Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายทั่วไปฯ-01

กฎหมายทั่วไปฯ-01

Published by pond_moku, 2022-05-15 07:35:38

Description: กฎหมายทั่วไปฯ-01

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 กฎหมายว่า ด้วยโรงงาน

1. ความหมายและลกั ษณะของโรงงาน โรงงาน หมายความว่า “อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะท่ีใช้เครื่องจักรมี กาลงั รวมตงั้ แต่ 5 แรงม้าหรือกาลงั เทียบเท่าตงั้ แต่ 5 แรงม้าขึน้ ไป หรือใช้คนงานตงั้ แต่ 7 คนขึ้นไปโดยใช้ เครื่องจกั รหรือไม่ก็ตามสาหรบั ทา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบารงุ ทดสอบ ปรบั ปรงุ แปรสภาพ ลาเลียงเก็บรกั ษา หรือทาลายสิ่งใด ๆ ทัง้ นี้ ตาม ป ร ะ เ ภ ท ห รื อ ช นิ ด ข อ ง โ ร ง ง า น ที่ ก า ห น ด ใ น กฎกระทรวง”

โรงงาน มีลกั ษณะดงั นี้ 1. โรงงานเป็นได้ทงั้ อาคาร สถานท่ี หรอื ยานพาหนะกไ็ ด้ 2. ใช้เคร่ืองจกั รมีกาลังรวมตัง้ แต่ 5 แรงม้า หรือกาลัง เทียบเท่าตงั้ แต่ 5 แรงม้าขึน้ ไป หรือใช้คนงานตงั้ แต่ 7 คน ขึน้ ไป 3. มีลกั ษณะของกิจการเพ่ือผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบารงุ ทดสอบ ปรบั ปรงุ แปรสภาพลาเลียงเกบ็ รกั ษา หรอื ทาลายส่ิงใด ๆ

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3159/2531 จาเลยใช้เครื่องจกั รที่มีกาลงั รวมเกินกว่าสองแรงม้าขึน้ ไปและใช้คนงานเกินกว่าเจด็ คน เพ่ือดาเนิ นการประกอบโครงเหลก็ หลงั คาสาหรบั ใช้ในการกอ่ สร้างขึ้นภายในอาคาร สถานที่ของจาเลย แม้เป็ นการชวั่ คราวและมิได้ทาเพื่อจาหน่าย อาคารสถานท่ีดงั กล่าว กเ็ ป็ นโรงงานตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2512 มาตรา 5 แล้ว เม่ือจาเลยไม่ได้ยื่น คาขอรบั ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานจากปลดั กระทรวงอุตสาหกรรมหรือผ้ซู ่ึง ปลดั กระทรวงอุตสาหกรรมมอบหมายให้ออกใบอนุญาต จาเลยจึงมีความผิดตาม พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2512 มาตรา 43 และ 44

2. จาพวกของโรงงาน โรงงานจาพวกที่ 1 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิ ด และขนาด ท่ีสามารถ ประกอบกิ จการโรงงานได้ทันทีตามความประสงค์ของ ผู้ประกอบการ โรงงานท่ีมีแรงม้ารวมของเคร่ืองจกั ร 5-20 แรงม้า และ/หรอื มีจานวนคนงาน 7-20 คน

โรงงานจาพวกท่ี 2 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาด ท่ีเม่ือจะ ประกอบกิจการโรงงานไม่ต้องขออนุญาต ต้องแจ้งให้ พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อน โรงงานท่ีมีแรงม้ารวม ของเคร่ืองจักรมากกว่า 20 แรงม้าแต่ไม่เกิ น 50 แรงม้าและ/หรือมีจานวนคนงาน21-50 ยกเว้นโรงงาน ท่ีมีมลภาวะ

โรงงานจาพวกท่ี 3 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การตงั้ จะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงจะดาเนิ นการได้ โรงงานท่ีมีแรงม้ารวมของเคร่ืองจักรมากกว่า 50 แรงม้า และ/หรือมีจานวนคนงานมากกว่า 50 คน หรือ เป็ นโรงงานที่ มีมลภาวะ เป็ นโรงงานท่ี ต้ องรับ ใบอนุญาตก่อนจึงจะตงั้ โรงงานได้

3. การควบคมุ การประกอบกิจการโรงงาน 1. กาหนดหลกั เกณฑเ์ กี่ยวกบั ท่ีตงั้ และอาคารของโรงงาน เช่น ห้ามตัง้ โรงงานจาพวกที่ 1 และโรงงาน จาพวกท่ี 2 ในบริเวณพื้นที่ใกล้บ้านจดั สรรเพื่อ การพกั อาศยั อาคารชุดพกั อาศยั และบ้านแถว เพ่ือการพกั อาศยั หรอื ภายในระยะ 50 เมตร จาก เขตติดต่อสาธารณสถาน

2. กาหนดลกั ษณะประเภทหรอื ชนิดของเครอื่ งจกั ร เคร่ืองอปุ กรณ์หรือสิ่งท่ีต้องนามาใช้ในการประกอบ กิจการโรงงาน เช่น ต้องมนั่ คงแขง็ แรง ไม่ก่อให้เกิด ความสนั่ สะเทือน เสียง หรือคลื่นวิทยุ รบกวนผ้อู ยู่ อาศยั ใกล้เคียง อุปกรณ์ที่ไวไฟต้องมีการป้ องกนั ที่ รดั กมุ

3. กาหนดให้มีคนงานซึ่งมีความรู้ เฉพาะตามประเภท ชนิดหรอื ขนาดของโรงงาน เพื่อปฏิ บตั ิหน้ าท่ีหนึ่ งหน้ าท่ีใดประจาโรงงาน เช่น โรงงานที่มีการใช้หม้อไอน้า โรงงานท่ีมีการใช้สาร กมั มนั ตรงั สี โรงงานต้องมีวิธีการควบคุมการปล่อย ของเสีย มลพิ ษ หรือส่ิ งใด ๆ ท่ี มีผลกระทบต่อ ส่ิ งแวดล้อม ต้องมีผู้ควบคุมท่ีมีความรู้และความ ชานาญเกี่ยวกบั สาขานัน้ ๆ

4. กาหนดหลกั เกณฑท์ ่ีต้องปฏิบตั ิ กรรมวิ ธีการผลิ ตและการจัดให้มีอุปกรณ์ หรือ เครื่องมืออื่นใดเพื่อป้ องกันหรือระงบั หรือบรรเทา อนั ตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนท่ีอาจ เกิดแก่บุคคลหรือทรพั ย์สินที่อยู่ในโรงงานหรือที่อยู่ ใกล้เคียงกบั โรงงาน

5. กาหนดมาตรฐานและวิธีการ ควบคมุ การปล่อยของเสีย ม ล พิ ษ ห รื อ ส่ิ ง ใ ด ๆ ที่ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ส่ิงแวดล้อมซึ่งเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการ โรงงาน เช่น การกาจดั ขยะ สิ่งปฏิกลู และวสั ดุ ท่ีไม่ใช้การติดตงั้ ระบบบาบดั น้าเสีย มลพิษทาง เสียง เป็นต้น

6. กำหนดกำรจดั ใหม้ เี อกสำรทจ่ี ำเป็นประจำโรงงำนเพอ่ื ประโยชน์ในกำรควบคมุ หรอื ตรวจสอบกำรปฏบิ ตั ติ ำมกฎหมำย

7. กาหนดข้อมูลท่ีจาเป็ นเกี่ยวกับการ ประกอบกิ จการโรงงานท่ี ผู้ประกอบ กิจการโรงงานต้องแจ้งให้ทราบเป็ นครงั้ คราวหรอื ตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้

1. ปกติแล้วโรงงานท่ีเปิ ดดาเนิ นการ ก็ควรจะดาเนิ นการอย่าง ต่อเน่ื อง ถึงมีการหยุดก็ควรจะหยุดเป็ นชัว่ ครงั้ ชัว่ คราว หรือใน โอกาสสาคญั ต่าง ๆ การกากบั และดแู ลโรงงาน

2. ในกรณีมีอบุ ตั ิเหตใุ นโรงงานไม่ว่าจะเป็นโรงงานจาพวกใด ถ้าอุบตั ิเหตุเป็ นเหตุให้บุคคลถึงแก่ความตาย เจบ็ ป่ วยหรือ บาดเจ็บซ่ึงภายหลัง 72 ชัว่ โมง แล้วผู้นั้นยังไม่สามารถ ทางานในหน้าท่ีเดิมได้ให้ผ้ปู ระกอบกิจการโรงงานแจ้งเป็ น หนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบภายใน 3 วนั นับแต่วนั ตาย หรือวนั ครบกาหนด 72 ชวั่ โมง แล้วแต่กรณี

3. กรณี ท่ีพนักงานเจ้าหน้ าที่พบว่า ผู้ประกอบกิจการ โรงงานผู้ใดฝ่ าฝื นหรือไม่ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย หรือการ ประกอบกิจการโรงงานมีสภาพท่ีอาจก่อให้เกิดอนั ตรายแก่ บุคคลหรือทรพั ย์สินที่อยู่ในโรงงานหรือท่ีอยู่ใกล้เคียง พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอานาจสงั่ ระงบั การกระทาที่ฝ่ าฝื นหรือ แก้ไขปรบั ปรงุ ให้ถกู ต้อง

4. การเลิกประกอบกิจการโรงงาน ถา้ ผปู้ ระกอบการโรงงานประสงคจ์ ะเลิกกิจการต้องดาเนินการ ดงั นี้ ผู้รับอนุญาตต้องย่ืนคาขอและ การเลิกประกอบกิจการ ก า ร เ ลิ ก ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร ชี้แจงเหตุผลต่อผ้อู นุญาต เพ่ือให้ โรงงานจาพวกท่ี 2 ต้องแจง้ ให้ โรงงานจาพวกที่ 3 เลิกประกอบ มีหนังสือสงั่ ให้ยกเลิก พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายใน กิ จ ก า ร โ ร ง ง า น ต้ อ ง แ จ้ ง เ ป็ น 30 วนั นับตงั้ แต่วนั เลิกประกอบ หนังสือต่อผู้อนุญาตภายใน 15 กิจการ วัน นับตัง้ แต่วันเลิ กประกอบ กิจการโรงงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook