Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปศึกษา ทช21003 (ม.ต้น)

ศิลปศึกษา ทช21003 (ม.ต้น)

Published by Sarapee District Public Library, 2020-07-02 02:16:36

Description: ศิลปศึกษา ทช21003 (ม.ต้น)

Search

Read the Text Version

43 เพศและวัย เพศชายหรือหญงิ จะใชสีในการตกแตงไมเ หมือนกนั เพศชายจะใชสเี ขมกวาเพศหญงิ เชนสีเขียวเขม สีฟา หรอื เทา สว นเพศหญิงจะใชสีท่อี อ น และนุมนวลกวา เชน สคี รีม สีเหลอื ง เปนตน วยั ในแตล ะวยั จะใชสไี มเหมือนกัน เชน หองเด็กจะใชสีออนหวานนุมนวล หองผูใหญจะมีสีที่ อบอุน หอ งผูสูงอายจุ ะใชส ีทีน่ ุมนวล ศลิ ปะไมไ ดเ กยี่ วขอ งกับการจัดตกแตงท่ีอยูอาศัยเพียงอยางเดียว แตศิลปะยังชวยจรรโลงใจให สมาชกิ ในครอบครวั อยูอยา งมคี วามสุข หากตองการความสุขในครอบครัว ปจจัยหน่ึงที่ควรคํานึงถึงสิ่ง นั้นคือ “ศลิ ปะ” เรือ่ งท่ี 6 คุณคาของความซาบซ้ึงของวัฒนธรรมของชาติ ศิลปะไทย เปน เอกลักษณข องชาติไทย ซ่งึ คนไทยท้ังชาตติ า งภาคภูมใิ จอยา งยงิ่ ความงดงามท่สี ืบทอด 14B อันยาวนานมาตงั้ แตอ ดตี บงบอกถึงวฒั นธรรมทเ่ี กดิ ข้ึน โดยมีพัฒนาการบนพ้นื ฐานของความเปนไทย ลักษณะ นิสัยที่ออนหวาน ละมุนละไม รักสวยรักงาม ท่ีมีมานานของสังคมไทย ทําใหศิลปะไทยมีความประณีต ออ นหวาน เปน ความงามอยางวิจิตรอลังการท่ีทุกคนไดเห็นตอง ตื่นตา ตื่นใจ อยางบอกไมถูกลักษณะความ งามนจี้ ึงไดก ลายเปน ความรูสกึ ทางสุนทรียภาพโดยเฉพาะคนไทย เม่ือเราไดสืบคนความเปนมาของสังคมไทย พบวาวิถีชีวิตอยูกันอยางเรียบงาย มีประเพณีและศาสนาเปนเคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจ สังคมไทยเปนสังคม เกษตรกรรมมากอ น ดังนนั้ ความผูกพันของจติ ใจจึงอยทู ่ธี รรมชาติแมนาํ้ และพืน้ ดิน สง่ิ หลอหลอมเหลาน้ีจึงเกิด บรู ณาการเปนความคดิ ความเช่ือและประเพณใี นทองถนิ่ แลวถา ยทอดเปนวัฒนธรรมไทยอยางงดงาม ท่ีสําคัญ วัฒนธรรมชวยสง ตอ คณุ คาความหมายของสงิ่ อันเปนที่ยอมรับในสังคมหนึ่ง ๆ ใหคนในสังคมน้ันไดรับรูแลว ขยายไปในขอบเขตที่กวางข้ึน ซ่ึงสวนใหญการสื่อสารทางวัฒนธรรมน้ันกระทําโดยผานสัญลักษณ และ สัญลักษณน ี้คือผลงานของมนษุ ยนนั้ เองทเ่ี รยี กวา ศิลปะไทย ปจจุบันคําวา \"ศลิ ปะไทย\" กาํ ลงั จะถกู ลมื เมื่ออทิ ธิพลทางเทคโนโลยสี มัยใหมเขา มาแทนทส่ี งั คมเกา ของ ไทย โดยเฉพาะอยางย่ิงโลกแหงการสื่อสารไดกาวไปลํ้ายุคมาก จนเกิดความแตกตางอยางเห็นไดชัดเมื่อ เปรยี บเทียบกบั สมยั อดตี โลกใหมยคุ ปจจุบันทําใหคนไทยมีความคดิ หางไกลตัวเองมากข้นึ และอิทธพิ ลดงั กลาว น้ีทําใหคนไทยลืมตัวเราเองมากขึ้นจนกลายเปนสิ่งสับสนอยูกับสังคมใหมอยางไมรูตัว มีความวุนวายดวย อํานาจแหงวัฒนธรรมสอื่ สารที่รีบเรงรวดเร็วจนลมื ความเปนเอกลักษณข องชาติ เมื่อเราหันกลับมามองตัวเราเองใหม ทําใหดูหางไกลเกินกวาจะกลับมาเรียนรูวา พ้ืนฐานของชาติ บานเมอื งเดิมเราน้นั มีความเปนมาหรือมีวฒั นธรรมอยางไร ความรูสึกเชน น้ี ทาํ ใหเราลืมมองอดีตตัวเอง การมีวิถี ชวี ิตกับสังคมปจ จุบันจําเปนตอ งด้นิ รนตอ สูก ับปญหาตา ง ๆ ท่วี ่งิ ไปขา งหนา อยา งรวดเร็ว ถา เรามีปจจบุ นั โดยไมมี อดีต เรากจ็ ะมอี นาคตที่คลอนแคลนไมม น่ั คง การดําเนนิ การนาํ เสนอแนวคดิ ในการจัดการเรยี นการสอนศลิ ปะใน คร้ังน้ี จงึ เปนเสมือนการคนหาอดตี โดยเราชาวศลิ ปะตอ งการใหอ นชุ นไดม องเห็นถงึ ความสาํ คัญ ของบรรพบุรุษผูสรางสรรคศลิ ปะไทย ใหเ ราทาํ หนา ทีส่ บื สานตอ ไปในอนาคต

44 ความเปน มาของศิลปะไทย ไทยเปน ชาติที่มีศลิ ปะและวฒั นธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณขี องตนเองมาชา นาน แลว เริม่ ตง้ั แตก อนประวตั ิศาสตร ศลิ ปะไทยจะววิ ฒั นาการและสบื เน่อื งเปน ตวั ของตัวเองในท่ีสดุ เทาท่ี เราทราบราว พ.ศ. 300 จนถงึ พ.ศ. 1800 พระพุทธศาสนานาํ เขา มาโดยชาวอินเดีย คร้ังนั้นแสดงใหเห็น อทิ ธิพลตอรปู แบบของศิลปะไทยในทุก ๆ ดา นรวมทง้ั ภาษา วรรณกรรม ศลิ ปกรรม โดยกระจายเปน กลมุ ศลิ ปะสมยั ตา ง ๆ เรม่ิ ต้ังแตส มัยทวาราวดี ศรวี ชิ ัย ลพบรุ ี เมอ่ื กลมุ คนไทยตงั้ ตวั เปนปก แผน แลว ศลิ ปะ ดังกลา วจะตกทอดกลายเปน ศิลปะไทย ชางไทยพยายามสรา งสรรคใหม ีลกั ษณะพเิ ศษกวา งานศิลปะของ ชาติอนื่ ๆ คอื จะมลี วดลายไทยเปน เครอื่ งตกแตง ซง่ึ ทาํ ใหล กั ษณะของศลิ ปะไทยมีรูปแบบเฉพาะมคี วาม ออ นหวาน ละมนุ ละไม และไดสอดแทรกวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละความรสู กึ ของคนไทย ไวใ นงานอยางลงตวั ดงั จะเหน็ ไดจ ากภาพฝาผนงั ตามวดั วาอารามตา ง ๆ ปราสาทราชวงั ตลอดจน เครือ่ งประดับและเคร่ืองใชทวั่ ไป ประวัติศลิ ปะไทย ศิลปะไทยแบง ไดเ ปนยุคตาง ๆ ดังนี้ 1. แบบทวาราวดี ( ราว พ.ศ. 500 – 1200 ) 2. แบบศรีวิชยั (ราว พ.ศ. 1200 – 1700 ) 3. แบบลพบรุ ี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800) 1. แบบทวาราวดี (ราว พ.ศ. 500 - 1200) เปนฝมือของชนชาตอิ นิ เดีย ซ่ึงอพยพมาสูสวุ รรณภูมิ ศนู ยก ลางอยนู ครปฐม เปนศิลปะแบบ อุดมคติ รุนแรกเปนฝมือชาวอินเดีย แตมาระยะหลังเปนฝมือของชาวพื้นเมืองโดยสอดใสอุดมคติทาง ความงาม ตลอดจนลกั ษณะทางเชือ้ ชาติ ศลิ ปะท่สี าํ คัญคอื 1.1 ประติมากรรม พระพุทธรปู แบบทวาราวดี สังเกตไดชดั เจนคือพระพุทธรูปน่ังหอยพระ บาทและยกพระหัตถข้ึน โดยสวนมากสลักดวยหินปูน ภาพสลักมากคือบริเวณพระปฐม เจดยี  คือ ธรรมจกั รกับกวางหมอบ 1.2 สถาปตยกรรม ที่ปรากฏหลักฐาน บริเวณนครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี อางทอง สุพรรณบุรี เปนตน ไดแก สถูปลักษณะเนินดิน ทําเปนมะนาวผาซีก หรือรูปบาตรควํ่า อยูบนฐาน สเ่ี หลี่ยม เชน เจดยี น ครปฐมองคเ ดมิ 2. แบบศรวี ิชัย (ราว พ.ศ. 1200 - 1700) เปน ศิลปะแบบอนิ เดยี - ชวา ศูนยก ลางของศิลปะนอ้ี ยูทไี่ ชยา มีอาณาเขตของศิลปะ ศรี วชิ ัย เกาะสมุ าตรา พวกศรีวิชยั เดมิ เปนพวกทีอ่ พยพมาจากอินเดียตอนใต แพรเขามาพรอ ม

45 พระพุทธศาสนาลทั ธมิ หายาน ไดส รางสิ่งมหศั จรรยข องโลกไวอ ยา งหนง่ึ โดยสลกั เขาทั้งลูกใหเ ปน เขา ไกรลาศ คือ สถูปโบโรบเู ดอร ศลิ ปกรรมในประเทศไทย คือ โดย 1. ประติมากรรม คนพบพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ทําเปนสัมฤทธ์ิที่ไชยา สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานภุ าพ ถอื วา เปนศลิ ปะชั้นเยีย่ มของแบบศรีวชิ ยั 2. สถาปต ยกรรม มงี านตกแตง เขา มาปนอยใู นสถปู เชนสถปู พระบรมธาตไุ ชยา สถูปวดั มหาธาตุ 3. แบบลพบุรี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800) ศิลปะแบบนี้คลายของขอม ศนู ยก ลางอยูท ่เี มอื งลพบุรี ศาสนาพราหมณเขามามีบทบาท ตามความเช่อื สรา งเทวสถานอันใหญโ ตแขง็ แรงคงทนถาวร เชน ปราสาทหนิ พนมรงุ นครวดั นับเปน สิง่ มหศั จรรยข องโลก 1. ประติมากรรมสรางพระพุทธรูป พระโพธิสตั ว พระพทุ ธรปู สมยั ลพบุรีเปลอื ยองค ทอ นบน พระพกั ตรเ กอื บเปน สเี่ หลยี่ ม มฝี มอื ในการแกะลวดลายมาก

46 2. สถาปตยกรรมสรางพระปรางคเปนเทวสถาน การกอสรางใชวัสดุที่แข็งแรง ทนทาน ทม่ี ีอยูตามทองถนิ่ เชน ศลิ าแลง หินทราย ศิลปะทส่ี าํ คัญไดแ ก พระปรางคส ามยอดลพบรุ ี ความเปนแวนแควนที่มีศูนยกลางการปกครองท่ีเดนชัดกวาที่เคยมีมาในอดีตแควน สุโขทัยถือกาํ เนดิ ข้นึ เมื่อราวตน พทุ ธศตวรรษท่ี 19 ภายหลงั จากที่อิทธิพลของอาณาจกั รเขมรเสื่อมคลายลง ขอ ความในศิลาจารกึ หลกั ท่ี 2 (จารกึ วัดศรชี มุ ) กลาวถงึ กลุมคนไทยนําโดยพอขุนบาง กลางหาวเจาเมอื ง บางยาง และพอขุนผาเมือง เจา เมอื งราด ไดรวมมือกันขจัดอํานาจปกครองจาก “ขอมสมาดโขลญลําพง” จากน้ันไดชว ยกนั กอ รางสรา งเมอื งพรอ มกบั สถาปนาพอขุนบางกลางหาวข้นึ เปน ปฐมกษตั ริยป กครองสืบ มา ศลิ ปะสุโขทัยเปนศิลปะที่เกิดจากการผสมผสานวัฒนธรรมที่เจริญรุงเรืองกอนหนา เชน วัฒนธรรม เขมร พกุ าม หริภุญไชย และวฒั นธรรมรว มสมัยจากลานนา ตอ มาในราวปลายพทุ ธศตวรรษที่ 20 ราชธานี สุโขทยั จงึ ตกอยูใตอ ํานาจของกรงุ ศรอี ยุธยาราชธานที างภาคกลางท่ีสถาปนาขนึ้ ในราวปลายพุทธศตวรรษ ที่ 19 ศลิ ปะสโุ ขทยั มพี ื้นฐานอยูท ค่ี วาม เรยี บงาย อนั เกิดจากแนวความคิดทางพุทธศาสนาลทั ธเิ ถรวาท ทีร่ ับมาจากประเทศศรีลังกา ศิลปกรรมโดยเฉพาะงานดา นประตมิ ากรรมทีส่ รา งขึน้ ในสมยั น้ี ไดรับการยก ยอ งวามคี วามงดงาม

47 เปน ศิลปกรรมแบบคลาสสิคของไทยทางตอนเหนอื ของแควนสุโขทัยขนึ้ ไปเปนท่ตี งั้ ของ แควน ลา นนา ซึ่งพระยาเมง็ รายไดท รงสถาปนาขึน้ ในป พ.ศ. 1839 โดยมีเมืองเชยี งใหมเ ปน ราชธานี แควน ลา นนาบางชวงเวลาตอ งตกอยูภ ายใตอ ํานาจทางการเมอื งของแวนแควน ใกลเ คียง จนกระทัง่ ในที่สุดจึงได ถูกรวมเขา เปนสวนหนง่ึ ของราชอาณาจกั รสยาม เมอ่ื สมัยตน รัตนโกสนิ ทร ศิลปะลา นนา ในชว งตน ๆ สบื ทอดลักษณะทางศิลปกรรมจากหรภิ ญุ ไชยผสมผสานกับศลิ ปะพกุ ามจากประเทศพมา ตอมาจงึ ปรากฏ อทิ ธพิ ลของศิลปะสุโขทยั พมา รวมถึงศิลปะรตั นโกสนิ ทร แตกระนน้ั ลานนาก็ยงั รกั ษาเอกลกั ษณแหง งานชา งอนั ยาวนานของตนอยไู ด และมีพฒั นาการผานมาถงึ ปจจบุ นั กอ นสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยาใน พ.ศ. 1893 พ้ืนที่ภาคกลาง บริเวณสองฟากของลุมแมนํ้า เจาพระยา ปรากฏศิลปกรรมรูปแบบหน่ึงซึ่งมีลักษณะผสมผสานระหวางศิลปะทวารวดี ศิลปะเขมร และ ศลิ ปะสโุ ขทยั กอนที่จะสบื เนื่องมาเปน ศลิ ปะอยธุ ยา เน่ืองจากกรงุ ศรีอยุธยาเปนราชธานีของไทยอยูนาน ถงึ 417 ป ศิลปกรรมที่สรางข้ึนจึงมีความผิดแผกแตกตางกันออกไปตามกระแสวัฒนธรรมที่ผานเขามา โดยเฉพาะจากเขมรและสุโขทัย กอนจะพัฒนาไปจนมีรูปแบบที่เปนตัวของตัวเอง งานประณีตศิลปใน สมยั น้ีถอื ไดว ามีความรงุ เรอื งสงู สดุ หลงั จากราชธานีกรงุ ศรอี ยธุ ยา ถึงคราวลมสลาย เม่ือพ.ศ. 2310 กถ็ งึ ยคุ กรงุ ธนบรุ ี เนื่องจากในชวงเวลา 15 ปข องยุคนีไ้ มปรากฏหลกั ฐานทางศลิ ปกรรมที่มีรูปแบบเฉพาะ จึงมักถูกรวมเขา กับราชธานกี รุงเทพฯ หรอื ที่เรียกวา กรุงรตั นโกสินทร ศิลปะรตั นโกสนิ ทร ในชวงตน ๆ มลี กั ษณะเปน การสืบทอดงานแนวอุดมคติจากอดีตราชธานีกรุงศรีอยุธยาอยางเดนชัด จากนั้นในชวง ตงั้ แตร ชั กาลท่ี 4 เปนตน มา อิทธิพลทางศลิ ปวฒั นธรรมจากตะวนั ตกไดเรมิ่ เขามามบี ทบาทเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ จนกระท่ังกลายมาเปนศิลปะแนวใหมท ่เี รียกวา “ศิลปกรรมรวมสมัย” ในปจ จุบนั

48 ภาพโลหะปราสาท ภาพหอไตร

49 กจิ กรรมที่ 1 ใหผเู รยี นทดลอง ฝก เขยี นลายไทย จากความรทู ไี่ ดศ กึ ษาจากเรอื่ งท่ี 1 - 6 มาประกอบ

50 กิจกรรมที่ 2 ใหผ ูเรยี นทดลอง วเิ คราะห วจิ ารณ งานทศั นศิลปไ ทย จากภาพประกอบ โดยใชหลกั การวจิ ารณ ขางตน และความรูท่ไี ดศกึ ษาจากเรื่องท่ี 1 - 6 มาประกอบคําวิจารณ พระพทุ ธรูปศิลปะอยธุ ยา คําวิจารณ ...................................................................................... ................................................................................ .................................................................................................... .................................................................. ............................................................................................................ .......................................................... ................................................................................................. ..................................................................... .................................................................................................... .................................................................. ....................................................................................................................... ............................................... ............................................................................................................ ..

51 บทท่ี 2 ดนตรีไทย สาระสําคัญ ศกึ ษาเรยี นรู เขา ใจ ถงึ ววิ ัฒนาการ ประวตั คิ วามเปน มา และคุณคา ความงาม ของดนตรีไทย สามารถอธบิ ายความงาม และประวัติความเปน มาของดนตรไี ทยไดอ ยา งเหมาะสม ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั อธิบายความหมาย ความสาํ คัญ ความเปนมา ของดนตรีไทย เขาใจถงึ ตน กําเนดิ ภมู ปิ ญ ญาและ การอนรุ กั ษด นตรไี ทย ขอบขา ยเนอ้ื หา เรอ่ื งที่ 1 ประวัตดิ นตรีไทย เรื่องท่ี 2 เทคนคิ และวธิ ีการเลน ของเครื่องดนตรไี ทย เร่ืองที่ 3 คุณคา ความงามความไพเราะของเพลงและเครื่องดนตรไี ทย เร่ืองท่ี 4 ประวตั คิ ณุ คาภูมิปญ ญาของดนตรีไทย

52 เรอ่ื งที่ 1 ประวัตดิ นตรีไทย ดนตรีไทย ไดแบบอยางมาจากอนิ เดีย เนือ่ งจาก อินเดียเปน แหลง อารยธรรมโบราณ ที่สําคัญแหง หนึง่ ของโลก อารยธรรมตาง ๆ ของอินเดียไดเขามามีอิทธิพล ตอประเทศตาง ๆ ในแถบเอเชียอยางมาก ท้ังในดาน ศาสนา ประเพณีความเชื่อ ตลอดจน ศิลปะ แขนงตาง ๆ โดยเฉพาะทางดานดนตรี ปรากฏ รปู รางลักษณะ เครื่องดนตรี ของประเทศตาง ๆ ในแถบเอเชีย เชน จีน เขมร พมา อินโดนิเซีย และ มาเลเซีย มีลักษณะ คลายคลึงกัน เปนสวนมาก ทั้งน้ีเนื่องมาจาก ประเทศเหลาน้ันตางก็ยึดแบบฉบับ ดนตรี ของอินเดีย เปนบรรทัดฐาน รวมท้ังไทยเราดวย เหตุผลสําคัญที่ทานผูรูไดเสนอทัศนะน้ีก็คือ ลกั ษณะของ เครือ่ งดนตรีไทย สามารถจาํ แนกเปน 4 ประเภท คอื เคร่อื งดีด เครอื่ งสี เครอื่ งตี เครื่องเปา

53 การสนั นษิ ฐานเกีย่ วกับ กําเนิดหรือท่ีมาของ ดนตรไี ทย ตามแนวทศั นะขอน้ี เปนทัศนะที่มีมาแต เดมิ นบั ต้ังแต ไดม ผี สู นใจ และไดทาํ การคน ควาหาหลักฐานเกี่ยวกับเร่ืองน้ีขึ้น และนับวา เปนทัศนะตาง ๆ ดงั นี้ 1. ไดรับการนาํ มากลา วอา งกนั มาก บคุ คลสําคญั ทีเ่ ปน ผเู สนอแนะแนวทางนคี้ ือ สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานภุ าพ พระบดิ าแหง ประวตั ศิ าสตรไ ทย 2. สนั นิษฐานวา ดนตรไี ทย เกดิ จากความคดิ และ สตปิ ญญา ของคนไทย เกิดข้นึ มาพรอมกบั คน ไทย ต้ังแต สมยั ทย่ี งั อยทู างตอนใต ของประเทศจนี แลว ทงั้ นเ้ี น่ืองจาก ดนตรี เปน มรดกของมนษุ ยชาติ ทกุ ชาติทุกภาษาตางก็มดี นตรีซึ่งเปน เอกลักษณ ของตนดว ยกนั ทั้งนนั้ ถึงแมวา ในภายหลัง จะมกี ารรับเอา แบบอยา งดนตรีของตางชาติเขามาก็ตาม แตก ็เปนการนําเขา มาปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลงใหเ หมาะสม กบั ลกั ษณะและนสิ ัยทางดนตรี ของคนในชาตินัน้ ๆ ไทยเราตง้ั แตสมยั ที่ยังอยทู างตอนใตข องประเทศจีน ก็ คงจะมี ดนตรขี องเราเองเกิดข้ึนแลว ทั้งนี้ จะสังเกตเหน็ ไดว า เครอ่ื งดนตรี ดั้งเดิมของไทย จะมีชอื่ เรียก เปนคาํ โดด ซง่ึ เปน ลกั ษณะของคําไทยแท เชน เกราะ โกรง กรับ ฉาบ ฉง่ิ ป ขลยุ ฆอง กลอง เปน ตน ตอมาเมื่อไทยได อพยพลงมาต้ังถิ่นฐานในแถบแหลมอินโดจีน จึงไดมาพบวัฒนธรรมแบบ อินเดีย โดยเฉพาะเครื่องดนตรอี ินเดยี ซง่ึ ชนชาตมิ อญ และ เขมร รับไวก อนที่ไทยจะอพยพเขามา ดวยเหตุ นชี้ นชาตไิ ทยซ่ึงมนี สิ ัยทางดนตรอี ยูแ ลว จึงรบั เอาวฒั นธรรมทางดนตรแี บบอนิ เดีย ผสมกบั แบบมอญและ เขมร เขามาผสมกับดนตรีท่ีมีมาแตเดิมของตน จึงเกิดเคร่ืองดนตรีเพ่ิมข้ึนอีก ไดแก พิณ สังข ปไฉน บณั เฑาะว กระจบั ป และจะเข เปนตน ตอมาเมือ่ ไทยไดตั้งถนิ่ ฐานอยใู นแหลม อินโดจีนอยางม่ันคงแลว ไดม กี ารติดตอสมั พนั ธก ับประเทศเพ่ือนบานในแหลมอินโดจีน หรือแมแตกับประเทศทางตะวันตกบาง ประเทศทีเ่ ขา มา ติดตอคา ขาย ทาํ ใหไทยรับเอาเครือ่ งดนตรบี างอยา ง ของประเทศตาง ๆ เหลาน้ันมาใช เลน ในวงดนตรไี ทยดว ย เชน กลองแขก ปชวา (อินโดนีเซีย) กลองมลายู (มาเลเซีย) เปงมาง ตะโพน มอญ ปมอญ และฆองมอญ กลองยาวของพมา ขิม มาลอของจีน กลองมริกัน (กลองของชาว อเมรกิ นั ) เปย โน ออรแ กน และไวโอลนี ของประเทศทางตะวันตก เปน ตน วิวัฒนาการของวงดนตรไี ทย นับตั้งแตไทยไดมาต้ังถิ่นฐานในแหลมอินโดจีน และไดกอตั้งอาณาจักรไทยขึ้น จึงเปนการ เร่ิมตน ยคุ แหงประวัตศิ าสตรไ ทย ทปี่ รากฏหลักฐานเปนลายลักษณอักษร กลาวคือ เม่ือไทยไดสถาปนา อาณาจักรสุโขทัยข้ึน และหลังจากท่ีพอขุนรามคําแหงมหาราช ไดประดิษฐอักษรไทยขึ้นใชแลว นับตัง้ แตน ้นั มาจึงปรากฏหลักฐานดานดนตรีไทย ท่ีเปนลายลักษณอักษร ท้ังในหลักศิลาจารึก หนังสือ วรรณคดี และเอกสารทางประวัติศาสตร ในแตละยุค ซึ่งสามารถนํามาเปนหลักฐานในการพิจารณา ถึง ความเจริญและวิวัฒนาการของ ดนตรีไทย ตั้งแตสมัยสุโขทัย เปนตนมา จนกระทั่งเปนแบบแผนดัง ปรากฏ ในปจ จุบัน พอสรุปไดดังตอไปน้ี

54 สมยั สโุ ขทัย มลี กั ษณะเปนการขับลํานํา และรองเลนกันอยางพ้ืนเมือง เก่ียวกับ เคร่ืองดนตรีไทย ในสมัยนี้ ปรากฏหลักฐานกลาวถึงไวในหนังสือ ไตรภูมิพระรวง ซ่ึงเปนหนังสือวรรณคดี ที่แตงในสมัยน้ี ไดแก แตร สังข มโหระทกึ ฆอง กลอง ฉิ่ง แฉง (ฉาบ) บณั เฑาะว พณิ ซอพุงตอ (สันนษิ ฐานวาคือ ซอสามสาย) ปไฉน ระฆัง และกังสดาล เปนตน ลักษณะการผสม วงดนตรี ก็ปรากฏหลักฐานท้ังในศิลาจารึก และ หนังสอื ไตรภูมพิ ระรว ง กลาวถึง \"เสียงพาทย เสียงพิณ\" ซึ่งจากหลักฐานท่ีกลาวน้ี สันนิษฐานวา วงดนตรี ไทย ในสมยั สโุ ขทัย มีดงั น้ี คือ 1. วงบรรเลงพณิ มผี ูบรรเลง 1 คน ทําหนาท่ีดีดพณิ และขับรอ งไปดว ย เปนลกั ษณะของการขบั ลํา นาํ 2. วงขบั ไม ประกอบดว ยผูบรรเลง 3 คน คือ คนขับลาํ นาํ 1 คน คนสีซอสามสาย คลอเสียงรอง 1 คน และคนไกวบัณเฑาะว ใหจงั หวะ 1 คน 3. วงปพ าทย เปน ลักษณะของวงปพาทยเ ครอื่ งหา มี 2 ชนดิ คอื 3.1 วงปพาทยเครอ่ื งหาอยา งเบา ประกอบดวยเคร่ืองดนตรชี นดิ เล็ก ๆ จํานวน 5 ชิ้น คือ 1. ป 2. กลองชาตรี 3. ทับ (โทน) 4. ฆองคู 5. ฉ่ิง ใชบรรเลงประกอบการแสดง ละครชาตรี (เปนละคร เกาแกท ีส่ ดุ ของไทย) 3.2 วงปพาทยเ ครื่องหาอยางหนกั ประกอบดวย เครือ่ งดนตรจี ํานวน 5 ช้ิน คือ 1. ปใน 2. ฆองวง (ใหญ) 3. ตะโพน 4. กลองทัด 5. ฉ่ิง ใชบรรเลงประโคมในงานพิธีและบรรเลง ประกอบ การแสดงมหรสพ ตาง ๆ จะเห็นวาวงปพาทยเครื่องหา ในสมัยน้ียังไมมีระนาดเอก 4. วงมโหรี เปนลกั ษณะของวงดนตรอี ีกแบบหนึ่งที่นาํ เอา วงบรรเลงพณิ กบั วงขับไม มา ผสมกัน เปน ลักษณะของวงมโหรีเครื่องส่ี เพราะประกอบดวยผูบรรเลง 4 คน คือ 1. คนขับลํานํา และตี กรบั พวงใหจ งั หวะ 2. คนสีซอสามสายคลอเสยี งรอง 3. คนดีดพณิ 4. คนตีทบั (โทน) ควบคมุ จังหวะ สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา ในสมัยนี้ ในกฎมณเฑยี รบาล ซ่งึ ระบชุ ่ือ เครอื่ งดนตรไี ทยเพิ่มขนึ้ จากทเ่ี คยระบุไว ในหลักฐานสมัยสุโขทัย จึงนาจะเปนเคร่ืองดนตรี ท่ีเพ่ิงเกิดในสมัยน้ี ไดแก กระจับป ขลุย จะเข และ รํามะนา นอกจากนใ้ี นกฎมณเฑียรบาลสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991 - 2031) ปรากฏขอ หามตอนหนึ่งวา \"...หามรองเพลงเรือ เปาขลุย เปาป สีซอ ดีดกระจับป ดีดจะเข ตีโทนทับ ในเขต พระราชฐาน...\" ซึ่งแสดงวาสมัยนี้ ดนตรีไทย เปนที่นิยมกันมาก แมในเขตพระราชฐาน ก็มีคนไปรอง เพลงและเลน ดนตรกี ันเปน ท่เี อกิ เกริกและเกินพอดี จนกระทั่งพระมหากษัตริยตองทรงออกกฎมณเฑียร บาล ดงั กลา วขนึ้ ไวเ กี่ยวกบั ลักษณะของวงดนตรีไทย ในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาข้ึนกวาใน สมัยสโุ ขทัย ดงั น้ี คอื

55 1. วงปพ าทย ในสมัยนีก้ ย็ งั คงเปน วงปพาทยเครือ่ งหา เชน เดียวกบั ในสมัยสุโขทยั แตม ี ระนาด เอก เพมิ่ ขนึ้ ดงั นั้นวงปพ าทยเครอื่ งหา ในสมยั นปี้ ระกอบดว ย เครื่องดนตรี ดงั ตอไปนี้ คอื 1.1 ระนาดเอก 1.2 ปใน 1.3 ฆอ งวง (ใหญ) 1.4 กลองทดั ตะโพน 1.5 ฉ่ิง 2. วงมโหรี ในสมยั น้พี ฒั นามาจาก วงมโหรีเครือ่ งส่ี ในสมัยสุโขทยั เปน วงมโหรีเครือ่ งหก เพราะ ไดเพิม่ เครอ่ื งดนตรี เขา ไปอกี 2 ชน้ิ คอื ขลยุ และ ราํ มะนา ทาํ ให วงมโหรี ในสมัยนป้ี ระกอบดวย เคร่อื งดนตรี จํานวน 6 ชิ้น คือ 2.1 ซอสามสาย 2.2 กระจบั ป (แทนพิณ) 2.3 ทับ (โทน) 2.4 รํามะนา 2.5 ขลุย 2.6 กรบั พวง สมยั กรงุ ธนบุรี เนอ่ื งจากในสมยั นเี้ ปนชวงระยะเวลาอนั สั้นเพยี งแค 15 ป และประกอบกบั เปน สมัยแหงการ กอสรา งเมอื ง และการปองกันประเทศ วงดนตรีไทย ในสมยั นจ้ี งึ ไมป รากฏหลกั ฐานไวว า ไดม กี ารพัฒนา เปลี่ยนแปลงข้ึน สนั นิษฐานวา ยงั คงเปน ลกั ษณะและรปู แบบของ ดนตรไี ทย ในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา สมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร ในสมัยนี้ เม่ือบานเมืองไดผา นพน จากภาวะศกึ สงคราม และไดมีการกอ สรา งเมืองใหมัน่ คง เปน ปก แผน เกดิ ความสงบรมเยน็ โดยทว่ั ไปแลว ศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ ก็ไดรับการฟน ฟทู ะนุบํารงุ และ สงเสรมิ ใหเจรญิ รุงเรืองขนึ้ โดยเฉพาะทางดา นดนตรีไทย ในสมัยนี้ไดม กี ารพฒั นาเปลยี่ นแปลงเจริญข้ึน เปน ลาํ ดบั ดังตอ ไปนี้ รัชกาลท่ี 1 ดนตรีไทยในสมยั นส้ี ว นใหญ ยงั คงมลี ักษณะและรูปแบบตามที่มีมาต้ังแต สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่ พัฒนาขน้ึ บางในสมัยน้ีกค็ ือ การเพิม่ กลองทดั ข้ึนอีก 1 ลูก ในวงปพ าทย ซึง่ แตเดมิ มา มีแค 1 ลูก พอมาถึง

56 สมยั รัชกาลที่ 1 วงปพาทย มกี ลองทัด 2 ลกู เสยี งสงู (ตัวผ)ู ลูกหนง่ึ และ เสยี งตํ่า (ตัวเมีย) ลูกหนึ่ง และ การใช กลองทัด 2 ลูก ในวงปพ าทย ก็เปน ทนี่ ิยมกนั มาจนกระท่งั ปจ จุบนั น้ี รชั กาลท่ี 2 อาจกลา ววาในสมยั นี้ เปน ยุคทองของ ดนตรีไทย ยุคหนึง่ ทั้งนี้เพราะ องคพระมหากษัตริย ทรง สนพระทัย ดนตรีไทย เปนอยางย่ิง พระองคทรงพระปรีชาสามารถ ในทางดนตรีไทย ถึงขนาดที่ทรง ดนตรไี ทย คือ ซอสามสาย ไดมีซอคูพระหัตถชื่อวา \"ซอสายฟาฟาด\" ท้ังพระองคได พระราชนิพนธ เพลงไทย ขนึ้ เพลงหน่งึ เปนเพลงท่ีไพเราะ และอมตะ มาจนบัดน้ีน่ันก็คือเพลง \"บุหลันลอยเล่ือน\" การ พฒั นา เปล่ยี นแปลงของ ดนตรไี ทย ในสมัยนี้กค็ อื ไดมกี ารนําเอา วงปพาทยมาบรรเลง ประกอบการขับ เสภา เปนครั้งแรก นอกจากน้ี ยังมีกลองชนิดหน่ึงเกิดข้ึน โดยดัดแปลงจาก \"เปงมาง\" ของมอญ ตอมา เรยี กกลองชนิดนี้วา \"สองหนา\" ใชตีกํากับจังหวะแทนเสียงตะโพน ในวงปพาทย ประกอบการขับ เสภา เนอื่ งจากเหน็ วา ตะโพนดงั เกนิ ไป จนกระทั่งกลบเสยี งขบั กลองสองหนา น้ี ปจจบุ นั นยิ มใชตกี ํากบั จังหวะหนา ทบั ในวงปพ าทยไ มแข็ง รัชกาลท่ี 3 วงปพาทยไดพฒั นาข้นึ เปนวงปพาทยเ ครอ่ื งคู เพราะไดมีการประดษิ ฐร ะนาดทุม มาคูกบั ระนาด เอก และประดิษฐฆองวงเล็กมาคูกบั ฆองวงใหญ รชั กาลที่ 4 วงปพ าทยไ ดพัฒนาขนึ้ เปน วงปพ าทยเครือ่ งใหญ เพราะไดม กี ารประดษิ ฐ เครอ่ื งดนตรี เพิม่ ขน้ึ อกี 2 ชนดิ เลยี นแบบ ระนาดเอก และระนาดทมุ โดยใชโลหะทําลูกระนาด และทํารางระนาดใหแตกตา ง ไปจากรางระนาดเอก และระนาดทุม (ไม) เรียกวา ระนาดเอกเหลก็ และระนาดทมุ เหลก็ นํามาบรรเลงเพิ่ม ในวงปพ าทยเครือ่ งคู ทําให ขนาดของวงปพ าทยข ยายใหญข ึ้นจึงเรียกวา วงปพ าทยเคร่ืองใหญ อนึง่ ใน สมัยนี้ วงการดนตรไี ทย นยิ มการรองเพลงสงใหด นตรรี ับ หรือท่ีเรียกวา \"การรองสง\" กันมาก จนกระทงั่ การขบั เสภาซงึ่ เคยนิยมกนั มากอนคอย ๆ หายไป และการรอ งสง กเ็ ปนแนวทางใหมีผคู ดิ แตง ขยายเพลง2 ช้นั ของเดิมใหเ ปน เพลง 3 ช้ัน และตัดลง เปนชนั้ เดยี ว จนกระท่งั กลายเปน เพลงเถาในท่ีสุด (นับวาเพลงเถาเกดิ ขนึ้ มากมายในสมัยน)้ี นอกจากนี้ วงเครอ่ื งสาย ก็เกดิ ขน้ึ ในสมยั รัชกาลนีเ้ ชนกนั รัชกาลที่ 5 ไดมีการปรับปรุงวงปพาทยขึ้นใหมชนิดหน่ึง ซ่ึงตอมาเรียกวา \"วงปพาทยดึกดําบรรพ\" โดย สมเด็จกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ สําหรับใชบรรเลงประกอบการแสดง \"ละครดึกดําบรรพ\" ซ่ึงเปน

57 ละครท่เี พ่ิงปรับปรุงขึ้นในสมัยรัชกาลนเี้ ชนกัน หลักการปรบั ปรงุ ของทานก็โดยการตัดเคร่ืองดนตรีชนิด เสยี งเลก็ แหลม หรอื ดังเกนิ ไปออก คงไวแ ตเ คร่ืองดนตรีที่มเี สยี งทุม นมุ นวล กบั เพม่ิ เครือ่ งดนตรีบางอยาง เขามาใหม เคร่ืองดนตรี ในวงปพาทยดึกดําบรรพ จึงประกอบดวยระนาดเอก ฆองวงใหญ ระนาดทุม ระนาดทุมเหลก็ ขลยุ ซออู ฆอ งหยุ (ฆอ ง 7 ใบ) ตะโพน กลองตะโพน และเครือ่ งกาํ กับจังหวะ รัชกาลท่ี 6 ไดมีการปรับปรุงวงปพาทยขึ้นมาอีกชนิดหนึ่ง โดยนําวงดนตรีของมอญมาผสมกับ วงปพาทยของไทย ตอมาเรียกวงดนตรีผสมน้ีวา \"วงปพาทยมอญ\" โดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เปนผูปรบั ปรุงข้นึ วงปพ าทยม อญดังกลาวน้ี กม็ ีทงั้ วงปพ าทยมอญเครือ่ งหา เคร่ืองคู และเครอ่ื งใหญ เชนเดยี วกับวงปพ าทยข องไทย และกลายเปนที่นิยมใชบรรเลงประโคม ในงานศพ มา จนกระทัง่ บดั นี้ นอกจากน้ยี งั ไดม กี ารนาํ เครือ่ งดนตรีของตางชาติ เขามาบรรเลงผสมกบั วงดนตรีไทย บาง ชนดิ ก็นาํ มาดัดแปลงเปน เครื่องดนตรขี องไทย ทําใหรปู แบบของ วงดนตรีไทย เปล่ียนแปลงพัฒนา ดังนี้ คือ 1. การนําเคร่อื งดนตรขี องชวา หรอื อนิ โดนเี ซยี คือ \"อังกะลุง\" มาเผยแพรในเมืองไทยเปน ครั้งแรก โดยหลวงประดษิ ฐไ พเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ท้งั น้โี ดยนาํ มาดัดแปลง ปรับปรุงขึ้นใหมใหมีเสียง ครบ 7 เสียง (เดิมมี 5 เสียง) ปรับปรุงวิธีการเลน โดยถือเขยาคนละ 2 เสียง ทําใหเคร่ืองดนตรีชนิดนี้ กลายเปน เครือ่ งดนตรีไทยอีกอยางหนึ่ง เพราะคนไทยสามารถทําอังกะลุงไดเอง อีกท้ังวิธีการบรรเลงก็ เปน แบบเฉพาะของเรา แตกตา งไปจากของชวาโดยสนิ้ เชงิ 2. การนําเคร่ืองดนตรขี องตา งชาตเิ ขามาบรรเลงผสมในวงเครอ่ื งสาย ไดแก ขิมของจีน และ ออรแกนของฝรั่ง ทาํ ใหว งเครอื่ งสายพฒั นารูปแบบของวงไปอีกลกั ษณะหนึ่ง คือ \"วงเครอ่ื งสายผสม\" รัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ไดทรงสนพระทัยทางดาน ดนตรีไทย มากเชนกัน พระองคไ ดพ ระราชนพิ นธ เพลงไทยทไ่ี พเราะไวถ ึง 3 เพลง คือ เพลงโหมโรงคล่ืนกระทบฝง 3 ช้ัน เพลง เขมรลอยองค (เถา) และเพลงราตรีประดับดาว (เถา) พระองคและพระราชินีไดโปรดให ครูดนตรเี ขา ไปถวายการสอนดนตรีในวัง แตเปนที่นาเสียดาย ท่ีระยะเวลาแหงการครองราชยของพระองคไมนาน เน่ืองมาจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และพระองคทรงสละราชบลั ลังก หลังจากนัน้ ได 2 ป มฉิ ะนั้น แลว ดนตรีไทย ก็คงจะเจริญรุงเรืองมากในสมัยแหงพระองค อยางไรก็ตามดนตรีไทยในสมัยรัชกาลนี้ นับวา ไดพฒั นารูปแบบ และลักษณะ มาจนกระทัง่ สมบูรณ เปน แบบแผนดงั เชนในปจ จบุ ันนี้แลว ในสมัย สมบรู ณาญาสทิ ธิราชมีผูนิยมดนตรีไทยกันมาก และมีผูมีฝมือ ทางดนตรี ตลอดจน มีความคิดปรับปรุง เปลย่ี นแปลง ใหพ ัฒนากา วหนา มาตามลําดับ พระมหากษัตริย เจา นาย ตลอดจนขนุ นางผูใหญ ไดใหความ อุปถัมภ และทํานุบํารุงดนตรีไทย ในวังตาง ๆ มักจะมีวงดนตรีประจําวัง เชน วงวังบูรพา วงวังบางขุน

58 พรหม วงวังบางคอแหลม และวงวังปลายเนิน เปนตน แตละวงตา งกข็ วนขวายหาครูดนตรี และนักดนตรี ที่มีฝม ือเขา มาประจาํ วง มกี ารฝกซอมกันอยูเนืองนิจ บางคร้ังก็มีการประกวดประชันกัน จึงทําใหดนตรี ไทยเจรญิ เฟองฟูมาก ตอ มาภายหลงั การเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เปนตนมา ดนตรีไทยเริ่มซบ เซาลง อาจกลา วไดว า เปนสมัยหวั เลีย้ วหัวตอ ท่ี ดนตรไี ทย เกอื บจะถึงจดุ จบ เนอ่ื งจากรฐั บาลในสมัยหน่ึง มนี โยบายทีเรยี กวา \"รัฐนิยม\" ซึ่งนโยบายนี้ มีผลกระทบตอ ดนตรีไทย ดวย กลาวคือมีการหามบรรเลง ดนตรีไทย เพราะเหน็ วา ไมสอดคลอ งกบั การพฒั นาประเทศ ใหทดั เทียมกับอารยประเทศ ใครจะจัดใหมี การบรรเลง ดนตรไี ทย ตอ งขออนญุ าต จากทางราชการกอน อกี ทงั้ นักดนตรีไทยก็จะตองมีบตั รนกั ดนตรี ท่ีทางราชการออกให จนกระท่ังตอมาอีกหลายป เม่ือไดมี การส่ังยกเลิก \"รัฐนิยม\" ดังกลาวเสีย แตถึง กระน้นั กต็ าม ดนตรไี ทยก็ไมรุงเรอื งเทาแตก อ น ยังลมลุกคลุกคลาน มาจนกระท่ังบัดนี้ เนื่องจากวิถีชีวิต และสังคมไทยเปล่ียนแปลงไปจากเดิม วัฒนธรรมทางดนตรีของตางชาติ ไดเขามามีบทบาทใน ชวี ติ ประจําวันของคนไทยเปนอันมาก ดนตรีท่ีเราไดยินไดฟง และไดเห็นกันทางวิทยุ โทรทัศน หรือท่ี บรรเลงตามงานตาง ๆ โดยมากก็เปนดนตรีของตางชาติ หาใช \"เสียงพาทย เสียงพิณ\" ดังแตกอนไม ถงึ แมวา จะเปน ทีน่ ายินดที ่ีเราไดม โี อกาสฟง ดนตรีนานาชาตินานาชนิด แตถาดนตรีไทย ถูกทอดทิ้ง และ ไมมีใครรูจักคุณคา ก็นับวาเสียดายที่จะตองสูญเสียสิ่งที่ดีงาม ซ่ึงเปนเอกลักษณของชาติอยางหน่ึงไป ดงั นนั้ จึงควรทค่ี นไทยทุกคนจะไดต ระหนัก ถงึ คุณคาของ ดนตรีไทย และชวยกันทะนุบํารงุ สงเสรมิ และ รกั ษาไว เพื่อเปนมรดกทางวฒั นธรรมของชาตสิ ืบตอไป ในยคุ รัตนโกสินทรจ ัดวา เปน ยุคทองยคุ หนงึ่ ของวงการดนตรไี ทยเลยทเี ดียว โดยเริ่มจากสมยั รัตนโกสนิ ทรต อนตน มีการประพนั ธเพลง \"ทางกรอ\" ข้นึ เปน ครงั้ แรก ซึ่งเปนการพัฒนาการประพนั ธ เพลงจากเดิมซ่งึ มีเพียงเพลงทางเก็บวงดนตรใี นยุคสมยั น้เี รมิ่ มีการแบงออกเปน สามประเภท ไดแ ก วงเครอื่ งสาย ซ่งึ ประกอบดวยเคร่ืองดนตรที ่มี สี ายท้งั หลาย เชน ซอ จะเข เปน ตน วงปพาทย ประกอบดว ยเครอื่ งตีเปนสวนใหญ ไดแก ระนาด ฆอง และป เปน ตน วงมโหรี เปนการรวมกนั ของวงเครือ่ งสายและวงปพาทย แตต ัดปออกเพราะเสยี งดงั กลบ เสียงเครอ่ื งสายอนื่ หมด ดนตรีไทยสวนใหญที่มีพัฒนาการมาอยางรวดเร็วลวนมาจากความนิยมของเจานายในราช สาํ นกั ความนิยมเหลา น้ีแพรไ ปจนถึงขุนนางและผูดมี เี งนิ ท้ังหลาย ตางเห็นวาการมีวงดนตรีประจําตัวถือ วาเปนสิ่งเชิดหนาชูตา จึงมีการสรรหานักดนตรีฝมือดีมาเลนในวงของตนเอง เกิดมีการประกวด ประชัน และการแขง ขนั กนั พัฒนาฝมอื ขน้ึ โดยเฉพาะสมยั รัชกาลท่ี 5 - 7 จดั วา เปน ยคุ ท่วี งการดนตรไี ทย ถึงจดุ รุงเรอื งสุด สมยั รตั นโกสนิ ทรต อนตนมีความนิยมในการเลนและการฟง วงเครือ่ งสายและมโหรีกัน มาก เพราะมคี วามน่มิ นวล เหมาะแกก ารฟง ขณะรับแขก รบั ประทานอาหาร หรือกลอมเขานอน เจานาย และขา ราชการผูใหญต า งมคี วามสนใจเลนเครื่องสายกนั มาก อาทิเชน พระเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 2 ทรงพระ

59 ปรชี าสามารถดา นซอสามสาย ทรงมซี อคพู ระหัตถช ่ือ ซอสายฟาฟาด ทรงโปรดซอสามสายมาก ถึงกับมี พระบรมราชโองการใหออก \"ตราภูมิคุมหาม\" ใหแกเจาของสวนที่มีตนมะพราวซอ (มะพราวที่กะลา สามารถนําไปทําซอได ปจจุบันนี้หายากมากและมีราคาแพงมาก กะลาราคาลูกละ 400 - 300,000 บาท) ซึ่งจะเปน การยกเวนไมใหเก็บภาษีแกผูมีมะพราวซอนอกจากน้ี พระองคยังพระราชนิพนธเพลง ไทยช่ือ บุหลันลอยเลอ่ื น ซึ่งมที ่ีมาจากพระสุบนิ นิมติ ของพระองคเ องดวย ตอ มาในยุคหลัง เร่มิ มีการนยิ ม ฟงการขับเสภา ในยุคนั้นคือเรื่องขุนชางขุนแผน แรก ๆ ก็ขับเสภาเด่ียว ๆ หลัง ๆ มา ก็เร่ิมมีการนําเอา ดนตรี \"ปพาทย\" เขา มารวมในการขับเสภาดว ย เพอ่ื ใหน ักขับเสภาไดพักเสียงเปนระยะ หนักเขาคงเห็น กันวา ปพาทยน าฟง กวาจงึ ไมฟงเสภาเลย ตัดนกั ขับเสภาออกเหลือแตวงปพาทย ความนิยมในวงปพาทย จงึ มมี ากขึน้ และเขา มาแทนทวี่ งมโหรีและเครือ่ งสาย ในยุคสมัยนั้นเจานายและขาราชการผูใหญตางเห็นกันวาการมีวงปพาทยชั้นดีเปนของประดับ บารมีชั้นเย่ยี ม จึงไดม กี ารหานกั ดนตรจี ากท่วั ทุกสารทศิ มาอยูในวงของตนเอง และมีการนําเอาวงดนตรี มาประกวดประชนั กนั อยา งทเี่ ราไดด ูในภาพยนตรเรื่อง \"โหมโรง\" ในสมัยรัชกาลท่ี 6 มีการกําหนดราช ทินนามของนักดนตรีทร่ี บั ราชการในราชสํานักเปนจํานวนมาก โดยแตละช่ือก็ตั้งใหคลองจองกันอยาง ไพเราะ ไดแก ประสานดรุ ิยศพั ท ประดบั ดุรยิ กิจ ประดิษฐไพเราะ เสนาะดุริยางค สําอางดนตรี ศรีวาทิต สิทธิวาทนิ พิณบรรเลงราช พาทยบ รรเลงรมย ประสมสังคีต ประณตี วรศัพท คนธรรพวาที ดนตรีบรรเลง เพลงไพเราะ เพราะสําเนยี ง เสียงเสนาะกรรณ สรรเพลงสรวง พวงสาํ เนียงรอ ย สรอ ยสําเนยี งสนธ วิมลเรา ใจ พไิ รรมยา วีณาประจินต วีนินประณีต สังคีตศัพทเสนาะ สังเคราะหศัพทสอางค ดุริยางคเจนจังหวะ ดุริยะเจนใจ ประไพเพลงประสม ประคมเพลงประสาน ชาญเชิงระนาด ฉลาดฆองวง บรรจงทุมเลิศ บรรเจดิ ปเ สนาะ ไพเราะเสยี งซอ คลอขลมุ คลอ ง วอ งจะเขร บั ขบั คําหวาน ตันตริการเจนจิต ตนั ตรกิ จิ ปรีชา นารถประสาทศัพท คนธรรพประสิทธิ์สาร พูดถึงหนังเรื่องโหมโรงแลวจะพลาดการพูดถึงนักดนตรี สําคัญทานหนึ่งแหงกรุงรัตนโกสินทรไปเปนไมได ทานก็คือ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลป บรรเลง) เพราะชีวประวัติของทานเปนแรงบันดาลใจใหผูสรางสรางหนังเร่ืองน้ีขึ้นมา หลวงประดิษฐ ไพเราะเปนนักดนตรีทม่ี ีความสามารถท้ังปพ าทยแ ละเครอ่ื งสาย เปน ผปู ระพันธเ พลงไทยหลายเพลง เชน แสนคาํ นึง นกเขาขะแมร ลาวเสีย่ งเทียน ฯลฯ ช่ือเพลงเหลาน้ีอาจจะไมคุนหูนัก แตหาไดลองฟงแลวจะ จําไดทันที เพราะนักดนตรีสากลรุนหลังมักนําทํานองเพลงเหลาน้ีมาประพันธเปนเพลงไทย สากล นอกจากน้ี ทานยังเปน ผูประดษิ ฐเ ครอื่ งดนตรี \"อังกะลุง\" โดยดัดแปลงมาจากเครือ่ งดนตรีพ้ืนบาน ของอนิ โดนเี ซยี อกี ดวย

60 หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง) มคี ํากลา ววายคุ ทองของดนตรีไทยหมดไปพรอ มกับยคุ ของทา นหลวงประดิษฐไพเราะ คาํ กลา วนีเ้ หน็ จะไมไกลเกินจริง เพราะในยคุ หลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง ในชวงสงครามโลกคร้ังทส่ี อง รฐั บาลไทยในยคุ ทา นจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดมนี โยบายสรางชาติใหเ ปน อารยะ โดยตองการสงเสริมให ดนตรไี ทยมแี บบแผน เปน อันหน่งึ อนั เดยี วกนั และดทู ัดเทียมชาติตะวันตก จงึ ไดมีการควบคมุ ใหน กั ดนตรี และศลิ ปะพนื้ บา นอน่ื ๆ ตองมีการสอบใบอนุญาตเลนดนตรเี พอ่ื ประกันมาตรฐานใหเ ปน ระบบเดยี วกัน มี การออกขอ บงั คบั ใหต อ งเลนดนตรีบนเกา อ้ี หามนง่ั เลน กับพน้ื ฯลฯ ซึง่ ในทางปฏิบัตแิ ลวเกิดปญหา มาก เนื่องจากการเลนดนตรีไทยเกดิ จากการสั่งสมรูปแบบแนวทางการเลน แตล ะสายตระกูลแตล ะครูไม เหมอื นกัน ไมอาจถือไดว าใครผดิ ใครถกู อีกทง้ั ขอ หามหลายอยา งก็ขัดตอวิถีชีวติ โดยเฉพาะบตั รอนุญาต เลน ดนตรี ทาํ ใหผ ูท ่ไี มใ ชน กั ดนตรีอาชพี เดือดรอนมากจากการทีไ่ มสามารถเลน ดนตรียามวางไดเ หมือนเคย ประกอบกบั แนวคดิ ของคนรนุ ใหมท่ีสนใจวัฒนธรรมตา งชาติมากกวา โดยมองวาการเลน ดนตรไี ทยเปนสิ่ง ลาสมัยและตอ งหามเหตกุ ารณน ้ที านหลวงประดิษฐไ พเราะไมพ อใจมาก แตไมสามารถแสดงออกได ทําได เพียงประพนั ธเ พลง ชอ่ื \"แสนคํานึง เถา\" ซงึ่ มที ว งทํานองสว นสามช้นั แสดงถงึ ความอัดอน้ั ตนั ใจ พรอ มเนอ้ื รองเปน เนือ้ หาตอวารฐั บาลในยคุ นนั้ เก่ยี วกับการควบคมุ ศิลปะ แตผ ูใ กลช ิดของทา นเกรงวาทา นจะไดร ับ อันตรายจากการโจมตีรัฐบาล จงึ ไดท าํ ลายตนฉบบั เนอื้ รอง และประพันธเ น้ือรอ งขึน้ ใหมเปนเพลงรกั แทน และไมมีใครทราบถงึ เน้อื หาตน ฉบับเนอ้ื รอ งเดมิ อกี เลย จรงิ ๆแลวมคี นเขา ใจผดิ กันเยอะ วาทานจอม พล ป. พิบูลสงครามละเลยศิลปะวฒั นธรรมของชาติ พยายามกีดกนั ดนตรีไทย แตแ ททีจ่ ริงแลว ทา นจอมพลฯ เปน ผูทม่ี คี วามรักและสนใจในดนตรไี ทยในระดับหนึง่ เคยปรากฏวา ทา นนยิ มฟง ดนตรไี ทย และเคยบริจาค เงินสวนตวั จาํ นวนมากเพอื่ ดนตรไี ทยดว ย เจตนารมณข องการควบคมุ ดนตรีไทยของทานจงึ มีท่ีมาจากเจตนา

61 ดที ีต่ องการใหดนตรีไทยมรี ะบบระเบยี บแบบแผนเทยี บเทาของตะวนั ตก แตผ ลกลับเปน ไปในทิศทาง ตรงกันขาม ดนตรไี ทยกลบั ถงึ จดุ ตกตา่ํ จนถงึ ทุกวันน้ี แมจ ะมกี ารพยายามใหประชาชนเขา ถงึ ดนตรีไทย แลว ดนตรไี ทยยงั กลับเปน เพยี งดนตรีทีใ่ ชใ นพธิ ี เปน เรอ่ื งของแบบแผน เปนของเฉพาะกลุม ไมสามารถ เขาใจได ไมส ามารถเขา ถึงได จรงิ ๆแลว ทกุ คนสามารถเขา ถึงและซึมซาบความไพเราะของดนตรไี ทยได เทา ๆ กบั ท่เี ราสามารถซึมซาบความไพเราะของเพลงไทยสากลท่ีเราฟง กนั อยทู ุกวัน เร่อื งที่ 2 เทคนิคและวิธีการเลนของเครื่องดนตรไี ทย การเทยี บเสียงซออู ใชข ลุยเพียงออเปา เสยี ง ซอล โดยปดมือบนและน้ิวคาํ้ เปาลมกลางๆ จะไดเสยี ง ซอล เพอื่ เทยี บเสียง สายเอก สว นสายทมุ ใหป ดมอื ลางหมด จนถงึ นว้ิ กอ ย เปา ลมเบา กจ็ ะไดเสยี ง โด ตามตองการ เพอ่ื เทียบ เสียงสายทมุ ใหต รงกบั เสยี งนั้น การนงั่ สซี อ น่งั ขัดสมาธิบนพ้นื หากเปนสตรใี หนัง่ พบั เพยี บขาขวาทบั ขาซาย วางกะโหลกซอไวบ นขาพับ ดานซา ย มือซา ยจับคนั ซอใหตรงกับท่มี เี ชือกรัดอก ใหตํ่ากวาเชือกรดั อกประมาณ 1 น้ิว สว นมือขวาจับคนั สี โดยแบง คันสอี อกเปน 5 สวน แลวจบั ตรง 3 สว นใหค ันสีพาดไปบนนิ้วชี้ และนวิ้ กลางในลักษณะหงาย มอื สว นน้ิวหัวแมม ือ ใชกํากบั คนั สโี ดยกดลงบนนวิ้ ชี้ นิ้วนางและนิว้ กอยใหง อติดกนั เพือ่ ทําหนา ท่ดี ันคัน ชักออกเมือ่ จะสีสายเอก และ ดงึ เขาเมื่อจะสีสายทุม การสีซอ วางคนั สใี หช ดิ ดา นใน ใหอ ยใู นลกั ษณะเตรยี มชักออก แลวลากคนั สอี อกชา ๆ ดวยการใชว ิธีสอี อก ลากคันสีใหสุด แลว เปลี่ยนเปนสีเขา ในสายเดยี วกนั ทาํ เรื่อยไปจนกวา จะคลอง พอคลอ งดีแลว ใหเปลย่ี น มาเปนสสี ายเอก โดยดันนว้ิ นางกบั นว้ิ กอ ยออกไปเล็กนอ ย ซอจะเปล่ยี นเปน เสียง ซอล ทันที ดังนค้ี ันสี ออก เขา ออก เขา เสียง โด โด ซอล ซอล ฝก เรื่อยไปจนเกดิ ความชาํ นาญ ขอ ควรระวัง ตอ งวางซอใหต รง โดยใชม อื ซา ยจบั ซอใหพอเหมาะ อยา ใหแ นนเกนิ ไป อยาใหห ลวม จนเกนิ ไป ขอ มอื ทจ่ี ับซอตอ งทอดลงไปใหพ อดี ขณะน่งั สยี ืดอกพอสมควร อยา ใหหลงั โกง ได มอื ท่คี ีบซอ ใหออกกาํ ลงั พอสมควรอยา ใหซอพลกิ ไปมา

62 การเทยี บเสยี งซอดวง ใชข ลยุ เพยี งออเปา เสยี ง ซอล โดยการปด มอื บน และ นิว้ คํ้า เปา ลมกลางๆ กจ็ ะไดเสียง ซอล ขนึ้ สาย ทุมของซอดว ง ใหตรงกบั เสียงซอลนี้ ตอ ไปเปนเสยี งสายเอก ใชข ลุยเปา เสียง เร โดยปด น้ิวตอ ไปอีก 3 นิ้ว เปาดวยลมแรง กจ็ ะได เสียง เร ข้ึนสายเอกใหตรงกบั เสียง เร นี้ การนัง่ สซี อ นั่งพบั เพียบบนพ้ืน จบั คันซอดวยมอื ซาย ใหไดก ึ่งกลางต่ํากวารดั อกลงมาเล็กนอย ใหซอเอนออก จากตวั นดิ หนอ ย คนั ซออยใู นอุงมือซาย ตัวกระบอกซอวางไวบนขา ใหตัวกระบอกซออยูในตําแหนงขอ พับตดิ กบั ลาํ ตวั มอื ขวาจับคันสีดว ยการแบงคนั สใี หได 5 สว น แลว จงึ จบั สวนที่ 3 ขางทา ย ใหคนั สีพาดไป บนมอื นิว้ ชี้ นว้ิ กลางเปน สวนรบั คันสี ใชน ิว้ หวั แมมือกดกระชบั ไว นวิ้ นางกบั น้ิวกอยงอไวสว นใน ซง่ึ จะ เปนประโยชนใ นการดนั คันสีออกมาหาสายเอก และ ดึงเขาเมอื่ ตองการสสี ายทมุ การสีซอ วางคันสไี วด านใน ใหอ ยใู นลกั ษณะเตรียมชกั ออก คอ ย ๆ ลากคันสีออกใหเกดิ เสียง ซอล จนสุดคัน ชัก แลว เปล่ยี นเปน สเี ขา ในสายเดียวกัน (ทาํ เรือ่ ยไปจนกวา จะคลอง) พอซอมสายในคลองดีแลว จึงเปลี่ยน มาสสี ายเอกซึ่งเปน เสียง เร โดยการใชน วิ้ นางกับนวิ้ กอ ยมอื ขวา ดันคนั สีออก ปฏบิ ตั จิ นคลอ งฝก สลบั ให เกิดเสียงดังน้ี คนั สี ออก เขา ออก เขา เสยี ง ซอล ซอล เร เร ขอ ควรระวงั ตองวางซอใหตรง โดยใชข อ มอื ซายควบคมุ อยาใหซอบดิ ไปมา

63 เครอ่ื งดดี จะเข เปนเคร่ืองดนตรปี ระเภทดดี มี 3 สาย เขา ใจวาไดป รบั ปรุงแกไ ขมาจากพณิ นํามาวางดีดกับพื้นเพ่ือ ความสะดวก จะเขไดนําเขารวมบรรเลงอยูในวงมโหรีคูกับกระจับปในสมัยรัชกาลท่ี 2 แหงกรุง รัตนโกสินทร มีผูนิยมเลนจะเขกันมาก ตัวจะเขทําเปน สองตอน คือตอนหัวและตอนหางตอนหัวเปน กระพงุ ใหญ ทําดวยไมแกนขนุน ทอนหัวและทอนหางขุดเปนโพรงตลอด ปดใตทองดวยแผนไม มีเทา รองตอนหัว 4 เทา และตอนปลายอีก 1 เทาทําหลังนูนตรงกลาง ใหส องขางลาดลง โยงสายจากตอนหัวไป ทางตอนหางเปน 3 สาย มลี ูกบดิ ประจาํ สายละ 1 อัน สาย 1 ใชเสนลวดทองเหลือง อีก 2 สายใชเสนเอ็น มี หยอ งรับสายอยูตรงปลายหาง กอนจะถึงลกู บดิ ระหวา งตวั จะเขมีแปนไมเรียกวา “นม” รองรับสายติดไว บนหลงั จะเข รวมท้งั สิน้ 11 อัน เพ่ือไวเ ปน ทส่ี ําหรบั นว้ิ กดนมแตละอันสูง เรียงลําดับขึ้นไป เวลาบรรเลง ใชด ดี ดว ยไมด ดี กลมปลายแหลมทาํ ดว ยงาชางหรอื กระดูกสัตว เคยี นดวย เสนดายสําหรับพันติดกับปลาย น้ิวชี้ขางขวาของผูดีด และใชนิ้วหัวแมมือ กับนิ้วกลางชวยจับใหมีกําลัง เวลาแกวงมือสายไปมา ให สมั พันธ กับมอื ขางซายขณะกดสายดว ย ซงึ เปนเครอื่ งดนตรชี นดิ ดีด มี 4 สาย เชน เดียวกบั กระจบั ป แตม ีขนาดเล็กกวา กะโหลกมีรปู รา ง กลม ทง้ั กะโหลกและคันทวน ใชไ มเ น้อื แขง็ ชิน้ เดยี วควาน ตอนทเ่ี ปนกะโหลกใหเ ปนโพรงตัดแผน ไมใ ห กลม แลว เจาะรตู รงกลางทาํ เปนฝาปดดา นหนา เพื่ออมุ เสยี งใหกงั วาน คันทวนนาํ เปนเหลย่ี มแบนตอน หนา เพ่ือตดิ ตะพานหรอื นมรบั น้ิว จํานวน 9 อนั ตอนปลายคนั ทวนทาํ เปนรปู โคง และขดุ ใหเ ปนรอง เจาะ รสู อดลูกบิดขา งละ 2 อัน รวมเปน 4 อันสอดเขาไปในรอง สาํ หรับขนึ้ สาย 4 สาย สายของซงึ ใชส ายลวดขนาดเล็ก 2 สาย และ สายใหญ 2 สาย ซึงเปนเครอื่ งดีดท่ีชาวไทยทาง ภาคเหนือนยิ มนํามา เลน รว มกบั ปซ อ และ สะลอ

64 พิณเปยะ พิณเปย ะ หรอื พณิ เพียะ เปน เคร่อื งดนตรีพน้ื เมอื งลา นนาชนดิ หน่งึ เปน เคร่ืองดนตรปี ระเภทดีด มี คนั ทวน ตอนปลายคนั ทวนทําดวยเหลก็ รปู หวั ชา งทองเหลือง สําหรบั ใชเ ปนที่พาดสาย ใชสายทองเหลือง เปน พืน้ สายทองเหลืองน้จี ะพาดผา นสลกั ตรงกะลาแลวตอ ไปผกู กบั สลักตรงดานซาย สายของพิณเปย ะมี ทงั้ 2 สายและ 4 สาย กะโหลกของพิณเปยะทาํ ดวยเปลือกน้ําเตา ตดั คร่งึ หรอื กะลามะพรา ว ก็ได เวลาดดี ใช กะโหลกประกบตดิ กับหนา อก ขยบั เปด ปด ใหเ กดิ เสียงตามตอ งการ ในสมัยกอ นชาวเหนือมักจะใชพ ณิ เปยะดีดคลอกบั การขับ ลาํ นาํ ในขณะที่ไปเกี้ยวสาว

65 เครอื่ งสี ซอดว ง เปนซอสองสาย กะโหลกของซอดว งนน้ั แตเดมิ ใชก ระบอกไมไผ กะโหลกของซอดว งน้ี ใน ปจจบุ นั ใชไมจ รงิ หรือ งาชางทํากไ็ ด แตท นี่ ยิ มวา เสยี งดนี นั้ กะโหลกซอดว งตองทําดว ยไมล าํ เจยี ก สว น หนาซอนิยมใชห นงั งเู หลอื มขงึ เพราะทาํ ใหเ กดิ เสยี งแกวเกดิ ความไพเราะอยางย่ิง ลกั ษณะของซอดว ง มี รปู รา งเหมอื นกับซอของจีนที่เรียกวา “ฮู – ฉนิ “ (Huchin) ทกุ อยา ง เหตุท่เี รียกวา ซอดวง กเ็ พราะมรี ปู ราง คลายเครอ่ื งดกั สตั ว กระบอก ไมไ ผเ หมือนกนั ซออู เปน ซอสองสาย ตัวกะโหลกทําดว ยกะลามะพรา ว คนั ทวนซออนู ี้ ยาวประมาณ 79 ซม. ใชส ายซอ สองสายผกู ปลายทวนใตก ะโหลก แลว พาดผานหนาซอ ขนึ้ ไปผูกไวก บั ลกู บดิ สองอัน โดยเจาะรคู ันทวน ดานบน แลวสอดลกู บิดใหทะลผุ านคนั ทวนออกมา และใชเ ชอื กผูกรงั้ กบั ทวนตรงกลางเปน รดั อก เพือ่ ให สายซอตงึ และสําหรับเปน ทกี่ ดสายใตรดั อกเวลาสี สว นคนั สขี องซออูนั้น ทาํ ดว ย ไมจ รงิ ใชข นหางมา ตรงหนาซอใชผ ามวนกลมๆ เพื่อทําหนาทเี่ ปน หมอนหนนุ สายใหพ น หนา ซอ ดา นหลังของซออมู ีรูปรา งคลายๆกบั ซอของจนี ที่เรียกวา ฮู – ฮู ( Hu-hu ) เหตทุ เี่ รยี กวา ซออูกเ็ พราะ เรยี ก ตามเสียงที่ไดย ินนั่นเอง

66 สะลอ สะลอ เปน เครอื่ งดนตรพี นื้ เมอื งลา นนาชนิดหน่ึง เปนประเภทเครอ่ื งสซี ง่ึ มที ้ัง 2 สาย และ 3 สาย คันชักสาํ หรับสีจะอยขู างนอกเหมอื นคนั ชักซอสามสาย สะลอ เรยี กอกี อยา งหน่ึงวา ทรอ หรอื ซะลอ ใชไ มแ ผน บางๆปดปากกะลาทําหลักท่หี วั สําหรบั พาดทองเหลอื ง ดา นหลังกะโหลกเจาะเปนรปู ลวดลาย ตา งๆสว นดา นลา งของกะโหลก เจาะทะลลุ ง ขา งลาง เพือ่ สอดคนั ทวนทีท่ ําดว ยไมชิงชนั ตรงกลางคนั ทวน มีรดั อกทําดว ยหวายปลายคนั ทวน ดา นบนเจาะรสู าํ หรับสอดลูกบิด ซงึ่ มี 2 หรือ 3 อัน สําหรับขึงสายซอ จากปลายลกู บดิ ลงมาถงึ ดา นกลางของกะโหลกมีหยอ งสําหรบั หนนุ สาย สะลอ เพื่อใหเ กดิ เสยี งเวลาสี คันชักสะลอ ทําดว ยไมดดั เปนรูป โคง ขึงดว ยหางมา หรอื พลาสตกิ เวลาสใี ชย างสนถูทาํ ใหเ กิดเสยี งได สะลอใชบ รรเลงประกอบการแสดงหรือบรรเลงรวมกบั บทรอ งและ ทาํ นองเพลงไดทุกชนิดเชน เขากับปใ นวงชา งซอ เขากบั ซงึ ในวงพนื้ เมือง หรือใชเ ดย่ี วคลอรอง ก็ได ซอสามสาย ซอสามสาย ปรากฏหลักฐานจากจดหมายเหตุ ลาลูแบร ท่บี ันทึกไวว า “….ชาวสยามมีเครื่อง ดุริยางคเล็กๆ นาเกลียดมาก มีสามสายเรยี กวา “ซอ” ….” ซง่ึ ชใี้ หเ หน็ วาในสมยั กรงุ ศรีอยุธยาหรือกอ นนนั้ มีซอสามสายและนยิ มเลนกัน ยุคตน ของกรงุ รตั นโกสนิ ทร ในสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลยั รัชกาลที่ 2 พระองคทา นยังโปรดทรงซอสามสายเปนอยา งยง่ิ จงึ ทําใหพ ระองค ทา นไดประดษิ ฐค ดิ สรางซอสามสายไดดวยความประณตี งดงาม และเปนแบบอยางมาจนถึงปจจุบันนี้ สวนตา งๆของซอสามสายมชี อื่ เรยี กดงั น้ี (1) ทวนบน เปนสว นบนสุดของคนั ซอ ควานดา นในใหเ ปน โพรงโดยตลอด ดานบนสดุ มรี ปู รา ง เปนทรงเทรดิ ดา นหนา ตรงปลายทวนตอนลา ง ทวนบนนที้ าํ หนาท่คี ลา ยๆกบั ทอ อากาศ (Air column) ให เสยี งทเี่ กดิ จากกะโหลกเปน ความถข่ี องเสียง แลวลอดผานออกมา ทางทวนบนน้ไี ด (2) ทวนลา ง ทําเปนรปู ทรงกระบอก และประดษิ ฐล วดลายสวยงาม และเรียกทวนลางนว้ี า ทวน เงนิ ทวนทอง ทวนมกุ ทวนลงยา เปน ตน ทวนลาง ทาํ หนา ท่เี ปน ตาํ แหนงสําหรับกดนิ้ว ลงบนสายใน ตาํ แหนง ตา งๆ (3) พรมบน คอื สวนท่ตี อ จากทวนลา งลงมา สว นบนกลงึ เปนลูกแกว สว นตอนลางทําเปนรปู ปาก ชางเพ่อื ประกบกับกะโหลกซอ (4) พรมลาง สว นท่ปี ระกบกับกะโหลกซอทาํ เปนรปู ปากชา ง เชน เดียวกับสว นลา งของ พรมบน ตรงกลางของพรมลางเจาะรูดานบนเพือ่ ใชสาํ หรบั เปน ที่รอ ย”หนวดพราหมณ” เพ่ือคลอ งกบั สาย ซอทงั้ สามสายและเหนยี่ วรง้ั ใหต ึง ตรงสว นปลายสดุ ของพรมลา งกลงึ เปน “เกลียวเจดยี ย อด (5) ถว งหนา ควบคมุ ความถข่ี องเสยี ง ทําใหมเี สียงนมุ นวลไพเราะ นา ฟง ย่ิงขึน้

67 (6 ) หยอ ง ทาํ ดว ยไมไ ผ แกะใหเปน ลกั ษณะคู ปลายทั้งสองของหยอ งควา นเปน เบาขนมครก เพื่อทาํ ใหเสียง ท่ีเกิดขน้ึ สง ผานไปยงั หนา ซอมีความกงั วานมากยิ่งขน้ึ (7) คนั สี (คันชกั ) คันสีของซอสามสาย ประกอบดว ยไมและหางมา คันสนี นั้ เหลาเปนรปู คันศร โดยมากนยิ มใชไมแกว เพราะเปน ไมเ นอ้ื แข็ง และมีลวดลายงดงาม เคร่อื งตี ระนาดเอก วิวฒั นาการมาจากกรบั ลูกระนาดทาํ ดว ยไมไ ผบ ง หรือไมแ กน โดยนาํ มาเหลาใหไดตามขนาดที่ ตอ งการ แลว ทาํ รางเพ่ืออุมเสยงเปนรูปคลา ยลาํ เรอื ใหห วั และทายโคงขึ้น เรยี กวา รางระนาด แผน ไมทีป่ ด หวั ทา ยรางระนาดเราเรียกวา “โขน” ระนาดเอกในปจ จุบนั มีจาํ นวน 21 ลูก มคี วามยาวประมาณ 120 ซม. มี เทา รอง รางเปนเทา เดย่ี ว รูปคลา ยกบั พานแวน ฟา ระนาดทมุ เปนเครือ่ งดนตรีท่ีสรางขนึ้ มาในรชั กาลท่ี 3 แหงกรุงรตั นโกสินทร เปน การสรางเลยี นแบบระนาด เอก รางระนาดทุมนั้นประดิษฐใ หมรี ูปรา งคลายหีบไม แตเ วาตรงกลางใหโ คง โขนปด หวั ทายเพื่อ เปนที่ แขวนผืนระนาดน้ัน ถาหากวัดจากโขนดา นหนงึ่ ไปยงั โขนอกี ดา นหนึ่ง รางระนาดทมุ จะมขี นาดยาว ประมาณ 124 ซม. ปาก รางกวางประมาณ 22 ซม. มีเทาเต้ยี ๆรองไว 4 มุมราง ระนาดเอกเหลก็ หรอื ระนาดทอง ระนาดเอกเหลก็ เปน เคร่ืองดนตรที ป่ี ระดษิ ฐขน้ึ ในรัชกาลที่ 4 แหงกรงุ รตั นโกสนิ ทร แตเดมิ ลกู ระนาดทาํ ดว ยทองเหลือง จึงเรยี กกนั วา ระนาดทอง ระนาดเอกเหลก็ มีขนาด 23.5 ซม. กวา งประมาณ 5 ซม. ลดหล่นั

68 ขึน้ ไปจนถึงลูกยอดทม่ี ขี นาด 19 ซม. กวา งประมาณ 4 ซม. รางของระนาดเอกเหลก็ นั้น ทําเปน รูปสเ่ี หลย่ี ม มีเทารองรับไวท ัง้ 4 ดา น ระนาดทุมเหล็ก ระนาดทุมเหล็กเปนเครอ่ื งดนตรที ีพ่ ระบาทสมเด็จพระปนเกลา เจาอยูหัว ในรชั กาลท่ี 4 มี พระราชดํารใิ หสรา งข้นึ ระนาดทุม เหล็กมจี ํานวน 16 หรือ 17 ลูก ตวั รางระนาดยาวประมาณ 1 เมตร ปาก ราง กวา งประมาณ 20 ซม. มเี ทา รองตดิ ลูกลอ 4 เทา เพอ่ื ใหเ คลอ่ื นที่ไปมาไดสะดวก ตัวรางสงู จากพื้นถงึ ขอบบนประมาณ 26 ซม. ระนาด ทุกชนิดที่กลา วมานน้ั จะใชไ มต ี 2 อัน สาํ หรบั ระนาดเอกทาํ ไมต ีเปน 2 ชนิด ชนดิ หนึง่ ทําหัวไมต ใี หแขง็ เมือ่ ตจี ะมีเสยี งดงั เกรยี วกราว เมื่อนําเขา ผสมวงจะเรยี กวา “วงปพ าทยไม แข็ง” อีกชนิดหนึ่ง ซง่ึ เกิดขนึ้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ประดิษฐไมต ีใหอ อนนมุ เม่อื ตีจะเกิด เสยี งนุมนวล เวลา นําระนาดเอกทใี่ ชไ มต ีชนดิ นม้ี าผสมวง จะเรียกวา “วงปพ าทยไมน วม” ลักษณะไมต ีระนาดมดี ังนี้ (1) ไมแข็ง ปลายไมระนาด พอกดว ยผาชบุ นํ้ารกั จนแขง็ (2) ไมนวม ปลายไมร ะนาด ใชผา พันแลวถกั ดว ยดายจนนมุ (3) ไมต รี ะนาดทมุ ปลายไมร ะนาด ใชผาพนั พอกใหโ ต และนมุ เพ่ือตใี หเ กดิ เสยี งทุม (4) ไมต รี ะนาดเหลก็ ปลายไมต ที ําดวยแผนหนังดิบ ตัดเปน วงกลมเจาะรูตรงกลาง แลวเอา ไมเปนดา มสาํ หรบั ถือมขี นาดใหญก วาไมตีระนาดเอกธรรมดา (5) ไมต ีระนาดทมุ เหล็ก ทําลกั ษณะเดียวกบั ไมต ฆี อ งวง แตป ลายไมพันดว ยหนงั ดบิ เพ่อื ให แขง็ เวลาตี จะเกดิ เสียงได

69 เคร่อื งเปา ขลยุ ทาํ ดวยไมไ ผป ลอ งยาวๆ ไวข อ ทางปลายแตเ จาะขอ ทะลุ ยา งไฟใหแ หง แลวตบแตง ผวิ ให ไหม เกรยี มเปนลวดลายสวยงาม ดานหนาเจาะรกู ลม ๆ เรยี งแถวกนั 7 รู สําหรับน้วิ ปด เปด เสยี ง ขลุยไมม ลี น้ิ เหมือนป แตเขาใชไ มอ ุดเต็มปลอ ง แลว ปาดดานลา งใหม ชี อ ง ไมอุดนเ้ี รยี กวา “ดาก” ทาํ ดว ย ไมส กั ดา นหลงั ใตด ากลงมา เจาะรูเปนรปู สเี่ หลย่ี มผนื ผา แตป าดตอนลางเปน ทางเฉยี งไมเ จาะ ทะลุตรง เหมอื นรูดา นหนา รูทีเ่ ปน รูปสเี่ หล่ียมผนื ผาน้ี เรียกวา “รูปากนกแกว ” ใตร ปู ากนกแกว ลงมา เจาะรอู ีก 1 รู เรียกวา “รนู ้วิ คํ้า” เหนอื รูนว้ิ คา้ํ ดาน หลัง และเหนอื รบู นของรดู า นหนาทั้งเจด็ รู แตอ ยทู าง ดา นขวา เจาะรอู ีกรูหนง่ึ เรยี กวา “รูเยือ่ ” เพราะแตกอ นจะใชเ ย่ือไมไผป ด รูนี้ตอมากไ็ มค อยไดใ ช ตรงปลาย เลาขลยุ จะเจาะรใู หซ ายขวา ตรงกนั เพอ่ื รอ ยเชอื ก เรยี กวา “รูรอ ยเชือก” ดังน้ัน จะสังเกตวา ขลุย 1 เลา จะมี รูท้งั สนิ้ 14 รู ขลุย มที งั้ หมด 3 ชนิดคอื (1) ขลยุ หลบี มีขนาดเลก็ (2) ขลุยเพียงออ มขี นาดกลาง (3) ขลยุ อู มขี นาดใหญ ตอมามผี ูสรา งขลุยกรวดขน้ึ มาอกี ชนดิ หน่ึง มเี สียงสูงกวาขลยุ เพียงออ 1 เสยี ง ขลยุ กรวดใชก บั วงเครอ่ื งสายผสมท่นี ําเอาเคร่ืองดนตรฝี ร่ัง มาเลนรว มวง

70 ป ป เปนเคร่ืองดนตรไี ทยแท ๆ ทาํ ดวยไมจ ริง กลงึ ใหเ ปนรปู บานหวั บานทาย ตรงกลางปอง เจาะ ภายในใหก ลวงตลอดเลา ทางหัวของปเ ปน ชอ งรูเล็กสว นทาง ปลายของป ปากรใู หญใชช นั หรอื วสั ดอุ ยาง อนื่ มาหลอ เสรมิ ขน้ึ อกี ราวขางละ ครึง่ ซม. สว นหวั เรียก “ทวนบน” สว นทายเรียก”ทวนลาง” ตอนกลาง ของป เจาะรนู ิ้วสาํ หรบั เปล่ยี นเสยี งลงมาจาํ นวน 6 รู รูตอนบนเจาะเรยี งลงมา 4 รู เจาะรลู า งอกี 2 รู ตรง กลางของเลาป กลึงขว้ันเปน เกลยี วคูไ วเปนจํานวน 14 คู เพือ่ ความสวยงามและกนั ลืน่ อกี ดว ย ตรงทวนบน นัน้ ใสลน้ิ ปที่ทาํ ดว ย ใบตาลซอ นกนั 4 ชั้น ตดั ใหก ลมแลว นําไปผูกตดิ กับทอลมเล็กๆท่ี เรียกวา “กําพวด” กาํ พวดนีท้ ําดว ยทองเหลือง เงนิ นาค หรอื โลหะอยางอื่นวธิ ีผูกเชือกเพอ่ื ใหใ บตาลตดิ กับกาํ พวดนั้น ใชว ธิ ี ผกู ท่ีเรียกวา “ผกู ตะกรุดเบด็ ” สวนของกําพวดท่ีจะตอ งสอดเขา ไปเลาปน น้ั เขาใชถักหรอื เคียน ดว ย เสนดา ย สอดเขา ไปในเลาปใ หพอมิดทพี่ ันดายจะทําใหเ กดิ ความแนนกระชับยิ่งขึน้ ปของไทยจดั ไดเ ปน 3 ชนิดดงั นี้ (1) ปนอก มขี นาดเล็ก เปนปท ี่ใชก นั มาแตเดมิ (2) ปกลาง มีขนาดกลาง สาํ หรับเลนประกอบการแสดงหนงั ใหญ มสี ําเนียงเสยี งอยูร ะหวาง ปน อก กบั ปใน (3) ปใน มขี นาดใหญ เปน ปท พ่ี ระอภัยมณใี ชส ําหรับเปาใหน างผีเสื้อสมุทร วงเครอ่ื งสาย วงดนตรไี ทยประเภทหนง่ึ ซง่ึ เครอ่ื งดนตรีสว นใหญใ นวงจะประกอบดวยเคร่ืองดนตรที ีใ่ ชส าย เปน ตน กําเนิดของเสยี งดนตรี เชน ซอดวง ซออู จะเข แมว า เครือ่ งดนตรีทน่ี ํามาบรรเลงนั้นจะมีวธิ ีบรรเลง แตกตางกัน เชน สี ดดี หรอื ตี กต็ าม จึงเรยี กวงดนตรปี ระเภทน้ีวา \"วงเครอื่ งสาย\"

71 วงเคร่ืองสายอาจมเี ครอื่ งดนตรีประเภทเครอื่ งเปา เชน ขลุย หรือเครอื่ งกาํ กบั จงั หวะ เชน ฉงิ่ กลอง บรรเลงดว ยก็ถอื วาอยใู นวงเครื่องสายเชน กนั เพราะมีเปน จาํ นวนนอยทน่ี ําเขา มารว มบรรเลงดว ยเพอ่ื ชวยเพมิ่ รสในการบรรเลงดว ยเพอ่ื ใหน า ฟงมากยงิ่ ขนึ้ วงเครอ่ื งสายเกิดขึ้นในสมัยอยธุ ยา ซ่งึ มีเครอ่ื งสี คือ ซอ เครอื่ งดดี คอื จะเข และกระจบั ป ผสม ในวง ปจ จุบนั วงเคร่ืองสายมี 4 แบบ คือ 1. วงเคร่ืองสายไทยเครอ่ื งเด่ยี ว เปน วงเครื่องสายทม่ี เี ครอ่ื งดนตรีผสมเพียงอยางละ 1 ช้ิน เรยี ก อีกอยางหน่ึงวา วงเคร่ืองสายไทยวงเล็ก เครื่องดนตรที ีผ่ สมอยใู นวงเครอ่ื งสายไทยเครอื่ งเดี่ยวนี้นับวา เปน สิ่งสําคัญและถือเปน หลกั ของวงเครื่องสายไทยทีจ่ ะขาดสิง่ หนง่ึ สิ่งใดเสยี ไมไ ด เพราะแตละสง่ิ ลวนดาํ เนิน ทํานองและมีหนา ท่ีตาง ๆ กัน เมือ่ ผสมเปนวงขึ้นแลว เสยี งและหนา ท่ขี องเครื่องดนตรีแตละอยางกจ็ ะ ประสมประสานกนั เปน อนั ดี เคร่ืองดนตรที ี่ผสมอยูในวงเคร่อื งสายไทยเครอ่ื งเด่ยี วซง่ึ ถอื เปน หลัก คอื 1. ซอดวง เปน เครื่องสที ี่มีระดบั เสียงสูงและกระแสเสยี งดัง มีหนาที่ดําเนนิ ทํานองเพลง เปนผนู ําวง และเปนหลกั ในการดาํ เนินทาํ นอง 2. ซออู เปนเครื่องสที ่มี รี ะดบั เสยี งทุม มหี นา ทด่ี าํ เนนิ ทาํ นองหยอกลอ ย่วั เยา กระตนุ ให เกิดความครกึ ครน้ื สนกุ สนานในจําพวกดาํ เนินทาํ นองเพลง 3. จะเข เปนเคร่ืองดีดดาํ เนนิ ทํานองเพลงเชน เดยี วกบั ซอดว ง แตมวี ธิ ีการบรรเลงแตกตาง ออกไป 4. ขลุยเพียงออซงึ่ เปนขลยุ ขนาดกลาง เปน เคร่ืองเปาดําเนินทาํ นองโดยสอดแทรกดวย เสียงโหยหวนบาง เกบ็ บาง ตามโอกาส 5. โทนและรํามะนา เปนเครอ่ื งตที ีข่ งึ หนังหนา เดยี ว และทง้ั 2 อยา งจะตอ งตใี หส อดสลบั รบั กนั สนิทสนมผสมกลมกลืนเปน ทาํ นองเดยี วกนั มหี นา ทีค่ วบคมุ จงั หวะหนา ทับ บอกรสและสําเนียง เพลงในภาษาตา ง ๆ และกระตนุ เรงเรา ใหเ กดิ ความสนกุ สนาน 6. ฉิ่ง เปนเครอ่ื งตี มีหนา ทคี่ วบคุมจงั หวะยอยใหก ารบรรเลงดาํ เนินจงั หวะไปโดย สมาํ่ เสมอ หรือชา เร็วตามความเหมาะสมเคร่อื งดนตรใี นวงเครอื่ งสายไทยเคร่อื งเด่ยี วอาจเพม่ิ เครอื่ งที่จะทาํ ใหเกิดความไพเราะเหมาะสมไดอกี เชน กรับและฉาบเล็กสาํ หรับตีหยอกลอย่ัวเยา ในจําพวกกาํ กับจังหวะ โหมง สาํ หรบั ชวยควบคุมจังหวะใหญ 2. วงเครอื่ งสายไทยเครอื่ งคู คําวา เครือ่ งคู ยอ มมคี วามหมายชัดเจนแลววาเปนอยา งละ 2 ชน้ิ แตสาํ หรับการผสมวงดนตรจี ะตอ งพิจารณาใครค รวญถึงเสยี งของเคร่ืองดนตรีทจี่ ะผสมกนั นนั้ วา จะ บงั เกิดความไพเราะหรอื ไมอ กี ดวย เพราะฉะนนั้ วงเคร่ืองสายไทยเครอ่ื งคจู งึ เพิ่มเครือ่ งดนตรีในวง เครอ่ื งสายไทยเครือ่ งเดีย่ วขนึ้ เปน 2 ชิ้น แตเ พยี งบางชนิด คอื 1. ซอดว ง 2 คนั แตทาํ หนาท่ผี นู าํ วงเพียงคันเดยี ว อกี คนั หนง่ึ เปนเพียงผชู วย

72 2. ซออู 2 คัน ถา สเี หมือนกันไดกใ็ หด ําเนินทาํ นองอยา งเดยี วกนั แตถา สเี หมอื นกนั ไมไดกใ็ ห คันหนงึ่ หยอกลอ หาง ๆ อกี คันหน่งึ หยอกลอ ยัว่ เยา อยางถี่ หรอื จะผลดั กันเปนบางวรรคบางตอนก็ได 3. จะเข 2 ตวั ดําเนนิ ทํานองแบบเดยี วกัน 4. ขลยุ 2 เลา เลาหนึ่งเปนขลุยเพียงอออยางในวงเครอื่ งสายไทยเคร่อื งเดี่ยว สวนเลาทเ่ี พิ่มขึ้นเปนขลยุ หลีบซ่ึงมีขนาดเลก็ กวาขลุยเพียงออ และมเี สียงสงู กวาขลยุ เพยี งออ 3 เสียง มี หนา ท่ีดาํ เนินทํานองหลบหลกี ปลกี ทางออกไป ซงึ่ เปน การยว่ั เยา ไปในกระบวนเสยี งสูงสําหรับโทน ราํ มะนา และฉงิ่ ไมเ พ่มิ จาํ นวน สว นฉาบเลก็ และโหมง ถาจะใชก ็คงมจี ํานวนอยางละ 1 ชิ้นเทาเดมิ ตั้งแต โบราณมา วงเคร่อื งสายไทยมีอยา งมากก็เพยี งเครอ่ื งคดู งั กลาวแลวเทานน้ั ในสมัยหลังไดม ผี คู ดิ ผสมวง เปน วงเคร่อื งสายไทยวงใหญ ขน้ึ โดยเพ่ิมเครือ่ งบรรเลงจาํ พวกดาํ เนนิ ทํานอง เชน ซอดวง ซออู และขลยุ ขนึ้ เปนอยางละ 3 ชนิ้ บา ง 4 ชิน้ บา ง การจะผสมเครื่องดนตรชี นิดใดเขา มาในวงนน้ั ยอมกระทาํ ได ถา หากเครอ่ื งดนตรีน้นั มีเสียงเหมาะสมกลมกลนื กบั เครอ่ื งอื่น ๆ แตจะเพ่ิมเติมในสวน เครอื่ งกํากับจังหวะ เชน โทน รํามะนา ฉ่งิ ฉาบ และโหมง ไมได ไดแตเปลย่ี นเปน อยางอ่นื ไป เชน ใชกลอง แขกแทนโทน รํามะนา 3. วงเครอ่ื งสายผสม เปนวงเครือ่ งสายท่ีนาํ เอาเครอ่ื งดนตรีตางชาตเิ ขามารวมบรรเลงกับ เครื่องสายไทย การเรียกช่อื วงเครือ่ งสายผสมน้นั นยิ มเรียกตามช่อื ของเคร่อื งดนตรตี างชาตทิ นี่ าํ เขามารวม บรรเลงในวง เชน นาํ เอาขมิ มารว มบรรเลงกับ ซอดว ง ซออู ขลุย และเครือ่ งกาํ กบั จังหวะตา ง ๆ แทนจะเข ก็ เรยี กวา \"วงเคร่อื งสายผสมขมิ \" หรือนาํ เอาออรแ กนหรอื ไวโอลินมารว มบรรเลงดว ยกเ็ รียกวา \"วง เครือ่ งสายผสมออรแ กน\" หรอื \"วงเคร่ืองสายผสมไวโอลิน\" เครือ่ งดนตรตี า งชาติที่นยิ มนาํ มาบรรเลงเปน วงเคร่ืองสายผสมนน้ั มมี ากมายหลายชนดิ เชน ขิม ไวโอลนิ ออรแ กน เปย โน หบี เพลงชัก แอคคอรเ ดียน 4. วงเครือ่ งสายปช วา คือ วงเครอื่ งสายไทยทง้ั วงบรรเลงประสมกับวงกลองแขก โดยไมใชโ ทนและรํามะนา และใชข ลุย หลบี แทนขลยุ เพียงออกเพื่อใหเ สยี งเขากบั ปชวาไดดี เดมิ เรยี กวา วงกลองแขกเครอ่ื งใหญ วงเคร่อื งสายปช วา นี้เกดิ ขน้ึ ในปลายรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจอม เกลา เจา อยหู วั การบรรเลงเครอื่ งสายปช วานน้ั นักดนตรจี ะตอ งมไี หวพรบิ และความเชยี่ วชาญในการบรรเลง เปนพิเศษ โดยเฉพาะฉิง่ กาํ กับจงั หวะจะตองเปน คนท่ีมสี มาธดิ ที ี่สดุ จึงจะบรรเลงไดอยา งไพเราะ เพลงที่วง เครื่องสายปช วานิยมใชบ รรเลงเปน เพลงโหมโรง ไดแ ก เพลงเร่ืองชมสมุทร เพลงโฉลก เพลงเกาะ เพลง ระกํา เพลงสะระหมา แลว ออกเพลงแปลง เพลงออกภาษา แลวกลับมาออกเพลงแปลงอีกครง้ั หนง่ึ

73 วงมโหรี วงดนตรไี ทยประเภทหนงึ่ ซ่งึ ประกอบดว ยเคร่อื งดนตรีผสมทง้ั ดดี สี ตี เปา เปนวงดนตรีท่ีใช บรรเลงเพ่ือขบั กลอ ม ไมนิยมบรรเลงในการแสดงใด ๆ วงมโหรีมี 5 แบบ คอื 1. วงมโหรีเคร่อื งส่ี เปน วงมโหรีทรี่ วมเอาการบรรเลงพณิ และการขับไม ซึ่งมมี าแตโ บราณเขา ดวยกนั เกดิ ขน้ึ คร้งั แรกในสมยั อยธุ ยา มเี ครอ่ื งดนตรี 4 ชิน้ คอื 1.1 ทบั (ปจ จุบันเรยี กวา โทน) เปน เคร่ืองควบคมุ จงั หวะ 1.2 ซอสามสาย 1.3 กระจบั ป 1.4 กรับพวง (ผขู ับรอ งเปน ผูตกี รับพวง) วงมโหรเี ครื่องส่ีนี้เดิมผชู ายเปน ผบู รรเลง ตอ มาเม่อื นิยมฟง มโหรีกันแพรห ลาย ผมู บี รรดาศักดจ์ิ ึงนิยมใหผ ูหญงิ ฝก หัดบรรเลงบางและไดรบั ความนิยมสบื ตอมา 2. วงมโหรีเครื่องหก คอื วงมโหรเี ครือ่ งสซ่ี ง่ึ เพม่ิ เครื่องดนตรอี กี 2 อยา ง คอื รํามะนา สาํ หรับตี กาํ กบั จงั หวะคกู ับทับ และขลุย (ปจ จบุ ันเรยี กวา ขลยุ เพียงออ) สําหรบั เปา ดําเนนิ ทาํ นอง และเปล่ียนใชฉ ง่ิ แทนกรับพวง นบั เปนการบรรเลงท่ีมีเคร่ืองดนตรคี รบทงั้ ดดี สี ตี และเปา เกดิ ขึ้นในตอนปลายสมยั อยธุ ยา 3. วงมโหรเี ครอื่ งเดีย่ ว หรือ มโหรีเครอ่ื งเล็ก คือ วงมโหรีท่ีไดเพมิ่ เครอ่ื งดนตรแี ละเปลย่ี นแปลง มาโดยลาํ ดบั ต้งั แตสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ครั้งแรกเพ่มิ ระนาดเอกและฆอ งวง (ภายหลังเรียกวา ฆอง กลางหรือฆองมโหร)ี (ดู ฆองมโหรี ประกอบ) ตอมาจงึ ไดเ พ่ิมซอดวงและ ซออู สวนกระจบั ปน นั้ เปลย่ี นเปนใชจ ะเขแ ทน เน่อื งจากเวลาบรรเลงจะเขวางราบไปกับพื้น ซ่ึงตา งกับ กระจับปทตี่ องตั้งดดี ทง้ั นมทใ่ี ชร องรับสายและบงั คบั เสียงก็เรยี งลาํ ดบั มีระยะเหมาะสมกวา กระจับป เวลา บรรเลงจงึ ทาํ ใหใชน ิว้ ดดี ไดสะดวกและแคลว คลอ งกวา นอกจากนีจ้ ะเขย งั สามารถ ทําเสียงไดดังและทําเสยี งไดมากกวา กระจบั ป

74 ปจ จุบันวงมโหรเี คร่ืองเดยี่ วประกอบดวยเครอื่ งดนตรีดงั นี้ 1. ซอสามสาย 1 คัน ทําหนาท่ีคลอเสียงผูขับรอง และบรรเลงดําเนินทํานองรวมในวง 2. ซอดว ง 1 คนั ดําเนนิ ทาํ นองโดยเกบ็ บาง หวานบาง 3. ซออู 1 คนั ดําเนนิ ทาํ นองเปน เชิงหยอกลอ ยวั่ เยาไปกับทาํ นองเพลง 4. จะเข 1 ตวั ดาํ เนินทาํ นองโดยเก็บบาง รัวบาง และเวน หา งบา ง 5. ขลุยเพยี งออ 1 เลา ดําเนินทํานองเกบ็ บาง โหยหวนบาง 6. ระนาดเอก 1 ราง ดําเนินทํานองเกบ็ บา ง กรอบา ง ทําหนา ที่เปนผนู าํ วง 7. ฆอ งวง (เรยี กวา ฆอ งกลางหรอื ฆอ งมโหร)ี 1 วง ดาํ เนินทํานองเนือ้ เพลงเปนหลักของวง 8. โทน 1 ลูก ราํ มะนา 1 ลูก ตีสอดสลับกัน ควบคมุ จงั หวะหนา ทบั 9. ฉิ่ง 1 คู ควบคมุ จังหวะยอย แบง ใหร จู ังหวะหนักเบา 4. วงมโหรีเครือ่ งคู คอื วงมโหรีเครอ่ื งเด่ยี วทไี่ ดเ พมิ่ ระนาดทมุ และฆองวงเล็กเขาในวง ทงั้ นเ้ี นื่อง ดว ยในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา เจาอยหู ัว วงปพาทยไดเพิ่มระนาดทมุ และฆอ งวงเล็กรวม เรียกวา วงปพ าทยเ ครือ่ งคู วงมโหรจี งึ เพิ่มเครือ่ งดนตรดี งั กลา วบา ง นอกจากนน้ั ยังเพิม่ ซอดว งและซออูข้นึ เปนอยางละ 2 คัน เพ่ิมจะเขเ ปน 2 ตัวขลุยนัน้ เดิมมแี ตข ลยุ เพียงออ จงึ เพิ่มขลยุ หลบี อีก 1 เลา สวนซอสาม สายกเ็ พิ่มซอสามสายหลีบอีก 1 คัน และเพ่มิ ฉาบเล็กอีก1 คดู ว ย ปจจบุ นั วงมโหรีเครือ่ งคปู ระกอบดว ยเครื่องดนตรดี ังน้ี 1. ซอสามสาย 1 คนั หนาทเ่ี หมอื นในวงมโหรีเคร่ืองเด่ยี ว 2. ซอสามสายหลบี 1 คัน บรรเลงรวมกบั เครือ่ งดําเนินทาํ นองอื่น ๆ 3. ซอดว ง 2 คนั หนา ทเ่ี หมอื นในวงมโหรเี ครอื่ งเดย่ี ว 4. ซออู 2 คนั หนา ท่เี หมอื นในวงมโหรีเครือ่ งเดย่ี ว 5. จะเข 2 ตวั หนาทเ่ี หมือนในวงมโหรเี คร่อื งเดี่ยว 6. ขลยุ เพยี งออ 1 เลา หนาท่ีเหมือนในวงมโหรเี คร่อื งเดยี่ ว 7. ขลยุ หลบี 1 เลา ดําเนนิ ทํานองเกบ็ บา ง โหยหวนบาง สอดแทรกทาํ นองเลน ลอไปทางเสยี งสงู 8. ระนาดเอก 1 ราง หนาทเ่ี หมอื นในวงมโหรเี ครือ่ งเดย่ี ว 9. ระนาดทุม 1 ราง ดาํ เนนิ ทํานองเปนเชงิ หยอกลอ ยั่วเยาใหเ กดิ อารมณครึกคร้นื 10. ฆองวง 1 วง หนา ทีเ่ หมอื นในวงมโหรีเครื่องเดีย่ ว 11. ฆองวงเล็ก 1 วง ดําเนินทาํ นองเก็บถี่ ๆ บาง สะบดั บาง สอดแทรกทาํ นองไปทางเสยี งสูง 12. โทน 1 ลูก ราํ มะนา 1 ลกู หนาทเ่ี หมือนในวงมโหรีเครอื่ งเด่ยี ว 13. ฉ่งิ 1 คู หนา ที่เหมือนในวงมโหรเี ครื่องเดีย่ ว

75 14. ฉาบเลก็ 1 คู วงปพ าทย เปน วงดนตรีไทยประเภทหนงึ่ ทป่ี ระกอบดว ยเครอื่ งเปา คอื ป ผสมกับเครอื่ งตี ไดแ กร ะนาด และฆองวงชนดิ ตา ง ๆ เปน หลกั และยังมเี ครื่องกาํ กับจังหวะ เชน ฉง่ิ ฉาบ กรับ โหมง ตะโพน กลองทัด กลองแขก และกลองสองหนา ปพ าทยน บ้ี างสมัยเรยี กวา \"พิณพาทย\" วงปพาทยมี 8 แบบ คอื 1. วงปพ าทยเ ครือ่ งหา เปน วงปพาทยท่ีเปนวงหลกั มจี ํานวนเครื่องดนตรีนอ ยชน้ิ ท่สี ุด ดังน้ี ปใ น 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ฆอ งวงใหญ 1 วง กลองทัด 2 ลูก ตะโพน 1 ลูก ฉิ่ง 1 คู ในบางกรณีอาจใชฉาบ กรับ โหมง ดว ย

76 2. วงปพ าทยเ คร่อื งคู เปน วงปพ าทยท ่ปี ระกอบดว ยเครื่องทาํ ทาํ นองเปนคเู นอ่ื งดวย ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา เจาอยหู ัว ไดมผี ูคดิ เครอื่ งดนตรีเพ่ิมขน้ึ อกี 2 อยาง คอื ระนาดทุม กบั ฆองวงเลก็ และนาํ เอาปนอกซึ่งใชใ นการบรรเลงปพ าทยสาํ หรับการแสดงหนงั ใหญสมัยโบราณมารวมเขา กับวงปพ าทยเ คร่อื งหาที่มอี ยเู ดมิ วงปพ าทยเ ครอ่ื งคมู เี ครื่องดนตรีดงั นี้ ป 1 คู คอื ปในและปน อก ระนาด 1 คู คือ ระนาดเอกและระนาดทมุ ฆอ งวง 1 คู คือ ฆองวงใหญแ ละฆอ งวงเล็ก กลองทดั 1 คู ตะโพน 1 ลูก ฉง่ิ 1 คู ฉาบเลก็ 1 คู ฉาบใหญ 1 คู โหมง 1 ใบ กลองสองหนา 1 ลูก (บางทใี ชก ลองแขก 1 คู แทน) ในบางกรณีอาจใชก รบั ดวย 3. วงปพาทยเ ครอื่ งใหญ คอื วงปพ าทยเ คร่ืองคทู เ่ี พิ่มระนาดเอกเหลก็ กับระนาด ทุม เหลก็ ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลา เจา อยูหวั ทรงประดษิ ฐขน้ึ กลายเปน วงปพ าทยทีม่ ีระนาด 4 ราง โดยตั้งระนาดเอกเหล็กทร่ี มิ ดานขวามอื และตัง้ ระนาดทมุ เหลก็ ที่รมิ ดานซา ยมอื ซ่งึ นกั ดนตรนี ยิ ม เรยี กกนั วา \"เพิ่มหัวทา ย\" วงปพ าทยเ คร่ืองใหญใ นรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูห วั บางวงก็ เพ่มิ กลองทัด รวมเปน 3 ใบบาง 4 ใบบาง สว นฉาบใหญน ํามาใชในวงปพ าทยใ นรัชสมยั พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัววงปพาทยท้ังเครื่องหา เครอื่ งคู และเครื่องใหญ ถา มกี ารบรรเลงเพลงภาษาจะใช เครื่องดนตรกี าํ กับจังหวะของภาษานนั้ ๆ ดว ย เชน ภาษาเขมร ใช โทน ภาษาจนี ใช กลองจนี กลองตอ ก แตว ภาษาฝรงั่ ใช กลองมรกิ ัน (อเมรกิ นั ) หรือกลองแตรก็ (side drum, snare drum) ภาษาพมา ใช กลองยาว ภาษามอญ ใช ตะโพน เปงมาง

77 4. วงปพาทยน างหงส คอื วงปพ าทยธ รรมดาซึ่งใชบรรเลงทัว่ ไป แตเมอ่ื นาํ มาใชประโคม ในงานศพ จะนาํ วงบวั ลอยซง่ึ ประกอบดว ยปช วา 1 เลา กลองมลายู 1 คู และเหมง 1 ใบ ทใี่ ชประโคมใน งานศพเขา มาผสม (ดู วงบวั ลอย ประกอบ) โดยตดั ปใ น ตะโพน และกลองทดั ออก ใชปช วาแทนปใ น ใช กลองมลายูแทนตะโพนและกลองทดั สว นเหมง น้ันมีเสยี งไมเหมาะกบั วงปพาทยจ งึ ไมน าํ มาใช ใชแ ต โหมงซึ่งมีอยเู ดิม เรยี กวา \"วงปพ าทยน างหงส\" วงปพ าทยน างหงสใชบรรเลงเฉพาะในงานศพมาแต โบราณกอนวงปพ าทยม อญ สาเหตทุ เ่ี รียกวาปพ าทยนางหงส ก็เพราะใชเพลงเรื่องนางหงส 2 ช้ัน เปนหลกั สาํ คัญในการบรรเลง นอกจากนย้ี งั มวี ิวัฒนาการไปใชบ รรเลงเพลงภาษาตา ง ๆ เรยี กวา \"ออกภาษา\" ดวย 5. วงปพาทยมอญ ประกอบดวยเคร่อื งดนตรที ไี่ ดอ ทิ ธพิ ลมาจากมอญ เชน ฆองมอญ ปม อญ ตะโพนมอญ และเปง มางคอก ปจจุบันวงปพ าทยม อญมี 3 ขนาด ไดแก 5.1 วงปพ าทยมอญเคร่อื งหา ประกอบดวยปม อญ ระนาดเอก ฆองมอญ ตะโพนมอญ เปงมาง คอก และเครอื่ งกาํ กบั จงั หวะ ไดแ ก ฉิง่ ฉาบ โหมง 5.2 วงปพ าทยม อญเคร่ืองคู มีลักษณะเดียวกบั วงปพ าทยมอญเคร่อื งหา แตเพม่ิ ระนาดทุมและ ฆองมอญวงเลก็ 5.3 วงปพ าทยม อญเครื่องใหญ มีลกั ษณะเดยี วกับวงปพาทยม อญเครื่องคู แตเ พ่มิ ระนาดเอก เหล็กและระนาดทุม เหล็ก วงปพ าทยมอญนนั้ ทจี่ รงิ แลว ใชบรรเลงในโอกาสตา ง ๆ ไดท ้งั งานมงคล เชน งานฉลองพระ แกวมรกตในสมัยธนบุรี และงานอวมงคล เชน งานศพ แตต อมานิยมบรรเลงในงานศพ เนอื่ งจาก ทวงทาํ นองเพลงมอญมีลีลาโศกเศรา โหยหวน ซ่ึงเหมาะกบั บรรยากาศของงาน จนบางทา นนกึ วา ปพาทย มอญใชบรรเลงเฉพาะในงานศพเทา นนั้

78 เร่ืองที่ 3 คณุ คา ความงามความไพเราะของเพลง และเคร่อื งดนตรไี ทย มนุษยไดสรางสรรคดนตรขี ึ้นจากภูมิปญ ญาและจนิ ตนาการ เพ่ือนํามาปรุงแตงความสมบรู ณใ น จติ ใจ ซึง่ มผี ลตอ รา งกาย อารมณ และสงั คม ดังนัน้ ดนตรจี งึ มีคุณคาและความงามท้งั ในระดับบุคคล กลุม ชน รวมไปถงึ ระดบั ประเทศ ดนตรไี ทยเปนศลิ ปะทบี่ ง บอกถึงความเปนชาติ คุณคา และความงามของดนตรีไทยสามารถ พิจารณาไดจ ากบทเพลงท่นี ักประพนั ธเ พลงประพนั ธขึ้น มีทว งทาํ นองตามโครงสรางของระบบเสียงเน้ือ รองทร่ี อยเรียงกนั อยา งสละสลวย มนี ักดนตรีทําหนาที่ถายทอดบทเพลง โดยใชระบบวิธีบรรเลงเครื่อง ดนตรที มี่ ีความหลากหลาย มวี ิธีขับรองที่กลมกลืนกัน และมีเคร่ืองดนตรีซึ่งมีรูปแบบเฉพาะสวยงามได สัดสวน คณุ คา และความงามทป่ี รากฏอยใู นกจิ กรรมทางสงั คมไทย ปรากฏอยใู นสังคมไทย ดังนี้ 1) คณุ คา และความงามของดนตรไี ทยท่ีเกย่ี วกับพระราชพธิ ี ดนตรีท่ีเกีย่ วกับพระราชพิธี เชน วง ปพาทย ใชบรรเลงในงานท่ีพระมหากษัตริยเสด็จทรงบําเพ็ญพระราชกุศลวงกลองแขก ใชบรรเลงใน กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค เชนเดียวกับการแหเ รอื ท่ีมีศลิ ปนเหในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค วงขบั ไมใชบรรเลงในพระราชพิธีข้ึนพระอูของพระราชโอรสและพระราชธิดา การประโคมวงปพาทย นางหงสใ นงานพระเมรุ เปน ตน 2) คุณคาและความงามของดนตรีไทยที่เกี่ยวกับศาสนา ดนตรีท่ีเก่ียวกับศาสนา โดยเฉพาะ ศาสนาท่เี ปน มูลฐานใหเ กดิ ประเพณตี างๆ ของไทยมาตง้ั แตอดีต คือศาสนาพราหมณและพระพุธศาสนา ดนตรที ี่เกยี่ วขอ งกบั ศาสนาพราหมณสว นใหญม ีบทบาทในงานพระราชพธิ ี สําหรับงานทเี่ กย่ี วของกบั พระ พธุ ศาสนา ทั้งงานมงคลและงานอวมงคลนบั จากอดีตจนถงึ ปจจบุ นั 3) คุณคา และความงามของดนตรีไทยที่เกี่ยวกับกิจกรรมทั่วไป กิจกรรมทั่วไป เชน งานมงคล สมรส งานฉลองความสาํ เรจ็ ของบุคคล เปนตน หรือเม่ือมีการจัดเลี้ยงตางๆ นิยมจัดใหมีวงดนตรีไทยมา บรรเลง เชน วงมโหรี วงเครอ่ื งสาย เปนตน สําหรับงานมงงคลสมรสทมี่ ีการแหขนั หมาก นิยมใชวงกลอง ยาวและวงแตรวงบรรเลงนํา คุณคา และตามงามของดนตรไี ทยทแี่ สดงออกถึงวฒั นธรรมของไทย จาํ แนกได 2 ดาน คอื 1) ดา นรปู ธรรม เคร่ืองดนตรไี ทยมีทั้งเครอ่ื งดดี เครอ่ื งสี เครอ่ื งตี และเครือ่ งเปา เคร่ืองดนตรี เหลา นคี้ รดู นตรีในอดตี ไดใ ชหลักการในการเลือกเครอ่ื งดนตรีใหมคี วามสอดคลอ งกนั เพอื่ ประสมเปน วง ดนตรี

79 2) ดา นนามธรรม รสของเพลงทเ่ี ปน ผลมาจากทํานองเพลงไทย ท่ีเกดิ จการบรรเลง จน กอใหเ กดิ อารมณและความรสู กึ วา เพลงนน้ั มคี วามเสนาะ ไพเราะ สนกุ สนาน เพลดิ เพลินอารมณ โศกเศรา การเขา ถงึ คณุ คาและความงามของดนตรไี ทย การเขาถงึ สนุ ทรยี รสในดนตรไี ทย ยอมทําใหพ บคุณคา และความงามของดนตรีไทย สง่ิ นม้ี ีสวนสาํ คญั ท่ที ําใหค นไทยเกดิ ความรสู ึกผกู พัน การเขา ถึงคณุ คาและ ความงามของดนตรีไทยสามารถทําไดโ ดย 1) การศกึ ษาและทาํ ความเขา ใจเรอ่ื งราวและเน้ือหาสาระตางๆ ของดนตรีไทย 2) การฟงเพลงไทยดวยความตั้งใจ สญั ลกั ษณข องดนตรไี ทย ดนตรีไทยมเี อกลักษณพ ิจารณาได 3 ประการคอื 1.วัสดุท่สี ราง เครื่องดนตรีของทุก ๆ ชาตใิ นยคุ เริม่ แรกก็มกั จะใชว สั ดุทม่ี ีอยูใ นถิน่ ของตนมาสรรคส รา งขึ้นแลวจึง คอยวิวัฒนาการตอไป สมัยโบราญทําดวยไมไผ ไมเน้ือแข็ง หนังและกระดูกสัตว เชน ซอดวง สวน กระบอกซอดวงจึงทําดวยงาชางซึ่งเปนส่ิงท่ีสวยงามมาก ซออู ซอสามสาย กะโหลกนั้นทําดวย กะลามะพรา ว ระนาดของไทยทําดวยไมไผซึ่งมีเสียงไพเราะนุมนวลกวาทําดวยไมเนื้อแข็งมาก สวน กลอง ตัวกลองทาํ ดวยไมเนอ้ื แข็งและขึงหนา ดว ยหนงั สัตว เฉพาะกลองท่ีขึงหนังสองหนาตรึงดวยหมุดท่ี เราเรียกกนั วา “กลองทดั ” นนั้ จีนไดเอาอยางไปใชแลวเรียกช่ือวา “นานตังกู” ซึ่งแปลวา “กลองของชาว ใต” สว นฆองท้งั ฆอ งโหมงฆอ งวงทําดว ยทองเหลือง 2.รูปรา งลักษณะ ในการสรางสรรคส่ิงตางๆ รูปรางลักษณะท่ีจะเห็นวางดงามน้ัน ยอมเปนไปตามจิตใจ นิสัยและ สัญชาตญาณท่ีเห็นงามของชาติน้นั ๆ ชนชาติไทยปนผูท่ีมีจิตใจและนิสัยออนโยน มีเมตตากรุณายิ้มแยม แจมใส ศิลปะตางๆของไทยจึงมักจะเปนรูปท่ีเปนเสนโคงออนชอย ที่จะหักมุม 45 องศาน้ันนอยที่สุด และทกุ ๆสิง่ มักจะเปนปลายเรียวแหลม ขอใหพิจารณาดูศิลปะตางๆของไทยเพ่ือเปรียบเทียบ เชน บาน ไทย จั่วและปนลมออนชอยจนถึง ปลายเรียวแหลม ชอฟาใบระกาของปราสาทราชวังและโบสถวิหาร ลว นแตออนชอ ยนา ชมสมสว น ลายไทยซึง่ เตม็ ไปดว ย กระหนกตา งๆ กระหนกทุกตัวจะเปน เสนโคงออน สลวยและสะบัดสะบิ้ง จนถึงปลายแหลม เคร่ืองแตงตัวละครรําเปนละครของไทยแท มีมงกุฎและชฎา เรยี วและยอดแหลม อินทรธนูท่ปี ระดบั บากโ็ คงและปลายแหลม ทา ราํ ของละครแขนและมือเม่อื จะงอหรือ จะเหยยี ดลว นเปน เสน โคง ตลอดจนปลายนว้ิ มือ ซ่งึ ออ นชอ ยนาดมู าก ทนี ีม้ าดูลักษณะรปู รางของเคร่ืองดนตรีไทย โทน ระนาดเอก ระนาดทมุ สวนสดั เปนเสนโคงและมี ปลายแหลมท้งั นัน้ โขนของฆองวงใหญและฆองเลก็ โอนสลวยขน้ึ ไป คลายหลงั คาบา นไทยสวนโขน ของคันซอดว งท่เี รยี กวา “ทวนบน” ก็โคง ออนขน้ึ ไปจนปลายคลายกบั โขนเรือพระราชพธิ ขี องไทยโบราณ น่คี อื รูปลกั ษณะของดนตรไี ทย 3. เสียงของดนตรีไทย

80 เคร่อื งดนตรไี ทยที่สรา งขึน้ มีเจตนาใหไ พเราะ ซ่งึ เปน ไปตามลกั ษณะนิสัย ของชนชาตไิ ทย เสียงซอ เสียงขลุย เสียงป เสียงฆอง และเสยี งพิณ ลว นเปน สิง่ ที่ มเี สียงนุมนวล มกี งั วานไพเราะอยางออนหวาน เรอ่ื งท่ี 4 ประวัตคิ ุณคาภูมิปญ ญาของดนตรีไทย ดนตรไี ทย เปนศลิ ปะช้นั สูงแขนงหนงึ่ ซ่งึ อยูค กู บั คนไทยมาตลอดประวตั ิศาสตร และถอื วา เปนมรดกทางวฒั นธรรมอนั ทรงคณุ คา ทีส่ ืบทอดกนั มาจนถงึ ทกุ วันน้ี เนือ่ งจากดนตรไี ทยไมม กี ารบันทกึ เปน ตัวโนต การเรียนดนตรไี ทยจึงตอ งเรียนดว ยการ \"จาํ \" เทา นัน้ ถงึ แมว าดนตรไี ทยจะไมใ ชตวั โนต สาํ หรบั บรรเลง แตด นตรไี ทยก็มีโนต เหมอื นดนตรีสากลทวั่ ไป เพียงแตด นตรีไทยมแี ตค ีย เมเจอรเ ทา นัน้ คือ คีย หรอื Am เพราะดนตรีไทยไมมีชารป หรือแฟลต ประโยชนของดนตรไี ทย 1. เปนเครื่องมอื ที่สามารถตอบสนองความตอ งการในการประเทอื งอารมณก ระตนุ ความรสู กึ ของเราอยางมาก 2. ทาํ ใหมนษุ ยอ ยอู ยา งมีอารมณ ความรูสึก มีเคร่อื งมอื ประเทืองจิตใจ มีความละเอยี ดออ น และเกิดความสขุ ความสนกุ สนาน 3. ทําใหโลกมคี วามสดใส มีสีสนั 4. ทาํ ใหค นฟง รูสึกผอนคลาย จติ ใจเบกิ บาน คุณคาในดนตรีท่ีเปนมรดกทางวฒั นธรรม และภูมิปญ ญาไทย 1. วฒั นธรรมทางดนตรีพนื้ บา นภาคกลาง ดนตรพี ื้นบา นภาคกลางสวนใหญประกอบดว ย เคร่อื งดนตรปี ระเภทตี และเปา เรยี กรวมเปน เครือ่ งตเี ปา ซึ่งถอื เปนเครอื่ งประโคมดัง้ เดิมท่เี กา แกที่สดุ และ พัฒนาจนกลายเปนวงปพ าทยในปจจบุ นั แตเ ดมิ วงปพ าทยน นั้ ใชปแ ละกลองเปนหลกั ตอ มาใชร ะนาดและ ฆองวงและเพมิ่ เคร่ืองดนตรีใหมจี ํานวนมากเพ่อื ใหเ สยี งดงั ขนึ้ การบรรเลงวงปพ าทยไ มน ยิ มบรรเลงเพ่อื ประกอบการละเลน ตา งๆ แตนิยมบรรเลงในพิธีกรรม การแสดง และการประกวดประชนั เพอื่ ใหเปน ที่ยอมรับของคนในสังคม เพลงบรรเลงของวงปพ าทย ประกอบดว ยเพลงโหมโรง เพลงหนาพาทย เพลงเร่ือง เพลงหางเครอ่ื ง และเพลงภาษา เพลงบรรเลงท้ัง 5 ประเภทเปนการบรรเลงทีเ่ ปน แบบแผน ไมวาจะบรรเลงเดย่ี วหรือหมู ลวนแตใชแ บบแผนนที้ ้งั ส้นิ เพอ่ื เปน การอวดฝม อื ของนักดนตรนี ั่นเอง ดนตรีพนื้ บานภาคกลางถอื เปนการถายเทระหวางวัฒนธรรมราษฎรกบั วฒั นธรรมหลวง ซ่งึ เปนการผสมผสานจนเกดิ เปน เอกลักษณของวงดนตรีพน้ื บา นภาคกลางทตี่ า งจากภาค อนื่ ๆ

81 2. วฒั นธรรมทางดนตรีพนื้ บานภาคเหนอื เครื่องดนตรพี นื้ บา นภาคเหนือยุคแรกสวนใหญจ ะ เปนเครอื่ งดนตรปี ระเภทตี แตเ ดมิ เรียกวา ทอ นไมก ลวง ตอ มาจงึ มกี ารนําหนังมาหุม จนกลายเปน กลอง และไดพ ัฒนาเปน เคร่ืองดีดและสี ซง่ึ เกดิ การประดษิ ฐธ นเู พ่อื เปน เครื่องมอื ที่ใชใ นการลา สตั ว โดยการดดี สายหนังใหลกู ดอกปก ลงไปในสง่ิ ตางๆ ตามทีต่ องการ มนษุ ยจ ึงเกดิ การเลียนแบบเสยี งของการดดี สาย หนังจนเกดิ เปนเครอื่ งดนตรี เชน พณิ เพยี ะ สะลอ ซึง ซอชนิดตางๆ เปน ตน จากนน้ั มนษุ ยไ ดป ระดษิ ฐ เครอ่ื งเปา ขน้ึ เชน ขลยุ และป ซ่ึงเกิดจากการฟงเสยี งกระแสลมทีพ่ ดั ผา นปากปลองคหู าถาํ้ หรอื เสียงลม กระทบทวิ ไผต นไมต า งๆเปน ตน 3. วัฒนธรรมทางดนตรพี น้ื บานภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ วฒั นธรรมทางดนตรพี ืน้ บานภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื แบง ออกเปน 3 กลุม ดังน้ี - ดนตรกี ลมุ วฒั นธรรมหมอลาํ เปน คนกลุมใหญที่สุดในภาคอีสาน มกี ารขับรอ งและเปา แคนประกอบ พณิ เปนเครื่องดนตรที ไี่ ดร บั ความนยิ มรองลงมา จนกระท่งั ปจจุบนั นิยมเลน โปงลางกนั อยางแพรห ลายมากยง่ิ ขน้ึ - ดนตรกี ลุมวฒั นธรรมกนั ตรมึ เปนดนตรขี บั รองที่เรียกวา เจรยี ง ซ่งึ เปน เครือ่ งดนตรขี อง ชาวสรุ ินทร บุรรี มั ย และศรีสะเกษ - ดนตรกี ลุมวัฒนธรรมโคราช เพลงโคราช เปนการแสดงเชน เดียวกบั ลิเกของภาคกลาง ซงึ เปนการขบั รองโตต อบกนั ระหวา งหมอเพลงชายกับหมอเพลงหญงิ 4. วัฒนธรรมทางดนตรพี น้ื บา นภาคใต วัฒนธรรมทางดนตรีพน้ื บานภาคใต ไดแก - วฒั นธรรมทางดนตรีท่เี ก่ียวกบั ส่ิงศักด์ิสทิ ธิ์ ความเชือ่ เร่อื งภตู ผีปศ าจ อํานาจเรน ลบั เพื่อใหเ กิดคณุ ประโยชนอ ยางใดอยา งหน่ึง ไดแก การเลน มะตือรีในหมูชาวไทยมุสลิมและการเลน ตะครมึ ในหมชู าวไทยพุทธ เปนตน - วัฒนธรรมทางดนตรีทีเ่ ก่ียวของกบั ประเพณี ในบนั้ ปลายของชีวติ เมื่อถึงแกก รรมกอ็ าศัย เครือ่ งดนตรเี ปน เคร่ืองไปสูสคุ ติ ดงั จะเหน็ จากการเลน กาหลอในงานศพเพ่ือออนวอนเทพเจา ใหน าํ รา ง ของผูเ สยี ชวี ติ ไปสูภพภูมิทด่ี ี - วฒั นธรรมทางดนตรที ่เี ก่ียวของกับการดํารงชีวติ ชาวพน้ื เมอื งภาคใตนยิ มประโคมโพน เปนสัญญาณบอกกลา วแกชาวบา น เพอื่ ใหช าวบา นทราบวา ท่วี ดั มกี ารทําเรอื พระสําหรับใชชกั ลากในเทศ การชักพระ - วฒั นธรรมทางดนตรีทเี่ กีย่ วขอ งกบั การเสรมิ สรา งความสามคั คี เชน กรือโตะและบานอ ชาวบา นจะรว มกนั ทาํ ขนึ้ มาเพอื่ ใชเ ลน สนกุ รว มกนั และใชแ ขง ขนั กับหมบู านอนื่ เปน ตน

82 กิจกรรม 1. ใหผเู รยี นอธบิ ายลักษณะของดนตรไี ทย เปน ขอ ๆ ตามทเี่ รยี นมา 2. ใหผ ูเรียนศกึ ษาดนตรีไทยในทองถิ่นของผเู รียน แลว จดบันทกึ ไว จากนนั้ นํามาอภิปรายในช้นั เรียน 3. ใหผูเรียนลองหัดเลน ดนตรไี ทยจากผูร ูแลว นํามาเลน ใหชมในชั้นเรยี น 4. ผูเ รียนมแี นวความคดิ ในการอนุรกั ษด นตรีไทยในทองถนิ่ ของผูเรยี นอยา งไรบา งใหผ ูเ รียน บันทึกเปน รายงานและนําแสดงแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ กนั ในชน้ั เรยี น

83 บทท่ี 3 นาฏศิลปไทย สาระสาํ คัญ 1. ความหมายและความเปน มาของนาฏศิลปไทย 2. นาฏศลิ ปไทยประเภทตา ง ๆ 3. คณุ คาและการอนุรกั ษน าฏศลิ ปไทย ผลการเรียนรูทีค่ าดหวงั 1. อธิบายประวตั ิความเปน มาของการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยประเภทตา ง ๆ ได 2. มีความรูเกยี่ วกับพนื้ ฐานความงามของนาฏศิลปไทยและแสดงออกไดอยางถกู ตอง 3. แสดงความคดิ เหน็ ความรสู กึ ตอ การแสดงนาฏศลิ ปไ ทยได 4. เขาใจเหน็ คณุ คา ของนาฏศลิ ปไ ทยและบอกแนวทางการอนรุ กั ษน าฏศลิ ปไ ทยได ขอบขา ยเนื้อหา เรอ่ื งที่ 1. ความเปน มาของนาฏศลิ ปไ ทย เรอ่ื งท่ี 2. ประวัตนิ าฏศลิ ปไทย เรอ่ื งท่ี 3. ประเภทของนาฏศลิ ปไทย เร่ืองที่ 4. นาฏยศพั ท เรอ่ื งที่ 5. รําวงมาตรฐาน เร่อื งท่ี 6. การอนุรกั ษน าฏศลิ ปไทย

84 เรือ่ งที่ 1 ความเปนมาของนาฏศลิ ปไทย นาฏศิลป คอื ศลิ ปะการรอ งรําทาํ เพลง ที่มนษุ ยเ ปนผูส รา งสรรค โดยประดษิ ฐข ึน้ อยา งประณตี และมแี บบแผน ใหความรู ความบนั เทงิ ซ่ึงเปนพ้นื ฐานสาํ คญั ท่แี สดงใหเห็นถงึ วัฒนธรรมความรุงเรอื ง ของชาตไิ ดเปนอยางดี ความเปน มาของนาฏศิลป นาฏศิลป หรอื ศิลปะแหง การแสดงละครฟอนรํานั้น มคี วามเปนมาทีส่ ําคญั 4 ประการคือ 1.เกิดจากการท่มี นุษยต องการแสดงอารมณทเี่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติ ใหปรากฏออกมาโดยมี จดุ ประสงคเพ่ือการสื่อความหมายเปนสาํ คัญเรม่ิ ต้งั แต 1.1 มนษุ ยแสดงอารมณต ามธรรมชาติออกมาตรง ๆ เชน การเสยี ใจกร็ อ งไห ดใี จก็ ปรบมอื หรือสงเสยี งหัวเราะ 1.2 มนุษยใ ชกรยิ าอาการเปน การส่ือความหมายใหชัดเจนขน้ึ กลายเปนภาษาทา เชน กวกั มือเขามาหาตวั เอง 1.3 มีการประดษิ ฐค ดิ ทา ทางใหมลี ลี าทีว่ ิจติ รบรรจงขนึ้ จนกลายเปน ทว งทลี ีลาการฟอ น ราํ ทงี่ ดงามมลี ักษณะทเ่ี รยี กวา “นาฏยภาษา”หรือ “ภาษานาฏศิลป” ทส่ี ามารถสอื่ ความหมายดวยศลิ ปะ แหงการแสดงทาทางทงี่ ดงาม 2. เกดิ จากการทม่ี นษุ ยต อ งการเอาชนะธรรมชาตดิ ว ยวธิ ตี าง ๆ ท่นี ําไปสกู ารปฏิบตั เิ พอื่ บูชาส่งิ ที่ ตนเคารพตามลทั ธศิ าสนาของตน ตอมาจงึ เกดิ เปนความเชอื่ ในเรือ่ งเทพเจา ซึง่ ถอื วา เปน สิง่ ศกั ดิ์สิทธิ์ท่ี เคารพบชู า โดยจะเรม่ิ จากวงิ วอนอธษิ ฐาน จนมกี ารประดษิ ฐเครื่องดนตรี ดดี สี ตี เปา ตา ง ๆ การเลน ดนตรี การรอ งและการราํ จึงเกดิ ขนึ้ เพอื่ ใหเ ทพเจาเกิดความพอใจมากยิ่งข้ึน 3. เกิดจากการเลน เลียนแบบของมนษุ ย ซ่งึ เปน การเรียนรใู นขน้ั ตน ของมนษุ ย ไปสูการ สรางสรรคศิลปะแบบตา ง ๆ นาฏศิลปกเ็ ชนกนั จะเหน็ วา มนษุ ยน ยิ มเลยี นแบบสิง่ ตาง ๆ ทัง้ จากมนษุ ยเ อง สังเกตจาก เดก็ ๆ ชอบแสดงบทบาทสมมตุ เิ ปนพอ เปนแมใ นเวลาเลน กัน เชน การเลนตกุ ตา การเลน หมอ ขา วหมอแกง หรอื เลยี นแบบจากธรรมชาติและส่ิงแวดลอ มตา ง ๆ ทาํ ใหเกดิ การเลน เชน การเลนงกู นิ หาง การแสดงระบํามา ระบาํ กาสร ระบาํ นกยูง ( ทรงศกั ด์ิ ปรางคว ัฒนากุล : ม.ป.ป. ) 4. เกดิ จากการท่มี นษุ ยคิดประดษิ ฐห าเครื่องบนั เทงิ ใจ หลังจากการหยุดพกั จากภารกิจประจาํ วนั เรม่ิ แรกอาจเปน การเลานทิ าน นิยาย มีการนาํ เอาดนตรีและการแสดงทา ทางตา ง ๆ ประกอบเปน การรายราํ จนถึงการแสดงเปน เร่ืองราว

85 การแสดงโขน ตอน พระรามตามกวาง เรื่องท่ี 2 ประวตั นิ าฏศลิ ปไ ทย นาฏศิลปไ ทย คือ ศิลปะแหง การรายรําทเ่ี ปนเอกลกั ษณข องไทย จากการสืบคนประวตั ิความ เปน มาของนาฏศิลปไ ทย เปน เร่ืองที่เก่ยี วขอ งและสมั พนั ธก ับประวตั ิศาสตรไ ทย และวฒั นธรรมไทย จาก หลกั ฐานที่ยืนยนั วา นาฏศิลปมีมาชานาน เชน การสืบคน ในหลกั ศิลาจารกึ หลักท่ี 4 สมยั กรุงสุโขทัย พบ ขอความวา “ระบํารําเตนเลนทกุ วัน” แสดงใหเ ห็นวา อยา งนอ ยท่ีสดุ นาฏศลิ ปไ ทย มีอายไุ มนอ ยกวายคุ สุโขทยั ขึน้ ไป สรปุ ทีม่ าของนาฏศลิ ปไ ทยไดดงั น้ี 1.จากการละเลน ของชาวบานในทอ งถนิ่ ซ่งึ เปน กิจกรรมเพอ่ื ความบนั เทงิ และความรื่นเรงิ ของ ชาวบา น ภายหลังจากฤดูกาลเกบ็ เก่ียวขาวแลว ซง่ึ ไมเ พียงเฉพาะนาฏศิลปไ ทยเทา นนั้ ท่ีมปี ระวตั เิ ชนนี้ แต นาฏศลิ ปทัว่ โลกก็มกี าํ เนดิ จากการเลนพื้นเมอื งหรอื การละเลนในทองถ่นิ เมอื่ เกดิ การละเลน ในทองถิ่น การขับรองโตต อบกนั ระหวา งฝายหญงิ และฝา ยชาย ก็เกดิ พอเพลงและแมเ พลงขึ้น จึงเกดิ แมแบบหรอื วิธีการทพี่ ัฒนาสบื เนอื่ งตอ ๆ กันไป

86 2. จากการพฒั นาการรองรําในทอ งถิ่นสูนาฏศิลปในวังหลวง เมื่อเขาสูวงั หลวงก็มกี ารพัฒนา รูปแบบใหง ดงามยิ่งขึน้ มหี ลักการ และระเบยี บแบบแผน ประกอบกับพระมหากษตั รยิ ไ ทย ยุคสโุ ขทยั อยุธยา และรัตนโกสินทร ทรงเปน กวีและนกั ประพันธ ดงั น้ันนาฏศิลปร วมท้ังการดนตรไี ทย จงึ มี ลักษณะงดงามและประณตี เพราะผแู สดงกาํ ลงั แสดงตอ หนา พระทนี่ ่ัง และตอหนา พระมหากษตั ริยผูทีม่ ี ความสามารถในเชิงกวี ดนตรี และนาฏศลิ ปเชน กนั อาจกลาวไดว ากษัตรยิ แทบทุกพระองคท รงเปย มลน ดวยความสามารถดา นกวี ศิลปะอยา งแทจ รงิ บางองคมคี วามสามารถดานดนตรเี ปน พิเศษ โดยเฉพาะยคุ รตั นโกสินทร พระมหากษตั รยิ ไทยไดแ สดงใหโลกไดป ระจกั ษถงึ ความสามารถดานน้ี กวีและศิลปะ เชน รชั กาลที่ 2 รัชกาลท่ี 6 และพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงพระปรชี าสามารถดาน ดนตรจี นเปน ท่ียอมรับของวงการดนตรที ่วั โลก การแสดงชุดเจา เงาะรจนา

87 การแสดงโขน เอกลักษณของนาฏศิลปไทย 1. มที ารําออนชอ ย งดงาม และแสดงอารมณ ตามลักษณะท่ีแทจ ริงของคนไทย ตลอดจนใชล ีลา การเคลอื่ นไหวทด่ี ูสอดคลอ งกนั 2. เคร่ืองแตง กายจะแตกตางกบั ชาตอิ ื่น ๆ มีแบบอยา งของตนโดยเฉพาะ ขนาดยดื หยนุ ไดต าม สมควร เคร่ืองแตง กายบางประเภท เชน เคร่ืองแตงกายยืนเครื่อง การสวมใสจะใชต รงึ ดวยดา ยแทนทจี่ ะเยบ็ สําเร็จรปู เปน ตน 3. มเี คร่อื งประกอบจังหวะหรือดนตรีประกอบการแสดง ซง่ึ อาจมีแตทํานองหรือมบี ทรองผสมอยู 4. ถา มคี ํารองหรือบทรองจะเปนคาํ ประพนั ธ สวนมากแลวมลี ักษณะเปน กลอนแปด สามารถ นาํ ไปรองเพลงชน้ั เดยี ว หรอื สองช้นั ไดท กุ เพลง คํารอ งนี้ทาํ ใหผูสอนหรือผรู าํ กาํ หนดทาราํ ไปตามบทรอ ง

88 เคร่อื งแตง กายพระ เคร่อื งแตง กายนาง

89 เรอ่ื งท่ี 3 ประเภทของนาฏศิลปไ ทย นาฏศลิ ปไทย เปนศลิ ปะทรี่ วมศิลปะทกุ แขนงเขาดวยกนั ไดแก โขน ละคร รํา ระบาํ และการเลน พื้นเมือง 1.โขน เปน ศิลปะของการรํา การเตน แสดงเปน เรอื่ งราว โดยมศี ิลปะหลายรูปแบบผสมผสานกัน ลักษณะการแสดงโขนมีหลายชนดิ ไดแก โขนกลางแปลง โขนนั่งราว โขนโรงใน โขนหนา จอ และโขน ฉาก ซ่ึงโขนแตละชนิดมลี กั ษณะทีเ่ ปนเอกลักษณเฉพาะตวั สิ่งสําคญั ทีป่ ระกอบการแสดงโขน คอื บทท่ี ใชประกอบการแสดงจากเร่อื งรามเกยี รต์ิ การแตงกายมีหัวโขน สําหรบั สวมใสเวลาแสดงเพ่อื บอกลกั ษณะ สาํ คัญ ตัวละครมกี ารพากย เจรจา ขบั รอง และดนตรบี รรเลงดว ยวงปพ าทย ยึดระเบยี บแบบแผนในการ แสดงอยา งเครง ครัด การแสดงโขน ตอน ยกรบ ประวตั ิความเปน มาของโขน โขน เปน การแสดง ทกี่ ลาวกันวา ไดร ับอทิ ธิพลการแสดงมาจากการละเลนของไทยหลายแบบ นํามาผสมผสานกนั จนเกดิ การแสดงที่เรยี กวา โขน ดังจะไดก ลา วดังตอ ไปนี้ 1. การแสดงชักนาคดกึ ดําบรรพ ซงึ่ เปน การแสดงตาํ นานของพระนารายณต อนกวนนํา้ อมฤต โดย แบง ผแู สดงออกเปน 2 ฝาย คือ ฝายอสรู กับฝา ยเทวดา และวานร โดยอสรู จะเปน ผชู ักอยดู านหวั สวน เทวดาและวานร ชกั อยูดา นลา ง ใชพญานาคเปนเชอื ก เขาพระสเุ มรเุ ปนแกนกลาง การแสดงแนวคิดนี้เชอ่ื

90 วาเปน ตนเหตใุ หม ีการพฒั นาแบง ผูแสดง เคร่อื งแตงกาย และนาํ แบบอยางมาเปนรปู แบบการแสดงโขน ไดแ กก ารแตง กาย เทวดา ยกั ษ ลงิ 2. กระบี่ กระบอง เปน การแสดงศิลปะการตอสูปองกนั ตวั ดว ยยุทธวิธี เปน ศิลปะที่ชาวไทยทกุ คนตองเรยี นรูและปองกนั ตนเอง และประเทศชาติ กระบวนทา ตา ง ๆ น้นั เชื่อวา โขนคงรบั มาในทา ทาง ของการตอ สขู องตวั แสดง 3. หนังใหญ เปน มหรสพของไทยในอดตี ใชหนงั วัวฉลุเปนภาพตวั ละครตาง ๆ เวลาแสดงจะให แสงสอ งตัวหนงั เกิดเงาท่ีงดงามบนจอผา ขาว จดุ เดนของหนังใหญ คอื การเตน ของผูเชิดตัวหนังไปตาม จงั หวะของดนตรี เรยี กวา หนา พาทย และบทเจรจา ดงั นน้ั โขน นา จะไดร ับอทิ ธิพลการพากย และเจรจา จากการแสดงหนังใหญ เรอ่ื งท่ีแสดง จะใชวรรณคดที ี่ไดร ับอทิ ธิพลมาจากอินเดยี คอื รามเกียรติ์ วรี กษตั รยิ ช าวอารยนั คือ พระราม ทเี่ ปน ตวั เอกของเร่ือง หนงั ใหญ ประเภทของโขน โขน เปนศลิ ปะการแสดงทีม่ ีการพฒั นา และเปลย่ี นแปลงไปตามสภาพทางสังคม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ทําใหเ กิดรปู แบบของโขน หลายรูปแบบ ซึ่งสามารถแบง ประเภทตามลกั ษณะองคประกอบของ การแสดง ดงั นี้

91 1.1 โขนกลางแปลง เปน โขนทแ่ี สดงกลางสนาม ใชธ รรมชาติ เปนฉากประกอบ นยิ มแสดงตอน ที่มีการทาํ ศกึ สงคราม เพราะจะตองใชต วั แสดงเปนจํานวนมาก และตองการแสดงถงึ การเตน ของโขน การ เคลื่อนทพั ของทง้ั สองฝาย การตอสู ระหวางฝายพระราม พระลกั ษณ พลวานร กับฝา ยยกั ษ ไดแกทศกัณฑ ภาพโขนกลางแปลง 1.2 โขนโรงนอก หรอื โขนน่งั ราว เปน โขนที่มวี วิ ฒั นาการมาจากโขนกลางแปลง หากเปลย่ี น สถานทแี่ สดงบนโรง มรี าวไมไ ผข นาดใหญอยูดานหลงั สาํ หรบั ตวั โขน นัง่ แสดง รปู แบบของการแสดง ดําเนนิ เรื่องดว ยการพากยแ ละเจรจา โขนโรงนอกหรอื โขนนั่งราว

92 1.3 โขนโรงใน เปนการนําเอารูปแบบการแสดงโขนโรงนอก มาผสมผสานกับการแสดงละคร ใน ท่ีมกี ารขบั รอ ง และการรา ยราํ ของผูแสดง ดําเนนิ เร่อื งดว ยการพากย เจรจา มกี ารขบั รอง ประกอบทา รํา เพลงระบําผสมผสานอยูดว ย ภาพโขนโรงใน 1.4 โขนหนา จอ ไดแก โขนท่ีใชจ อหนงั ใหญเปนฉากประกอบการแสดง กลาวคอื มจี อหนังใหญ เปน ฉาก ทด่ี านซายขวาเขียนรปู ปราสาท และพลับพลาไวท ้งั สองขา ง ตัวแสดงจะออกแสดงดา นหนา ของ จอหนังดําเนนิ ดว ยการพากย เจรจา ขบั รอง รวมทงั้ มกี ารจัดระบาํ ฟอนประกอบดว ย โขนหนา จอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook