Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สติปัฏฐาน 4

สติปัฏฐาน 4

Published by Sarapee District Public Library, 2020-09-23 00:35:25

Description: สติปัฏฐาน 4
โดย เขมรังสี ภิกขุ

Keywords: ธรรมะ,สติปัฏฐาน 4

Search

Read the Text Version

ถ้าย้อนรู้เป็น  จะพบว่า  มีสภาวะอยู่ตลอด  เวลา  ไม่มีว่างเว้น  มีจิตรับรู้ตลอด  ตัวสติเป็น ตัวระลึก  ตัวสัมปชัญญะเป็นตัวพิจารณา  หรือ จะรวมเรียกว่าตัวดู  ตัวดูบอกว่าไม่มีอะไร  แต ่ ที่จริงก็มีตัวเองอยู่  คือตัวผู้ดู  ก็ต้องดูท่ีตัวเอง  กเ็ หน็ ตวั เอง  มลี กั ษณะทดี่ แู ลว้ กห็ มด  รแู้ ลว้ กห็ มด  50 สติปัฏฐาน ๔

นเ่ี ปน็ สว่ นสำ� คญั สำ� หรบั นกั ปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนา  ทตี่ อ้ ง ก้าวเข้ามาจุดนี้ให้เป็น  ก็จะท�ำให้การปฏิบัตินั้น ไม่ไปตันอยู่ที่ความว่าง  ความไม่มีอะไร  เพราะ  วิปัสสนาก็ต้องมีรูป  มีนาม  หรือมีสภาวะปรมัตถ ์ ท่ีปรากฏเกิดข้นึ ใหร้ บั รู้ตลอดเวลา เขมรังสี  ภิกขุ 51

บางทถี า้ จติ นงิ่  วา่ งอยนู่ านๆ กอ็ าจจะเกดิ นมิ ติ   ขนึ้ มา  จติ อาจจะสรา้ งนมิ ติ ตา่ งๆ  ขนึ้ เปน็ มโนภาพ  และใหค้ วามรสู้ กึ วา่ เปน็ จรงิ   เหมอื นกบั การไดเ้ หน็   ภาพจริงๆ  เป็นของจริงๆ  ก็ให้รู้ว่ามีนิมิตเกิดขึ้น  วิธีก็คืออย่างเดียวกัน  คือรู้ที่จิต  เวลาเกิดเห็น นิมิต  เห็นภาพอะไรต่างๆ  ก็ให้รู้ว่านิมิตต่างๆ นั้นเป็นสมมต ิ ไม่ใช่ตัวปรมัตถ ์ ไม่ใช่ตัวสภาวะ ไม่ใช่ทางเดินของวิปัสสนา  วิปัสสนานั้นจะต้อง  ไมม่ นี มิ ติ   มโนภาพ  เวลาวปิ สั สนาเกดิ ขน้ึ   จะตอ้ ง  รู้ท่ีรูป - นาม  หรือสภาวะปรมัตถ์  ซึ่งมันไม่ได ้ เป็นภาพ  เป็นแต่เพียงความรู้สึก  เช่น  ท่ีกาย  มีความรู้สึกไหวๆ  ไม่มีรูปร่างสัณฐานของกาย  หรอื ทางจติ ใจ  กเ็ ป็นสภาพรู้สกึ 52 สติปัฏฐาน ๔

ฉะน้ัน  เวลาประพฤติปฏิบัติไป  มีสติสมาธิ  ลมหายใจหายไป  รูปร่างกายหายไป  ก็ไม่ต้อง  ไปคน้ หา  อยา่ ไปเทยี่ วคน้ หารปู รา่ งกาย  วา่ รปู รา่ ง  เราอยู่ตรงไหน  เราน่ังอยู่ตรงไหน  เราต้องยอม  ทิ้งสมมติ  เหมือนยอมท้ิงชูชีพในการฝึกว่ายน�้ำ  ต้องปล่อยวางไป  เราเคยชินอยู่กับสมมติมานาน  เมอ่ื สมมตหิ ายไป  กร็ สู้ กึ เวง้ิ วา้ ง  พยายามจะใฝห่ า  เราต้องสร้างความเข้าใจเสียใหม่ว่า  นั่นคือสมมต ิ ไม่ต้องไปค้นหาอีกแล้ว  รูปร่าง  แขนขา  หน้าตา  ท่าทางของกาย  และความหมายว่าน่ัง  มันไม่มี  ก็ดีแล้ว  แต่ให้มันรู้อยู่กับความรู้สึกไว้  หายไป  ไมม่ อี ะไรทงั้ หมด  แตก่ ต็ อ้ งมสี ภาวะ  มคี วามรสู้ กึ อยู ่ ตอ้ งร้ทู ่คี วามรู้สกึ อย ู่ ความรสู้ กึ ทางกายท่ีมัน  เบาบาง  มนั ตงึ ๆ  เบาๆ  ไหวๆ  ทวั่ ตวั   มคี วามรสู้ กึ   อยู่  แต่ละครั้งท่ีจิตใจรับรู้รับทราบอยู่  ถ้ารูปร่าง เขมรังสี  ภิกขุ 53

แขนขาหน้าตายังไมห่ ายไป  ก็แปลวา่ ยงั ไม่หลดุ จากสมมต ิ เวลาเขา้ มาสโู่ ลกปรมตั ถแ์ ลว้  ไมม่ คี น ไม่มีรปู ร่าง  ไม่มีความหมาย  ไมม่ ชี ่อื ภาษาอะไร ตา่ งๆ การท่ีจิตมีภาษา  เป็นค�ำพูดอยู่ในใจ  คือจิต  ปรุงแต่งอยู่  มีสัญญา  มีวิตก  วิจาร  ปรุงแต่งใน  จติ ใจ  กม็ ภี าษา  มคี ำ� พดู ขนึ้   บางคนรสู้ กึ เหมอื นจติ   มันคุยกัน  จิตมันพูดกันในจิต  พูดอย่างน้ี  ตอบ  อย่างน้ัน  ฉะน้ัน  ผู้ปฏิบัติ  เมื่อปฏิบัติไปอย่าง  แยบคาย  ก็จะเห็นต้นก�ำเนิดของความคิด  พอ  จิตมันตรึกนึก  ก็รู้ทัน  พอรู้ทัน  มันก็ไม่นึกขยาย  ออกไป  มันหยุดความปรุงแต่ง  พอปรุง - รู้ทัน  พอนึก - รู้ทัน  มันก็ไม่ไปไหน  ถ้ารู้ตรงบ่อยๆ ปล่อยวางถูกต้อง  จิตก็จะเกิดสมาธิข้ึนโดย 54 สติปัฏฐาน ๔

ธรรมชาต ิ ถา้ รทู้ จี่ ติ บอ่ ยๆ  รตู้ รงทคี่ วามปรงุ แตง่ บ่อยๆ  จะเกิดสมาธิข้ึนมา  โดยไม่ต้องจงใจเพ่ง สร้างสมาธิ  สมาธิจะเกิดข้ึนมาเอง  จะรู้สึกว่า  จิตใจดืม่ ด่�ำลงไปอกี ระดับหนงึ่   คือสงบ  ว่างลงไป  แตม่ นั เปน็ ความสงบ  วา่ งแบบมสี ภาวะ  วา่ งในทน่ี  ้ี หมายถึง  ว่างจากสมมติ  ว่างจากความส�ำคัญ  มั่นหมาย  จากความปรุงแต่ง  แต่มันเป็นสภาวะ เป็นธาตุรู้  เป็นสภาพรู้อยู่  เป็นระยะขณะหน่ึง  แล้วก็ปรุงได้อีก  ขอฝากไว้ส�ำหรับท่านท่ีปฏิบัต ิ ถงึ จุดน้ ี ใหล้ องสังเกตสง่ิ เหลา่ นี้ดู บางท่านก็มีปัญหาเรื่องความเจ็บปวดทาง  รา่ งกาย นงั่ ไปแลว้ รสู้ กึ มนั ปวด มนั ทกุ ขท์ างรา่ งกาย  จะทำ� อยา่ งไร  เวลามที กุ ขเวทนา  เราจะทำ� อยา่ งไร  การเจรญิ วปิ สั สนานนั้ จะตอ้ งรทู้ กุ ข ์ แลว้ ปลอ่ ยวาง เขมรังสี  ภิกขุ 55

ในทุกข์  ทุกขเวทนาเกิดข้ึนที่ร่างกาย  สติระลึกรู ้ แลว้ ดจู ติ   เหมอื นกบั วา่ จะพยายามรกั ษาจติ   ไมใ่ ห ้ จิตไปกระวนกระวายกับทุกข์ทางร่างกาย  คือ  ปวดก็รู้ว่าปวด  แต่ใจก็วางเฉย  ไม่เกร็งตัว  ถ้าเรา  เกร็ง  แสดงว่ายังไม่ปล่อยวาง  ต้องหัดปล่อยวาง คอื   ยอมรบั สภาพทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งโดยดษุ ณยี ภาพ  ไม่ฝนื   ไม่เกร็งตวั   จติ ใจไมโ่ อดครวญ  ไมห่ ว่ันไหว  ท�ำเหมือนไม่มีอะไรเกิดข้ึน  รับรู้อยู่  ปวดก็รู้อยู่  แต่วางอย่างยอมรับ  สติระลึกรู้จิตใจ  รักษาจิตใจ  ซง่ึ เรากอ็ าจจะทำ� ไดร้ ะยะหนง่ึ   พอสตมิ นั หมดกำ� ลงั   ก็ไม่ไหว  แต่ถ้าเราหัดท�ำบ่อยๆ  เข้า  ก็จะวางได ้ เก่งขึ้น  จากการปวดระดับน้ีท�ำได้  ปวดมากข้ึน  ท�ำไม่ไหว  พอฝึกบ่อยๆ  เข้า  แม้ปวดมากก็ท�ำใจ  วางเฉยได้ 56 สติปัฏฐาน ๔

ถา้ เราฝกึ บอ่ ยๆ  อยา่ งน ี้ กจ็ ะรสู้ กึ เหมอื นมนั   แยกจิตออกจากกัน  กายก็ส่วนหนึ่ง  จิตใจก็ส่วน  หน่ึง  ก็จะรู้สึกว่าไม่ต้องทุกข์ทรมานทางจิตใจ  จะเป็นประโยชน์ในเวลาที่เจ็บป่วยจริงๆ  จะรู้จัก  วางเฉย  ใจเป็นปกติ  ไม่ถึงขนาดโอดครวญทาง  จิตใจ  ร้องห่มร้องไห้  ให้หัดฝึกจากการที่เรา  นั่งกรรมฐาน  พอเราน่ังไปนานๆ  ก็ปวด  แล้วก็  เปน็ การปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนา  เวลาปวดกร็ วู้ า่ ปวด  ดจู ติ   ดูใจ  ดูกาย  ดูสภาวธรรมต่างๆ บางท่านปฏิบัติไป  มีสมาธิ  มีปีติเกิดข้ึน  ท�ำให้มีอาการต่างๆ  เช่น  ท�ำให้ตัวเบา  ตัวโยก  ตวั โคลง  ตวั สงู   ตวั ใหญ ่ เสยี วแปลบ๊ ปลา๊ บ  ทำ� ให้  ขนลุก  ท�ำให้น้�ำตาไหล  หรือเหมือนมีอะไรมา  ไต่ใบหน้า  เหล่าน้ีเป็นอาการของปีติ  ก็ให้รู้ว่า  เขมรังสี  ภิกขุ 57

เป็นธรรมดาของการปฏิบัติ  แสดงว่าเรามีสมาธ ิ จงึ มปี ตี เิ กดิ ขน้ึ  วธิ ดี ำ� เนนิ สตติ อ่ ไปคอื  รบั รรู้ บั ทราบ ด้วยความไม่ต่ืนเตน้   ไม่ยินดยี นิ รา้ ย  รู้ใหเ้ ทา่ ทนั   มันก�ำลังมีปีติ  ก็ดูอาการปีติ  ถ้าเรารู้ท่ีจิตใจแล้ว  อาการเหล่านั้นกจ็ ะคลายตวั และหายไป ส่วนที่เราดูว่าตัวมันสูง  มันใหญ่  มันพอง  เพราะเราไปดูรูปร่างสัณฐาน  ต้องฝึกเข้าไปรู้  ปรมัตถ์  คือดูในความรู้สึก  อย่าไปดูขยายเป็นรูป  เป็นร่าง  ถ้าขยายเป็นรูปร่าง  จะรู้สึกว่าตัวมันสูง  มันใหญ่  มันพอง  แขนไปอย่างน้ัน  ขาไปอย่างนี้  ใหด้ คู วามรสู้ กึ ภายใน ดจู ติ ดใู จ ไมเ่ หน็ เปน็ รปู รา่ ง ตัวเอง  ฉะน้ัน  ต้องดูสภาวะในจิตใจต่างๆ  ก็จะ  ทำ� ใหเ้ หน็ ลกั ษณะของจติ   เหน็ ลกั ษณะของสภาวะ  มีความเกิด  มีความเสื่อม  มีความดับไป  มีสภาพ  58 สติปัฏฐาน ๔

ไมใ่ ชต่ ัว  ไม่ใชต่ น ปฏิบัติ  เพ่ือต้องการให้เห็นความจริง ละความเห็นผิดต่างๆ  ที่เคยยึดถือวา่ เป็นตวั เรา ของเรา เปน็ ของเทยี่ ง เปน็ ของสวยงาม เปน็ สขุ สิ่งเหล่าน้ีต้องถอดถอนโดยการรู้แจ้งแทงตลอด ว่าสภาวะต่างๆ  มันไม่เท่ียงจริงๆ  บังคับไม่ได้ จรงิ ๆ  เกดิ ดบั   เปน็ ทกุ ขจ์ รงิ ๆ  เมอื่ เหน็ ประจกั ษ์ ดว้ ยจติ ใจของตวั เองแลว้   มนั กจ็ ะถอนคนื ปลอ่ ย วางความยึดมั่นถือม่ันได้  ซึ่งจะเป็นหนทางสู่ ความดบั ทกุ ข์ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ส่วนการเจริญสติในชีวิตประจ�ำวัน  ให้  หดั ใสใ่ จในอริ ยิ าบถใหญ ่ ไดแ้ ก ่ การยนื   เดนิ   นง่ั   นอน  เช่น  ในการเดิน  ก็หัดระลึกรู้สึกตัวในการ  เขมรังสี  ภิกขุ 59

เดนิ   เราเดนิ อยทู่ กุ วนั   เดนิ แบบไมม่ สี ตกิ ย็ งั เดนิ ได ้ ใชไ่ หม  เชน่   ขณะทเี่ ดนิ ไป  จติ กค็ ดิ ไปถงึ เรอ่ื งตา่ งๆ  แต่ขาก็ยังก้าวไปได้  หรือเดินจะไปว่าคนน้ันคนน ้ี เดนิ ไปดว้ ยความโกรธ  ความโลภ  ความหลง  กย็ งั   เดินไปได้  เราลองเปลี่ยนมาเป็นเดินโดยมีสติบ้าง  ไมไ่ ดห้ รอื   เดนิ ไปอยา่ งมคี วามรเู้ นอื้ รตู้ วั   โดยใหมๆ่   เราอาจจะฝกึ อยา่ งนน้ี ะ  เดนิ กา้ วไปใหร้ .ู้ ..  กา้ วไป  ใหร้ .ู้ ..  ขาแกวง่ ไปใหร้ .ู้ .  แขนแกวง่ ใหร้ .ู้ ..  ลำ� ตวั ไหว  ใหร้ .ู้ ..  ศรี ษะไหวใหร้ .ู้ ..  หมนั่ สงั เกตรา่ งกายของเรา  จะทำ� ใหจ้ ติ ใจเราอยกู่ บั เนอื้ กบั ตวั อยเู่ สมอๆ  อยา่ งน ี้ เป็นการเจรญิ สต ิ กศุ ลจะเกดิ ข้ึนทลี ะขณะๆ นอกจากน้ีก็ยังต้องใส่ใจในอิริยาบถย่อย ต่างๆ  ด้วย  เช่น  การคู้  เหยียด  เคล่ือนไหว  การพูด  การจับ  การยก  การก้ม  การเงย  การ  60 สติปัฏฐาน ๔

เหลียวซ้าย  แลขวา  ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาใน  ชวี ติ ประจำ� วนั   แทนทจ่ี ะเหลยี วไปมาอยา่ งไมร่ เู้ นอ้ื   รู้ตัว  ก็หัดรู้สึกในการก้ม  ในการเงยต่างๆ  ใหม่ๆ  ก็รู้แบบบัญญัติไปก่อน  รู้ว่าก้ม  รู้ว่าเงย  รู้ว่า  เหลยี วซา้ ย  แลขวา  รวู้ า่ จบั   รวู้ า่ กำ� ลงั ทำ� อะไรอย ู่ เหล่านี้เป็นการเจริญสติ  แต่ก็ยังเป็นบัญญัติอยู ่ แต่ต่อไปต้องพยายามปล่อยบัญญติ  มารู้สภาวะ  ปรมตั ถ ์ รปู้ รมตั ถ ์ คอื รคู้ วามรสู้ กึ   สภาวะปรมตั ถ ์ ทางกายก็จะมีความรู้สึกทางกาย  เช่น  รู้เย็นบ้าง  ร้อนบ้าง  อ่อนบ้าง  แข็งบ้าง  หย่อนบ้าง  ตึงบ้าง  ตอ้ งหดั สงั เกตลกึ ซงึ้ ไปถงึ ความรสู้ กึ ของการเคลอ่ื น  ไหว  และของการกระทบ  เช่น  ในขณะท่ีก้มเงย  เหลียวซ้ายแลขวา  จะมีตึงๆ  หย่อนๆ  ไหวๆ  ใน  กล้ามเน้ือตามตัว  ปากที่หุบบ้าง  อ้าบ้าง  กลืน  น้�ำลาย  ที่คอบีบรัดก็รู้สึก  หรือตาท่ีกะพริบๆ  เขมรังสี  ภิกขุ 61

ลกู ตากลอกกลง้ิ   กระทบเปลอื กตาไหวๆ  หรอื อยา่ ง  เวลาจับอะไร  เม่ือก่อนเคยรู้แต่จับ  แต่ท่ีจริงแล้ว  พอจับปุ๊บ  ลองสังเกตความรู้สึกที่กระทบ  จะพบ  ว่า  มีเย็น  มีร้อน  มีอ่อน  หรือมีแข็ง  อันนี้แหละ  เปน็ ตวั สภาวะ  เปน็ ปรมตั ถธรรม  ถา้ ระลกึ รอู้ ยา่ งน้ี  ไดก้ ็เป็นวิปัสสนา  เป็นการร้ทู ีก่ าย ให้เริ่มสังเกตที่ร่างกายก่อน  ก็เพราะกาย เป็นของหยาบ  รไู้ ดง้ ่าย  จงึ ให้รูก้ ายไปกอ่ น  ขัน้ ต่อไปก็ให้หัดรู้ใจ  เพราะความส�ำคัญของการ ปฏิบัติ  ท่ีสุดแล้วก็คือต้องให้มีการระลึกรู้ถึงที่ จิตใจว่า  ใจรู้สึกอย่างไร  ในแต่ละขณะๆ  ใจด ี ใจไมด่  ี ใจคดิ   ใจนกึ   เสยี ใจ  ดใี จ  หรอื เฉยๆ  หรอื   หงุดหงิด  มีความขุ่นมัว  หรือผ่องใส  สบายใจ  ไมส่ บายใจ  สงบ  ไมส่ งบ  วติ ก  วจิ าร  วจิ ยั   สงสยั   62 สติปัฏฐาน ๔

พอใจ  ไม่พอใจ  เป็นต้น  ให้หมั่นมีสติระลึกรู้ เท่าทันในปัจจุบันอารมณ์เหล่าน้ัน  ด้วยความ ปล่อยวางอยู่เสมอ  ก็เท่ากับได้ดูแลรักษาจิตใจ  ให้เป็นปกติ  แล้วก็เป็นการสะสมสติสัมปชัญญะ  บอ่ ยๆ  เนืองๆ  เพื่อความสมบูรณข์ องสติปัญญา พระพุทธองค์ทรงแสดงถึงอานิสงส์ของผู้ท ่ี เจรญิ สตปิ ฏั ฐาน  ๔  อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง  แมเ้ พยี ง  ๗  วนั   ก็สามารถบรรลุอรหัตตผลได้ในปัจจุบัน  หากว่า  ยังมีกิเลสเหลืออยู่เบาบาง  ก็สามารถบรรลุเป็น  อนาคามบี ุคคลได้ ตามทไ่ี ดบ้ รรยายมากส็ มควรแกเ่ วลา  ขอยตุ  ิ ไว้แต่เพียงเท่านี้  ขอความสุขความเจริญในธรรม  จงมีแกท่ ุกท่าน  เทอญ. เขมรังสี  ภิกขุ 63

“การฝึกหัดปฏิบัติ ให้มคี วามรตู้ วั ไปอยา่ งปกติ ปลอ่ ยวางอยใู่ นที  อย่าให้มนั ทะยานอยาก ทำ� ให้สบายๆ ผ่อนคลาย  แตก่ ต็ ้องมสี ติ รไู้ ว้เสมอๆ  ไม่ใช่ปล่อยใจใหเ้ ลอ่ื นลอยไปเร่อื ย”



บกวํ ชา เหน กน ขดมั  กม  าภ  รา วปน  ฏา ิ บ   ั ปติ ี ธ  ๒ร ๕ร ๖ม๒ ณ  วัดมเหยงคณ์  ต.หนั ตรา   อ.พระนครศรีอยุธยา   จ.พระนครศรอี ยุธยา ที่ วันสำ� คญั พธิ ี ก�ำหนดวนั บวช และลาสิกขา วันเสาร์ท ี่ ๑๖  ก.พ.  ๖๒ (ขึ้น  ๑๒  ค�่ำ  เดอื น  ๓) ๑ วันมาฆบูชา บวช วันพุธท ่ี ๒๐  ก.พ.  ๖๒ (แรม  ๑  ค่ำ�   เดือน  ๓) ลาสกิ ขา วนั ศุกรท์ ี ่ ๑๒  เม.ย.  ๖๒ (ขนึ้   ๘  ค�ำ่   เดือน  ๕) วันจันทร์ ๑๕  เม.ย.  ๖๒ (ขน้ึ   ๑๑  คำ่� เดอื น  ๕) ๒ วันสงกรานต์ บวช วันศุกร์ท่ ี ๑๗  พ.ค.  ๖๒ (ขึ้น  ๑๔  ค่ำ�   เดอื น  ๖) ลาสิกขา วันจนั ทร์ท ี่ ๒๐  พ.ค.  ๖๒ (แรม  ๒  คำ�่   เดือน  ๖) วนั เสาร์ท่ี ๑๓  ก.ค.  ๖๒ (ขึน้   ๑๔  ค�ำ่   เดอื น  ๘) ๓ วันวิสาขบชู า บวช วนั พธุ ท่ี ๑๗  ก.ค.  ๖๒ (แรม  ๑  ค่�ำ  เดือน  ๘) ลาสกิ ขา วนั ศุกรท์ ่ ี ๒๖  ก.ค.  ๖๒ (แรม  ๑๐  ค�ำ่   เดือน  ๘) วันจันทรท์ ี ่ ๒๙  ก.ค.  ๖๒ (แรม  ๑๓  คำ�่   เดือน  ๘) ๔ วันอาสาฬหบชู า บวช วันเสาร์ท่ ี ๑๐  ส.ค.  ๖๒ (ขึน้   ๑๐  ค�่ำ  เดอื น  ๙) วันเข้าพรรษา ลาสกิ ขา วันองั คารท่ี ๑๓  ส.ค.  ๖๒ (ขึ้น  ๑๓  คำ�่   เดือน  ๙) ๕ วันเฉลมิ พระชนม- บวช พรรษา ร.๑๐ ลาสิกขา ๖ วนั แมแ่ หง่ ชาติ บวช ลาสกิ ขา

วันออกพรรษา บวช วันศุกรท์ ี่ ๑๑  ต.ค.  ๖๒ (ขน้ึ   ๑๓  ค�ำ่   เดอื น  ๑๑) ๗ และ วนั คลา้ ย ลาสกิ ขา วันจนั ทรท์ ่ี ๑๔  ต.ค.  ๖๒ (แรม  ๑  คำ่�   เดอื น  ๑๑) วันสวรรคต ร.๙ บวช วันอังคารที่ ๓  ธ.ค.  ๖๒ (ขึน้   ๗  ค่�ำ  เดือน  ๑) ๘ วันพ่อแหง่ ชาติ ลาสกิ ขา วนั ศกุ ร์ท ี่ ๖  ธ.ค.  ๖๒ (ขึน้   ๑๐  ค�ำ่   เดือน  ๑) บวช วันจันทร์ท่ี ๓๐  ธ.ค.  ๖๒ (ข้ึน  ๕  ค�่ำ  เดอื น  ๒) ๙ วันขน้ึ ปีใหม่ ลาสกิ ขา วนั พฤหสั ท ่ี ๒  ม.ค.  ๖๓ (ขึ้น  ๘  ค�ำ่   เดอื น  ๒) บวชเนกขมั มภาวนาในช่วงเทศกาล  (วันสำ� คัญของชาต ิ ศาสนา  พระมหากษตั รยิ ์  และ  วนั ประเพณีไทย) •  พิธบี วช  มวี นั ละ  ๓  รอบ  คอื   ๑ เวลา  ๑๒.๐๐  น.  (วันแรกเวลา  ๑๐.๐๐  น.)   ๒ เวลา  ๑๕.๓๐  น.    ๓    เวลา  ๒๑.๐๐  น.  [ผ้จู ะบวชตอนบา่ ย  และคำ�่ ได ้ ตอ้ งไมไ่ ดร้ ับประทานอาหาร  ในเวลาวกิ าล  (เลยเท่ียงวัน)] บวช• เพนิธกลี ขามั สมิกภขาา วมนีวานั ปละร ะ๑จ �ำรวอันบ  (คนืออ  เกวเลทาศ  ๐ก๖าล.๐)๐  บนว.ชไดท้ ุกวัน •  พิธบี วชเวลา  ๐๙.๐๐  น.

ก�ำหนดการอปุ สมบทหมู่พระภิกษุ ประจ�ำปี   ๒๕๖๒ ณ   วดั มเหยงคณ ์  ต.หันตรา อ.พระนครศรอี ยุธยา   จ.พระนครศรีอยธุ ยา ท่ี เดือน วันพธิ ีอปุ สมบท ๑ มกราคม วันอาทิตย์ท่ี ๖ มกราคม ๒๕๖๒ ๒ กุมภาพนั ธ์ วนั เสารท์ ี่ ๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๒ ๓ มนี าคม วนั เสาร์ท่ี ๑๖ มนี าคม ๒๕๖๒ ๔ เมษายน วนั อาทิตยท์ ่ี ๗ เมษายน ๒๕๖๒ ๕ พฤษภาคม วันเสาร์ที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ๖ มถิ ุนายน วันเสารท์ ี่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๒ ๗ กรกฎาคม วันอาทิตยท์ ี่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒ (บวชอยู่จ�ำพรรษา ๓ เดือน) ๘ พฤศจกิ ายน วนั เสารท์ ี่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ๙ ธันวาคม วนั อาทิตยท์ ่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๒ ๑๐ ธันวาคม วนั จนั ทร์ท่ี ๒ ธันวาคม ๒๕๖๒ (ชาวศรีลงั กา) หมายเหต ุ :  อุปสมบทแล้ว  ต้องเข้าปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน ในวันถัดไป  จนถงึ วนั ลาสิกขา สมคั รไดท้ ี่  :  คณุ สมพงษ์ คงศริ ิถาวร โทร. ๐๘๑-๘๕๓-๕๖๖๙

กำ� หนดการอบรมวิปัสสนากรรมฐาน ประจ�ำปี   ๒๕๖๒ ณ   ส�ำนักปฏิบัตธิ รรมประจ�ำจังหวัด วัดมเหยงคณ์ คนใหม่ วนั ศุกร์ท ี่ ๑๑  -  วนั ศกุ ร์ที่  ๑๘  มกราคม  ๒๕๖๒ คนใหม่ วนั เสารท์ ี่  ๒  -  วันเสารท์ ่ ี ๙  กุมภาพันธ ์ ๒๕๖๒ คนเก่า วนั เสาร์ที่  ๑๖  -  วนั เสารท์ ี ่ ๒๓  มนี าคม  ๒๕๖๒ คนใหม่ วันเสาร์ท่ี  ๒๐  -  วนั อาทิตย์ท่ี  ๒๘  เมษายน  ๒๕๖๒ คนใหม่ วันเสารท์ ี ่ ๔  -  วันอาทติ ย์ที ่ ๑๒  พฤษภาคม  ๒๕๖๒ คนเกา่ วันเสาร์ท ่ี ๑  -  วนั อาทิตย์ท ่ี ๙  มิถุนายน  ๒๕๖๒ คนใหม่ วนั เสารท์  ่ี ๒๐  -  วนั เสาร์ท่ ี ๒๗  กรกฎาคม  ๒๕๖๒ คนใหม่ วันพฤหสั ท่ี  ๑    -  วันศุกร์ที ่ ๙  สิงหาคม  ๒๕๖๒  คนเก่า วันเสารท์ ี่  ๗  -  วนั อาทิตย์ท่ ี ๑๕  กันยายน  ๒๕๖๒ คนใหม่ วนั องั คารที ่ ๑  -  วนั องั คารที ่ ๘  ตลุ าคม  ๒๕๖๒ คนใหม่ วนั อังคารที่  ๑๒  -  วนั อังคารท่ี  ๑๙  พฤศจกิ ายน  ๒๕๖๒ คนเกา่ วนั อาทติ ยท์ ่ ี ๑๕ -  วนั อาทิตย์ท ่ี ๒๒  ธันวาคม  ๒๕๖๒ เขมรังสี  ภิกขุ 69

หลกั เกณฑก์ ารรบั สมคั ร  • รับสมัครเฉพาะผู้มีความตั้งใจจริงๆ  ในการจะ  อบรมเจริญสตปิ ัญญา  เท่าน้ัน • รบั รนุ่ ละ  ๑๐๐  ทา่ น  ทงั้ ชาย - หญงิ   ทงั้ คฤหสั ถ์  และบรรพชิต • คนใหม ่ เข้ารอบ  คนใหม่ • คนเก่า  เข้ารอบ  คนเก่า • คนใหม ่ คอื ผทู้ ยี่ งั ไมเ่ คยเขา้ ปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรม-  ฐาน คอรส์  ๗ วนั ขน้ึ ไป ทม่ี  ี พระภาวนาเขมคณุ   (สรุ ศักดิ์  เขมรังสี)  เปน็ พระวิปัสสนาจารย ์ • คนเก่า  คือผู้ท่ีเคยผ่านการเข้าปฏิบัติวิปัสสนา  กรรมฐาน  คอรส์   ๗  วนั ขนึ้ ไป  ทม่ี  ี พระภาวนา-  เขมคณุ   (สรุ ศกั ด ิ์ เขมรงั ส)ี   เปน็ พระวปิ สั สนา-  จารย ์ 70 สติปัฏฐาน ๔

หมายเหตุ  • สมัครเข้าปฏิบัติได้เพียงปีละ  ๑  ครั้งเท่าน้ัน  ท้ังคนเก่าและคนใหม่  เพื่อเผื่อแผ่ให้ท่ัวถึงกัน  เนื่องจากมีผู้สนใจสมัครเข้าปฏิบัติกรรมฐาน  เป็นจ�ำนวนมาก  แต่ท่านสามารถสมัครเข้า  ปฏิบัติได้ตามสาขาของวัดมเหยงคณ์  หรือ  ท่ีอื่นๆ  ท่ีมี  พระภาวนาเขมคุณ  (สุรศักด์ิ  เขมรงั ส)ี   ไปเป็นพระวปิ ัสสนาจารย์ เปิดรบั สมัคร • เปิดรับสมัครก่อนวันเข้าอบรม  ๓  เดือน  (ใน  แต่ละคอร์ส  จองได้ล่วงหน้าไม่เกิน  ๓  เดือน  ตัวอย่างเช่นเข้าอบรมเดือนเมษายน  ให ้ เร่ิมสมัครได้ต้ังแต่  ๑  มกราคม  ๒๕๖๒  เปน็ ต้นไป)  เขมรังสี  ภิกขุ 71

การสมคั ร • การสมัครตอ้ งกรอกใบสมัครล่วงหน้า  ขอใบสมคั รไดท้  ่ี วดั มเหยงคณ์ (แผนกบรหิ ารกรรมฐาน) • E-mail  :  www.watmaheyong.org  www.mahaeyong.org หรือที่ Line Id  :  @irl4197f หลักฐาน • ส�ำเนาบัตรประชาชน / รูปถ่าย  ส�ำหรับติด  ใบสมัคร  ขนาด  ๑  นิว้   จำ� นวน  ๑  รูป วนั เปิดการอบรม • ลงทะเบยี นเขา้ ปฏบิ ตั  ิ เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. • ปฐมนิเทศ  เวลา  ๐๙.๐๐  น. • พิธเี ขา้ กรรมฐาน  เวลา  ๑๐.๐๐  น. 72 สติปัฏฐาน ๔

วนั ปดิ อบรม • พิธอี อกกรรมฐาน  เวลา  ๐๖.๓๐  น. หมายเหตุ • ผู้เข้าอบรมต้องไปให้ทันตามเวลาท่ีก�ำหนด  ในวันเปิดอบรม  และต้องอยู่ปฏิบัติจนครบ  ถงึ วนั ปดิ อบรม • เมื่อสมัครเข้าอบรมแล้ว  ต้องการจะยกเลิก  ต้องแจ้งให้ทางวัดทราบอย่างช้าก่อนก�ำหนด  เปิดอบรม  ๗  วัน  มิฉะน้ันจะถูกตัดสิทธิ์ใน  ครง้ั ตอ่ ไป เขมรังสี  ภิกขุ 73

คอร์สปฏบิ ัตวิ ิปสั สนากรรมฐาน   พเิ ศษ  ปี ๒๕๖๒ ใชว้ ดี ีทศั น ์  และซีดี   เสียงธรรม ของหลวงพอ่ สุรศักดิ์  เทา่ นน้ั (หลวงพอ่ ไมไ่ ด้ลงสอน) ณ   ส�ำนกั ปฏบิ ัตธิ รรมประจ�ำจังหวัด   วัดมเหยงคณ์ ๑ วันพฤหัสท ่ี ๒๑ -  วนั พฤหสั ท่ี  ๒๘  กุมภาพนั ธ ์ ๒๕๖๒ ๒ วันศกุ รท์ ี่  ๒๔ -  วันศกุ รท์  ี่ ๓๑  พฤษภาคม  ๒๕๖๒ ๓ วนั เสาร์ที ่ ๑๕ -  วนั เสาร์ท่ ี ๒๒  มิถนุ ายน  ๒๕๖๒ ๔ วันจันทร์ที่  ๒๓ -  วนั จันทร์ท ี่ ๓๐  กันยายน  ๒๕๖๒ ๕ วนั เสารท์  ่ี ๑๙ -  วันอาทิตยท์ ่ี  ๒๗  ตุลาคม  ๒๕๖๒ ๖ วันเสารท์ ี่  ๒๓ -  วนั เสาร์ท่ ี ๓๐  พฤศจิกายน  ๒๕๖๒ หมายเหต ุ :  รบั เฉพาะผปู้ ฏิบตั ิเก่าที่ผา่ นการเขา้ ปฏบิ ัติวิปัสสนา  คอร์สของหลวงพอ่ สรุ ศกั ดม์ิ าแล้ว  อยา่ งนอ้ ย  ๓  ครั้ง 74 สติปัฏฐาน ๔

กำ�หนดการอบรมวิปสั สนากรรมฐาน รนุ่ พิเศษ   ปี   ๒๕๖๒ โดยมีพระภาวนาเขมคณุ   (สุรศกั ดิ ์ เขมรงั สี)  เปน็ พระวิปสั สนาจารย์ • ณ   บา้ นทรงไทย   สุขรวยเจริญ ๖๒/๒   หมู่ ๒   ต.หันสัง   อ.บางปะหนั จ.พระนครศรีอยธุ ยา   ๑๓๒๐๐ วนั ท่ ี  ๒ - ๙   มกราคม   ๒๕๖๒ สมัครท่ี   บ้านทรงไทย   สุขรวยเจริญ โทรศพั ท์   ๐๖-๓๕๑๙-๔๙๖๒,   ๐๖-๒๙๙๖-๓๖๒๖ เขมรังสี  ภิกขุ 75

• ณ   ศูนย์วิปสั สนายวุ พุทธฯ   เขมรังส ี  (ศนู ย์ ๔) ต.บา้ นชงุ้    อ.นครหลวง   จ.พระนครศรอี ยธุ ยา   ๑๓๒๖๐ วนั ที ่  ๔ - ๑๑   มกราคม   ๒๕๖๒ สมัครท ่ี  ศูนย์วปิ ัสสนายุวพุทธกิ สมาคม แหง่ ประเทศไทย   (ศนู ย์ ๑) ฝา่ ยกจิ กรรม   โทรศพั ท์   ๐-๒๔๕๕-๒๕๒๕ • ณ   ส�ำนักกรรมฐาน   พระธาตแุ สนเมอื ง (ปฏิบตั ิธรรมสมโภชเจดยี )์ ต.เวียง   อ.เชยี งแสน   จ.เชียงราย   ๕๗๑๕๐ วันที่   ๑๘ - ๒๑   มกราคม   ๒๕๖๒ สมคั รท ี่  แผนกบริหารกรรมฐาน   วัดมเหยงคณ์ โทรศพั ท์   ๐-๓๕๘๘-๑๖๐๑ - ๒,   ๐๘-๒๒๓๓-๓๘๔๘ • ณ   อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาลำ� ป ี - หาดทา้ ยเหมือง หมทู่ ี่ ๕   ต.ทา้ ยเหมือง   อ.ทา้ ยเหมือง   จ.พงั งา   ๘๒๑๒๐ วนั ที่   ๑๙ - ๒๕   มกราคม   ๒๕๖๒ สมัครท ่ี  ชมรมพุทธรกั ษาเพอื่ พระพทุ ธศาสนา ๖๕/๕๖๔   ซ.๑๗   หมบู่ า้ นภูเกต็ วลิ ล่า  สวนหลวง หมู่ ๒   ต.วชิ ิต   อ.เมืองภูเกต็    จ.ภเู ก็ต   ๘๓๐๐๐ คุณณัฐกานต์ รว่ มยอด โทรศัพท ์  ๐๙-๙๕๖๕-๑๙๙๓,   ๐๙-๖๙๙๕-๕๖๒๘ [email protected]

• ณ   สำ� นักกรรมฐาน   วดั บุง่ อา้ ยเจี้ยม ต.ระบำ�    อ.ลานสัก   จ.อทุ ยั ธาน ี  ๖๑๑๖๐ วนั ท ี่  ๒๖ - ๓๑   มกราคม   ๒๕๖๒ สมคั รท ี่  แผนกบรหิ ารกรรมฐาน   วัดมเหยงคณ์ โทรศพั ท ์  ๐-๓๕๘๘-๑๖๐๑ - ๒,   ๐๘-๒๒๓๓-๓๘๔๘ • ณ   สวนธรรมศรปี ทุม ต.ท้ายเกาะ   อ.สามโคก   จ.ปทมุ ธานี   ๑๒๑๖๐ วันท่ ี  ๖ - ๘   กมุ ภาพนั ธ์   ๒๕๖๒ สมัครที่   คุณพชั ราภรณ์ อรรถศรีศกั ด์ิ โทรศัพท์   ๐๘-๙๐๗๘-๖๓๖๓ • ณ   ส�ำนักกรรมฐาน   ดอยเวียงโขง ต.เวียง   อ.เชียงแสน   จ.เชียงราย   ๕๗๑๕๐ วันท่ ี  ๙ - ๑๖   กมุ ภาพันธ์   ๒๕๖๒ สมัครท ่ี  แผนกบรหิ ารกรรมฐาน   วดั มเหยงคณ์ โทรศัพท์   ๐-๓๕๘๘-๑๖๐๑ - ๒,   ๐๘-๒๒๓๓-๓๘๔๘ เขมรังสี  ภิกขุ 77

• ณ   อาคารโพธญิ าณมหาวิชชาลัย   พุทธมณฑล นครปฐม วนั ที่   ๒๒ - ๒๔   กุมภาพันธ์   ๒๕๖๒ สมคั รที่   ทพ.แสงชัย โสภณสกุลสขุ โทรศัพท์   ๐๘-๖๓๐๓-๑๓๐๒,   ๐๘-๑๒๔๓-๒๔๖๙ หรอื ท ี่  คณุ ธรี พล เปาจนี    โทรศพั ท ์  ๐๘-๑๙๘๑-๘๓๙๖ • ณ สาลโนทยาน   (ทพี่ ระพทุ ธเจ้า เสดจ็ ดับขันธปรนิ ิพพาน)   กุสนิ ารา   ประเทศอินเดยี วันที ่  ๒๖   กุมภาพนั ธ์ - ๖   มีนาคม   ๒๕๖๒ ติดตอ่ สอบถาม   สมัครได้ที่ คณุ สุปราณี (ติ๋ม) เจรญิ ศรีสมจติ ร โทรศัพท ์  ๐๘-๕๑๘๑-๕๔๕๘,   ๐๘-๗๐๘๗-๕๗๕๖ • ณ   สำ� นักกรรมฐาน   ปรมัตถภาวนา (ดอยภโู อบ) ต.สะลวง   อ.แม่รมิ    จ.เชียงใหม ่  ๕๐๓๓๐ คร้งั ที่ ๑   วนั ท่ ี  ๘ - ๑๕   มีนาคม   ๒๕๖๒ คร้ังที่ ๒   วันท ่ี  ๒๓ - ๓๐   มีนาคม   ๒๕๖๒ สมคั รที่   ทพ.แสงชัย โสภณสกุลสขุ โทรศัพท ์  ๐๘-๖๓๐๓-๑๓๐๒,   ๐๘-๑๒๔๓-๒๔๖๙ หรอื ท ี่  คณุ ธรี พล เปาจนี    โทรศพั ท ์  ๐๘-๑๙๘๑-๘๓๙๖

คอรส์ กรรมฐาน  ในแถบยุโรป • ณ   แบรก็ กาสเฮา้ ส ์  ซาลวเี ดล็ ล ่ี  ซาลวเี ดล็ ลส่ี ตราสเซ่ 6174    เซอเรน่ แบรก   ประเทศสวิตเซอร์แลนด ์ วนั ที ่  ๔ - ๙   มถิ ุนายน   ๒๕๖๒ • ณ   วดั พุทธาราม   เมอื งลดี ส ์  ประเทศองั กฤษ วันท่ี    ๑๐ - ๑๔   มิถนุ ายน   ๒๕๖๒ • ณ   วัดศรรี ตั นาราม   เมืองแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ วันท่ี   ๑๔ - ๑๗   มถิ นุ ายน   ๒๕๖๒ • ณ   วัดธรรมปทปี    สก๊อตแลนด์ วนั ท่ี   ๑๗ - ๒๐   มิถนุ ายน   ๒๕๖๒ • ณ   ประเทศไอร์แลนด์   ประเทศอังกฤษ วนั ที่   ๒๐ - ๒๕   มิถนุ ายน   ๒๕๖๒ • ณ   หมบู่ ้านแยดระโอส   เมืองโอ๊คเคน่ บู ประเทศสวีเดน วนั ท ี่  ๒๕ - ๒๙   มิถุนายน   ๒๕๖๒

• ณ   วัดพทุ ธบารมี   เมอื งมูสเซลิ คานาล ประเทศเนเธอร์แลนด์ วนั ที ่  ๒๙   มถิ นุ ายน - ๔   กรกฎาคม   ๒๕๖๒ • ณ   วัดพทุ ธาราม   เมอื งเซาร์เวอร์ลนั ด์    ประเทศเยอรมนี วันท่ี   ๔ - ๘   กรกฎาคม   ๒๕๖๒ • ณ   ส�ำนกั ปฏบิ ตั ธิ รรมประจ�ำจงั หวัด   วัดมเหยงคณ์ คณะนกั ศกึ ษาอภิธรรม   (เฉพาะนกั ศกึ ษาพระอภิธรรม) วนั ที ่  ๖ - ๑๓   กรกฎาคม   ๒๕๖๒ สมัครที ่  คณุ วนั ทนยี ์ บตุ รงามดี โทรศัพท ์  ๐๘-๑๙๐๗-๓๙๘๘ คณุ รัชนี กรี ติไพศาล   โทรศพั ท์   ๐๘-๑๗๐๑-๐๘๙๔ • ณ   สำ� นกั ปฏิบตั ิธรรมประจ�ำจังหวัด   วัดมเหยงคณ์ คณะการบินไทย   (เฉพาะทมี งานการบินไทย) วันท่ ี  ๑๓ - ๒๐   สงิ หาคม   ๒๕๖๒ สมัครท่ ี  คุณนำ�้ เพชร ศรีขาว โทรศัพท์   ๐๙-๒๔๒๐-๙๗๙๗ 80 สติปัฏฐาน ๔

• ณ   ส�ำนกั ปฏิบัติธรรมประจำ� จังหวัด   วดั มเหยงคณ์ เฉพาะหน่วยงานคุณธรรมและจริยธรรม คณะแพทย์ศาสตร ์  ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหดิ ล   กรุงเทพฯ วันที ่  ๒๑ - ๒๘   สงิ หาคม   ๒๕๖๒ สมคั รท ่ี  รศ.พญ.วลัยลักษณ์ ชัยสตู ร โทรศัพท ์  ๐๘-๙๑๔๔-๙๘๙๘ • ณ   สำ� นักปฏิบตั ิธรรมประจ�ำจงั หวดั    วัดมเหยงคณ์ คณะชมรมกลั ยาณธรรม (เฉพาะทีมงานชมรมกลั ยาณธรรม) วนั ที่   ๒๙   สิงหาคม - ๕   กันยายน   ๒๕๖๒ สมัครท ี่  ชมรมกลั ยาณธรรม โทรศัพท ์  ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ • ณ   สำ� นกั ปฏิบัติธรรมประจำ� จงั หวัด   วดั มเหยงคณ์ คณะชมรมศึกษาและปฏิบตั ิธรรม ธนาคารแห่งประเทศไทย วันที ่  ๑๙ - ๒๒   กนั ยายน   ๒๕๖๒ สมัครท่ี   คุณธวชั ชัย กติ ชิ ยั วัฒน์ โทรศัพท ์  ๐๘-๗๙๑๙-๖๘๓๑

• ณ   วัดป่าหวาย   (ปฏิบัตธิ รรมสมโภชเจดยี เ์ วียงหวาย) ต.บา้ นโป่ง   อ.พรา้ ว   จ.เชียงใหม่   ๕๐๑๙๐ วันที่   ๑๘ - ๒๐   ตลุ าคม   ๒๕๖๒ สมคั รท ี่  แผนกบริหารกรรมฐาน   วัดมเหยงคณ์ โทรศพั ท ์  ๐-๓๕๘๘-๑๖๐๑ - ๒,   ๐๘-๒๒๓๓-๓๘๔๘ • ณ   “สนั ติภาวนา”   สนั ตบิ รุ ี เลขที่ ๑๒   หมูท่ ี่ ๓   ถนนหวั คอย - สบเปา ต.เวียงชัย   อ.เวยี งชัย   จ.เชียงราย   ๕๗๒๑๐ วนั ที่   ๒๐ - ๒๗   ตุลาคม   ๒๕๖๒ สมัครท ี่  คุณศรีจนั ทร์ บุรวี งษ์ โทรศพั ท์   ๐๘-๑๙๔๐-๙๗๕๔ • ณ   ส�ำนกั กรรมฐาน   ทุ่งหนิ เทิน ต.ปางสวรรค ์  อ.ชมุ ตาบง   จ.นครสวรรค ์  ๖๐๑๕๐ วันท่ี   ๕ - ๑๐   พฤศจกิ ายน   ๒๕๖๒ สมัครท่ี   ทพ.แสงชัย โสภณสกุลสขุ โทรศพั ท์   ๐๘-๖๓๐๓-๑๓๐๒,   ๐๘-๑๒๔๓-๒๔๖๙ หรอื ท ี่  คณุ ธรี พล เปาจนี    โทรศพั ท ์  ๐๘-๑๙๘๑-๘๓๙๖ 82 สติปัฏฐาน ๔

• ณ ส�ำนกั กรรมฐาน เจตยิ บรรพต (ภผู าผ้งึ ) ต.สารภี   อ.โพธไ์ิ ทร   จ.อุบลราชธานี   ๓๔๓๔๐ วันท ี่  ๑๙ - ๒๔   พฤศจกิ ายน   ๒๕๖๒ สมคั รท่ี   ทพ.แสงชัย โสภณสกุลสุข โทรศพั ท ์  ๐๘-๖๓๐๓-๑๓๐๒,   ๐๘-๑๒๔๓-๒๔๖๙ หรอื ท ี่  คณุ ธรี พล เปาจนี    โทรศพั ท ์  ๐๘-๑๙๘๑-๘๓๙๖ • ณ   คุ้มบ้านภูผาหมอก   อ.ภกู ระดงึ    จ.เลย หมู่ ๔   บ้านผาสามยอด   ต.ผานกเคา้    อ.ภูกระดงึ จ.เลย ๓๔๒๑๘๐ วันที่   ๒๕ - ๓๐   พฤศจิกายน   ๒๕๖๒ สมัครท่ี   คุณเดน่ หลา้ ปาลเดชพงศ์ โทรศพั ท์   ๐๘-๑๘๘๙-๙๖๖๐ เขมรังสี  ภิกขุ 83



• ณ   ส�ำนักกรรมฐาน   ภูธารธรรม ต.วะตะแบก   อ.เทพสถิต   จ.ชัยภูมิ วนั ท่ ี  ๗ - ๑๔   ธันวาคม   ๒๕๖๒ สมัครท ่ี  แผนกบรหิ ารกรรมฐาน   วัดมเหยงคณ์ โทรศัพท์   ๐-๓๕๘๘-๑๖๐๑ - ๒,   ๐๘-๒๒๓๓-๓๘๔๘ • ณ   ส�ำนักปฏบิ ตั ธิ รรมประจ�ำจงั หวัด   วัดมเหยงคณ์ (กรรมฐานชาวศรลี ังกา) ต.หันตรา   อ.พระนครศรอี ยุธยา จ.พระนครศรีอยธุ ยา   ๑๓๐๐๐ วนั ท ่ี  ๒ - ๑๗   ธันวาคม   ๒๕๖๒ • วัดไทรพุทธรงั สี อ.อทุ ัย   จ.พระนครศรีอยุธยา   ๑๓๐๐๐ วันที ่  ๒๒ - ๒๙   ธนั วาคม   ๒๕๖๒ สมัครที่   ส�ำนกั งาน วัดไทรพทุ ธรงั สี โทรศัพท์   ๐๖-๑๕๔๒-๒๙๔๑ คณุ ปรยิ อร ร่มโพธภิ์ กั ดิ์ (น�้ำ) โทรศัพท ์  ๐๘-๔๕๒๖-๘๖๗๐ เขมรังสี  ภิกขุ 85

กำ� หนแดลกะางรากนิจบกญุ ร ร มป ี   ป๒ฏ๕ิบ๖ตั๒ิธรรม  ณ   วดั มเหยงคณ ์  และสาขา ที่ กจิ กรรม  ปฏบิ ตั ิธรรม  วนั   เดือน  ปี และงานบญุ งานอุทิศกศุ ลแดบ่ รรพชน ๑ กรงุ ศรีอยุธยา  ณ  วงั โบราณ วันพุธท่ี  ๒  ม.ค.  ๖๒ วัดพระศรสี รรเพชญ์ ๒ งานบญุ เดอื นเกดิ ทกุ วนั อาทติ ย์  ต้นเดือน ๓ อุปสมบทหมู่  พระภิกษุ ประจ�ำทุกเดือน (เวน้ ในพรรษาเพราะมีบวช อย่จู ำ� พรรษา  ๓  เดอื น) ๔ หนงึ่ วันแห่งการเรียนรู้ วนั อาทติ ยท์  ่ี ๑๓  ม.ค.  ๖๒ ณ  พุทธมณฑล  จ.นครปฐม บรรยายธรรม งานธรรมตามอำ� เภอใจ  ๕ ณ  วดั ญาณเวศกวัน วนั อาทติ ยท์  ่ี ๓  ก.พ.  ๖๒ เวลา  ๑๔.๐๐ - ๑๖.๐๐  น. อ�ำเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม งานเพลนิ ธรรม - น�ำปฏิบตั ิ ต่ืนรู้อย่กู ับปจั จบุ นั ๖ ณ  แฟชนั่ ไอสแ์ ลนด์ วันอาทติ ย์ที่  ๓๑  ม.ี ค.  ๖๒ จดั โดย  ชมรมต่นื รู้

บรรพชาสามเณร โกนหัว วันท่ี  ๔  เม.ย.  ๖๒ ๗ ภาคฤดรู อ้ น พธิ ีบวช วันที ่ ๗  เม.ย.  ๖๒ ลาสกิ ขา วันที่  ๒๑  เม.ย.  ๖๒ บวชศีลจาริณ ี - บวชชีน้อย วันเสาร์ท่ี  ๖  เม.ย.  ๖๒ วนั อาทติ ย์ท ี่ ๑๔  เม.ย.  ๖๒ ๘ แสดงธรรมท ่ี พทั ยา วนั เสาร์ที ่ ๑๙  ต.ค.  ๖๒ ๙ ทอดผา้ ป่าประจำ� ปี วันอาทิตยท์ ่ ี ๒๐  ต.ค.  ๖๒ ทอดกฐินสามคั คี วนั อาทิตยท์ ี่  ๒๗  ต.ค.  ๖๒ ๑๒ วัดปา่ หวาย  ต.บ้านโปง่ วันอาทติ ย์ท ี่ ๓  พ.ย.  ๖๒ อ.พรา้ ว  จ.เชยี งใหม่ วนั เสารท์ ่ี  ๑๐  พ.ย.  ๖๒ ทอดกฐนิ สามคั คี วันพธุ ท ี่ ๑  ม.ค.  ๖๓ ๑๓ ส�ำนักฯ  ดอยเวียงโขง อ.เชยี งแสน  จ.เชยี งราย ทอดกฐนิ สามคั คี ๑๔ ส�ำนักฯ  พระธาตแุ สนเมือง อ.เชียงแสน  จ.ชยั ภมู ิ ๑๐ ทอดกฐินสามัคคี วัดมเหยงคณ์ ทอดกฐินสามัคคี ๑๑ ส�ำนักฯ  ทงุ่ หนิ เทนิ อ.ชุมตาบง  จ.นครสวรรค์ ๑๕ ทอดผา้ ป่าสามัคคี  ปีใหม่



แ ผ น ที่ ว ั ด ม เ ห ย ง ค ณ์ วัดมเหยงคณ์ ต.หันตรา  อ.พระนครศรอี ยธุ ยา  จ.พระนครศรอี ยธุ ยา โทรศพั ท์  :  ๐๓๕-๘๘๑-๖๐๑-๒,  ๐๘๒-๒๓๓-๓๘๔๘ โทรสาร  :  ๐๓๕-๘๘๑-๖๐๓,  ๐๓๕-๘๘๑-๖๐๕ www.mahaeyong.org,  www.watmaheyong.org e-mail : [email protected]

ขอเชิญฟงั รายการธรรมสปุ ฏิปนั โน เสียงธรรมจากวัดมเหยงคณ์ ปรารภธรรมโดย พระภาวนาเขมคุณ  วิ.  (สรุ ศกั ด์ ิ เขมรสํ )ี ทางสถานวี ิทยทุ หารอากาศ  ๐๑  มีนบรุ ี คลน่ื   ๙๔๕   ระบบ  AM  ทกุ วัน วนั เสาร ์ - วนั อาทิตย ์  เวลา  ๐๔.๐๐-๐๕.๐๐  น. วันจันทร์ - วนั ศุกร์   เวลา  ๐๖.๐๐-๐๖.๓๐  น. หากประสงคจ์ ะทำ� บญุ สนบั สนุนการให้ธรรมเป็นทาน ขอเชิญท่านอปุ ถัมภร์ ายการได้ตามกำ� ลงั ศรัทธา โดยส่งเป็นธนาณตั /ิ ต๋ัวแลกเงิน/เช็คขดี ครอ่ ม ในนามของวดั มเหยงคณ์ หรอื โอนเขา้ บญั ชีธนาคารกรุงเทพ สาขาตลาดเจ้าพรหม   ประเภทสะสมทรัพย์ ชอื่ บญั ชี   วดั มเหยงคณ์ บัญชีเลขท่ ี  ๔๗๘-๐-๖๑๖๖๗๐ 90 สติปัฏฐาน ๔

โครธงรกรามระศขกึ อษงาว-ัดปมฏเหิบยัตงิ-คเผณย์ แผ่ ๑. จัดให้มีการเรียน การสอนพระปริยัติธรรม  ทั้งแผนกบาลี-บาลีศึกษา, แผนกนักธรรม-  ธรรมศึกษา, แผนกพระอภธิ รรม ๒. จัดอบรมวิปัสสนากรรมฐาน  รุ่นระยะเวลา  ๙  วัน  เป็นประจ�ำทุกๆ เดือน  ทั้งบรรพชิต  และคฤหสั ถ ์ ร่นุ ละ ๑๐๐ ท่าน ๓. จัดอบรมปฏิบัติธรรม  บวชเนกขัมมภาวนา  ในวันส�ำคัญชาติ  ศาสนา  พระมหากษัตริย์  และวันประเพณีไทย  ปีละ  ๘  คร้งั ๔. บวชถอื ศีล  ปฏบิ ตั ิธรรม เป็นประจำ� ทกุ วนั ๕. อุปสมบทหมู่  เพ่ืออบรมวิปัสสนากรรมฐาน  ทกุ เดือน ๖. บรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ้ น บวชศลี จาริณี - ชนี ้อย ๗. อบรมปฏิบัติธรรมพิเศษ  ให้กับหน่วยงานท้ัง  ภาครัฐและเอกชน  ทีข่ อเข้าอบรมเปน็ คณะ ๘. เผยแผ่ธรรมทางส่ือวิทยุ  โทรทัศน์  หนังสือ  ซีดี  อินเตอร์เนต  www.mahaeyong.org  และ  www.watmaheyong.org

วดั มเหยงคณ์เพ่ิมชอ่ งทาง การรบั ขา่ วสารและกิจกรรม ผ่าน  Application  Mahaeyong ใน  iOS  -  Andriod  ไดแ้ ล้ว เพียงพมิ พ์ค�ำวา่ mahaeyong  ใน  App  Store แล้วกดโหลด  ฟรี และพร้อมเปิดโอกาสให้ พทุ ธศาสนิกชนทกุ ท่าน ได้รับฟังธรรมบรรยาย และน�ำปฏิบตั กิ รรมฐานได้แล้ววันน้ี 92 สติปัฏฐาน ๔

วดั มเหยงคณเ์ พ่มิ ช่องทาง การรบั ข่าวสารและกจิ กรรม ผา่ น  Facebook ใหส้ มคั รเฟสบคุ๊   แลว้ พิมพค์ �ำวา่   วัดมเหยงคณ ์ ขา่ วสด  สาระธรรม แลว้ กดถกู ใจด้านบนเมนเู พจ  เพอื่ รับขา่ วสารธรรมะ เขมรังสี  ภิกขุ 93

วดั มเหยงคณเ์ พิม่ ช่องทาง การรับข่าวสารและกิจกรรม ผ่าน  Facebook ให้สมัครเฟสบ๊คุ   แล้วพมิ พค์ ำ� วา่   วัดมเหยงคณ ์ ธรรมโมวาท แล้วกดถกู ใจด้านบนเมนูเพจ  เพือ่ รับขา่ วสารธรรมะ 94 สติปัฏฐาน ๔

ขอเชญิ รว่ มสร้าง อุโบสถปราสาทพระบรมธาตุเจดีย์ มหาวหิ าร  วดั มเหยงคณ์ ความสำ� คัญ อุโบสถปราสาทพระบรมธาตุเจดีย์มหา วหิ าร วดั มเหยงคณ ์ นอกจากจกั เปน็ พุทธศาสน สถานประกอบสังฆกรรม ประดิษฐานพระบรม สารีริกธาตุ และพระพุทธรูปล้�ำค่าควรแก่การ สักการะสูงสุดแล้ว ยังจะเป็นการสืบสานเอก ลักษณ์ภูมิปัญญาที่เป็นเลิศอันเป็นมรดกท่ีทรง คุณค่า ซ่ึงมีความงามวิจิตรแห่งสถาปัตยกรรม ไทยสมัยอยุธยาให้ฟื้นคืนกลับมา เพ่ืออนุชน คนรุ่นหลังได้ศึกษาและร่วมภาคภูมิใจ ในความ เป็นไทยที่มีศิลปวัฒนธรรมล้�ำเลิศ (อริยธรรม) บงั เกดิ พลงั ศกั ดสิ์ ทิ ธเ์ิ หนย่ี วนำ� หลอ่ หลอมดวงจติ น�้ำใจ ให้เกิดความรัก ความสามัคคี ของชน ในชาติ ยังความสงบ ร่มเย็น เป็นสุข เจริญ รุ่งเรือง สบื ไป เขมรังสี  ภิกขุ 95

96 สติปัฏฐาน ๔

ขอเชญิ บรจิ าค โดยโอนเงินเขา้ บญั ชีธนาคารช่อื บญั ชี “สรา้ งอโุ บสถวัดมเหยงคณ์” ๑. ธนาคารกสิกรไทย   สาขาถนนโรจนะ  เลขท่บี ัญชี   ๔๕๒-๒๖๒-๖๗๘๙ ๒. ธนาคารกรุงไทย   สาขาตลาดหัวรอ เลขทบ่ี ญั ช ี  ๒๖๕-๐๑๖-๖๑๑๘ ๓. ธนาคารกรงุ เทพ   สาขาตลาดเจา้ พรหม เลขทบ่ี ญั ชี   ๔๗๘-๐๙๐-๘๗๒๑ ๔. ธนาคารไทยพาณชิ ย ์  สาขาอยุธยา เลขท่ีบัญช ี  ๕๗๕-๔๒๗-๘๗๘๕ ๕. ธนาคารออมสนิ    สาขาคลองสวนพลู เลขทบี่ ัญชี   ๐๒๐๐-๗๕๖๘-๐๕๒๘ เขมรังสี  ภิกขุ 97

98 สติปัฏฐาน ๔

มูลนิธสิ ปุ ฏปิ ันโน มูลนิธิสุปฏิปันโน  ต้ังอยู่ภายในวัดมเหยงคณ์  ต.หนั ตรา  อ.พระนครศรอี ยธุ ยา  จ.พระนครศรอี ยธุ ยา  ตามดำ� รขิ อง หลวงพอ่ ทา่ นเจา้ คณุ พระภาวนาเขมคณุ  ว.ิ   (หลวงพ่อสุรศักดิ์  เขมรังสี)  เจ้าอาวาสวัดมเหยงคณ ์ พรอ้ มคณะกรรมการ  เมอ่ื ป ี ๒๕๕๒  ประสงคจ์ ะใหเ้ ปน็   องค์กรสาธารณกุศล  ทด่ี �ำเนนิ งานเพ่ือ  • สง่ เสรมิ การปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน และบวช  เนกขมั มภาวนา • สบื สานการศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรมแขนงตา่ งๆ เขมรังสี  ภิกขุ 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook