู้ อาประกนั ภยั หรือผรู้ ับประโยชน์ไมม่ ารับ จนพน้ กาหนดอายคุ วาม(นาส่งภายใน 1 เดือน) 7.อื่น ๆ ตามที่พระราชบญั ญตั ิประกนั ชีวิตกาหนด การขอรับใบอนุญาตนายหน้าประกนั ภยั ประเภทนิตบิ ุคคล แบ่งเป็ นข้นั ตอน 1.การยน่ื ขออนุมตั ิใหม่และเพิ่มวตั ถุประสงค์ ขอรับใบอนุญาตนายหนา้ ประกยั ภยั ประเภทนิติบุคคล (ยื่นขออนุมตั ิ ในการจดั ต้งั เป็นนิติบคุ คล ท่ีกระทรวงพาณิชย์ ให้แลว้ เสร็จก่อน) 2.ยน่ื ขอรับใบอนุญาตนายหนา้ ประกนั ภยั ประเภทนิติบคุ คล ท่ี คปภ 3.การยื่นขอต่อ ใบอนุญาตนายหนา้ ประกยั ภยั ประเภทนิติบุคคล 4.การขอยกเลิกการประกอบธุรกิจ ใบอนุญาตนายหนา้ ประกนั ภยั ประเภทนิติบุคคล ------------------------------------------------------------------------------------------


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook