ดร. สนอง วรอไุ ร
ดร. สนอง วรอไุ ร ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถ.ประโคนชยั ต.ปากนำ้� อ.เมอื ง จ.สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท ์ ๐๒-๗๐๒-๗๓๕๓, ๐๒-๗๐๒-๙๖๒๔ โทรสาร ๐๒-๗๐๒-๗๓๕๓ หนังสือดีลำ� ดบั ท ่ี : ๒๘๕ พิมพค์ รัง้ ท่ ี ๑ : เมษายน ๒๕๕๗ จำ� นวน : ๔,๐๐๐ เลม่ ด�ำเนินการผลติ โดย : ชมรมกัลยาณธรรม ศลิ ปกรรม : ชฎาบญุ บุญสริ วิ รรณ เพลท / พิมพ ์ : Canna Graphic โทร. ๐๘๖-๓๑๔-๓๖๕๑ สพั พทานงั ธมั มทานัง ชนิ าติ การให้ธรรมะเปน็ ทาน ยอ่ มชนะการใหท้ ้ังปวง w w w . k a n l a y a n a t a m . c o m
ค ำ� อ นุ โ ม ท น า กาลเวลาทย่ี าวนานขา้ มภพชาต ิ ปญั ญาทางโลก ไมส่ ามารถรเู้ หน็ เขา้ ใจได ้ ผทู้ ป่ี ฏบิ ตั ธิ รรมและเขา้ ถงึ ธรรมอันสมควรแล้ว จึงได้สมมติค�ำว่า “พุทธันดร” ขึ้นมาใช้เรียกกาลเวลาที่ยาวนานน้ัน พร้อมกับได ้ ชแ้ี นะแนวทางการเขา้ ถงึ ไวด้ ว้ ย ดว้ ยเหตนุ ที้ า่ นผอู้ า่ น พึงอย่าปลงใจเช่ือตามหลักกาลามสูตร ที่พระพุทธ- โคดมได้ประทานให้กับชาวกาลามะในครั้งพุทธกาล โน้น ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 3
ดว้ ยบุญกุศลอนั เกิดจากการให้ความรเู้ ปน็ ทาน ในครั้งน้ี ข้าพเจ้าอ้างเอาอานิสงส์แห่งบุญใหญ่ จง บนั ดาลใหผ้ รู้ ว่ มกระบวนกรรม เผยแพรส่ จั ธรรมเรอื่ ง พทุ ธนั ดร ไดม้ ปี ญั ญาเหน็ ถกู มดี วงตาเหน็ ธรรม นำ� พา ชีวิตไปสู่ความเป็นอิสระ จากการเวียนว่ายตายเกิด อยูใ่ นวัฏสงสาร จงทุกท่านทุกคนเทอญ ดร.สนอง วรอุไร 4 พุ ท ธั น ด ร
ส า ร บ ั ญ ห น ้ า มหากปั ๑๐ อสงไขยป ี ๑๑ อนั ตรกปั ๑๔ วฏั สงสาร ๑๗ พทุ ธศาสนาฝา่ ยเถรวาท ๒๗ ปญั ญาของมนษุ ย ์ ๓๔ ปญั ญาเหน็ แจง้ ๓๙ บนั ทกึ ทา้ ยเลม่ จากเชงิ อรรถ ๔๓ บรรณานกุ รม ๕๒
ก า ล เ ว ล า ท ่ี ย า ว น า น
คำ� วา่ “พทุ ธนั ดร” เปน็ หนว่ ยของกาลเวลาทยี่ าว นานมาก ซงึ่ พทุ ธศาสนกิ สมมตขิ นึ้ มาเพอ่ื การสอื่ สาร วัน เดือน และปี เป็นหน่วยของกาลเวลา ท่ีระบบ ประสาทสามารถสัมผัสได้หรือนับได้ แต่พุทธันดร เป็นห้วงของกาลเวลาท่ีว่างเว้นจากการมีพระสัมมา สัมพุทธะเสด็จมาโปรดยังโลกมนุษย์ หรือหมายถึง ห้วงของกาลเวลาที่สิ้นสุดอายุของพุทธศาสนาของ พระพทุ ธเจา้ พระองคห์ นงึ่ กับเวลาที่พระพุทธเจ้าอีก พระองคห์ นงึ่ จะมาตรสั ร ู้ เพอ่ื สง่ั สอนธรรมโปรดสตั ว-์ โลก กาลเวลาท่ียาวนานเช่นน้ี มิอาจสัมผัสได้หรือ นบั ไดด้ ว้ ยระบบประสาทสมั ผสั แตจ่ ติ ทพี่ ฒั นาดแี ลว้ ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 7
สามารถรู้เห็นเข้าใจได้ ความยาวนานของห้วงเวลา ท่ีเรียกว่าพุทธันดรนั้น มีความยาวนานมาก จึงถูก ผู้รู้จริงสมมติขึ้นเป็นหน่วยท่ีเรียกว่ากัปหรือมหากัป ซ่ึงมีความหมายเป็นอย่างเดียวกัน ยกตัวอย่าง ใน พุทธันดรระหว่างพระพุทธเจ้าองค์ที่ ๑๕ (พระ ธมั มทสั สพี ทุ ธเจา้ ) กบั พระพทุ ธเจา้ องคท์ ี่ ๑๖ (พระ สิทธัตถะพุทธเจ้า) เป็นห้วงเวลาท่ียาวนานถึง ๒๔ มหากัป ในพุทธันดรระหว่างพระพุทธเจ้าองค์ท่ี ๒๑ (พระเวสสภูพุทธเจ้า) กับพระพุทธเจ้าองค์ท่ี ๒๒ (พระกกุสันธพุทธเจ้า) เป็นห้วงเวลาท่ียาวนานถึง ๓๑ มหากัป ในพุทธันดรระหว่างพระพุทธเจ้าองค์ท ่ี ๑๐ (พระปทุมุตตรพุทธเจ้า) กับพระพุทธเจ้าองค์ท ่ี ๑๑ (พระสุเมธพุทธเจ้า) เป็นห้วงเวลาที่ยาวนานถึง ๓๐,๐๐๐ มหากัป ฯลฯ 8 พ ุ ท ธ ั น ด ร
ม ห า กั ป ผู้รู้จริงรู้ว่าหน่ึงมหากัป เป็นห้วงเวลาของ กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก ไปสู่ภาวะที่ดีขึ้น ทเี่ รยี กวา่ ววิ ฒั นาการ โลกทเ่ี ราอยอู่ าศยั มกี ารเปลยี่ น แปลง ซงึ่ แบ่งไดเ้ ป็น ๔ ระยะดงั นี้ ระยะท ่ี ๑ เปน็ หว้ งของกาลเวลาทโี่ ลกถกู ทำ� ลาย ระยะท ่ี ๒ เปน็ หว้ งของกาลเวลาทโี่ ลกถกู ทำ� ลาย เรยี บรอ้ ยแล้ว ระยะท ี่ ๓ เป็นห้วงของกาลเวลาทีโ่ ลกกำ� ลัง พฒั นาเข้าส่ภู าวะปกติ ระยะท่ ี ๔ เปน็ ห้วงของกาลเวลาท่โี ลกพัฒนา เรยี บรอ้ ยแลว้ และเรมิ่ มกี ารกำ� เนดิ ของสิ่งมีชวี ติ บนผวิ โลก 10 พ ุ ท ธ ั น ด ร
อ ส ง ไ ข ย ปี อสงไขยปี เป็นระยะเวลาเริ่มแรกท่ีมนุษย์ได ้ เกดิ ขน้ึ บนผวิ โลก มนษุ ยเ์ รม่ิ แรกนน้ั มอี ายขุ ยั ยนื ยาว ถงึ ๑ อสงไขยป ี คำ� วา่ “อสงไขยป”ี หมายถงึ จ�ำนวน ปีท่ีเอาเลข ๑ ตั้งไว้ข้างหน้า แล้วตามด้วยเลขศูนย ์ อีก ๑๔๐ ตัว จ�ำนวนที่กล่าวถึงน้ีเรียกว่าอสงไขยปี ซง่ึ พระเจา้ มนั ธาตมุ อี ายยุ นื ยาวถงึ ขนาดนนั้ มนษุ ยท์ ี ่ มาเกิดอยู่ในสมัยพระกกุสันธพุทธเจ้า มีอายุขัย ยืนยาวถึง ๔๐,๐๐๐ ปี มนุษย์ท่ีมาเกิดอยู่ในสมัย พระโกนาคมนพทุ ธเจา้ มอี ายยุ นื ยาวถงึ ๓๐,๐๐๐ ป ี มนุษย์ท่ีมาเกิดอยู่ในสมัยพระกัสสปพุทธเจ้า มีอายุ ยืนยาวถึง ๒๐,๐๐๐ ปี ฯลฯ ต่างๆ เหล่านี้ ระบบ ประสาทของมนุษย์ปัจจุบันไม่สามารถสัมผัสได้ จึง ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 11
ไม่เช่ือว่าเป็นความจริง ตรงกันข้าม หากจะพูดว่า มนษุ ยท์ ม่ี าเกดิ อยใู่ นครง้ั พทุ ธกาลของพระพทุ ธโคดม มอี ายยุ นื ยาว ๑๐๐ ป ี มนษุ ยท์ มี่ าเกดิ อยใู่ นครง้ั ปจั จบุ นั มอี ายยุ นื ยาว ๗๐ ป ี ฯลฯ ซงึ่ ระบบประสาทสามารถ สัมผสั ได ้ จงึ จะเช่ือว่าเป็นความจรงิ 12 พ ุ ท ธ ั น ด ร
อั น ต ร กั ป อนั ตรกปั เปน็ หว้ งของกาลเวลาทค่ี รบหนงึ่ รอบ ของการลดลงและการเพ่ิมขึ้นของอายุขัยมนุษย์ ซ่ึง หมายความว่า มนุษย์เร่ิมแรกมีอายุขัยยืนยาวถึง ๑ อสงไขยปี ทุกๆ ๑๐๐ ปี อายุของมนุษย์จะหดส้ันลง หนง่ึ ป ี หดสนั้ ลงเรอ่ื ยๆ จนถงึ สบิ ป ี แลว้ ทกุ ๆ ๑๐๐ ปี อายขุ องมนษุ ยจ์ ะเพม่ิ มากขน้ึ หนง่ึ ป ี เพม่ิ มากขน้ึ เรอ่ื ยๆ จนถึง ๑ อสงไขยปี การลดลงและการเพ่ิมขึ้นใน ลักษณะน้ีเรยี กวา่ อนั ตรกปั ดังได้กล่าวไว้แต่แรกว่า โลกที่เราอยู่อาศัยนี ้ มวี วิ ฒั นาการมา ๔ ระยะ แตท่ กุ ระยะของววิ ฒั นาการ มีความยาวนานถงึ ๖๔ อันตรกัป ดงั นั้นวิวัฒนาการ ของโลกต้องใช้เวลายาวนานถึง ๖๔ x ๔ = ๒๕๖ 14 พ ุ ท ธ ั น ด ร
อนั ตรกปั คนโบราณถอื วา่ โลกประลยั ครงั้ หนง่ึ เปน็ สนิ้ กัปหน่ึง ซึ่งมีความหมายเป็นอย่างเดียวกันว่า ๑ มหากัป ยาวนานเท่ากับ ๒๕๖ อันตรกัป ดังนั้น มนษุ ยใ์ นยคุ ปจั จบุ นั จงึ ใหค้ วามหมายของคำ� วา่ “กปั ” และ “มหากปั ” เปน็ อยา่ งเดยี วกนั คอื เปน็ ระยะเวลา ท่ียาวนานมากจนระบบประสาทของมนุษย์ไม่ สามารถสมั ผัสได้ มนุษย์ต้องเวียนตายเวียนเกิดอยู่ในภพต่างๆ จนนบั ไมถ่ ว้ น (อนนั ต)์ ตอ้ งไปเกดิ เปน็ สตั ว ์ (รปู นาม) อยใู่ นภพตา่ งๆ ของวฏั สงสารตามแรงผลกั ของกรรม ผู้ไม่ประมาทพึงเร่งพัฒนาจิตตนเอง จนสามารถปิด อบายภูมิให้ได้ในชาติปัจจุบัน จะเป็นอันเชื่อได้ว่า อย่างน้อยตายเกิดอีกไม่เกิน ๗ ชาติ จึงจะสามารถ นำ� พาชีวติ พน้ ไปจากวฏั สงสารได้ ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 15
วั ฏ ส ง ส า ร คำ� วา่ “วฏั สงสาร” หมายถงึ การเวยี นตายเวยี น เกดิ อยใู่ นโลก (ภพ) อนั เปน็ ทอ่ี ยขู่ องสตั ว ์ มนษุ ยโ์ ดย ท่ัวไปยังมีสภาวธรรมในดวงจิตเป็นปุถุชน คือยังมี กเิ ลสหนาแนน่ อยภู่ ายใน ยอ่ มเหน็ ดว้ ยตาเนอื้ ตาหนงั วา่ โลกมนษุ ยม์ อี ยจู่ รงิ โลกของสตั วเ์ ดรจั ฉานมอี ยจู่ รงิ แตไ่ มส่ ามารถสมั ผสั กบั สตั วท์ ม่ี รี า่ งกายเปน็ ทพิ ย ์ เชน่ สตั วน์ รก สัตว์เปรต เทวดา พรหม ฯลฯ ได้ ท้ังๆ ท ี่ ภพต่างๆ เหล่านั้นมีอยู่จริง ตามความเช่ือของพุทธ ศาสนิก แต่ผู้รู้จริงแท้และรู้จริงทุกสิ่งทุกอย่าง (สัพ- พัญญู) ได้ตรัสไว้นานแล้วว่าสัตว์กายทิพย์มีอยู่จริง แตอ่ ยา่ พงึ ปลงใจเชอ่ื ตามหลกั กาลามสตู ร๑ ทพ่ี ระองค ์ ประทานไว้แก่ชาวกาลามะเมื่อครั้งพุทธกาล ผู้ใด ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 17
ประสงคจ์ ะพสิ จู นส์ จั ธรรมว่าโลกของสัตว์กายทิพย์มี อยจู่ รงิ ตอ้ งพฒั นาจติ (สมถภาวนา) จนเขา้ ถงึ ความ ตง้ั มนั่ เปน็ สมาธแิ นว่ แน ่ (ฌาน) เมอื่ ถอยจติ ออกจาก ความทรงฌาน ความรู้สูงสุดท่ีเรียกว่าโลกิยญาณ (อภญิ ญา ๕)๒ จงึ จะเกดิ ขน้ึ กบั ผทู้ เี่ ขา้ ถงึ จติ ทรงฌาน ไดแ้ ลว้ เปน็ อตั โนมตั ิ ปญั ญารเู้ หน็ เขา้ ใจเชน่ นเ้ี ปน็ ของ เฉพาะตน (ปจจฺ ตฺต)ํ เทา่ นั้น ดังน้ันสิ่งที่เขียนบอกเล่ามาข้างต้น และที่จะ เขียนบอกเล่าต่อไป ท่านผู้อ่านพึงอย่าปลงใจเช่ือ จนกวา่ ตนเองจะไดพ้ สิ จู นด์ ว้ ยการพฒั นาจติ จนเขา้ ถงึ โลกยิ ญาณ (อภญิ ญา ๕) และโลกตุ ตรญาณ (ญาณ ๑๖) แล้วการสัมผัสด้วยระบบประสาทจึงจะไม่เป็น สัญญาอกี ตอ่ ไป 18 พุ ท ธั น ด ร
ผเู้ ขยี นไมเ่ ชอื่ คำ� สอนในพทุ ธศาสนา ดว้ ยเหตทุ ี ่ ใชป้ ญั ญาทางโลกมาพสิ จู น ์ หรอื ผทู้ พี่ ฒั นาจติ ตามแนว คันถธุระ ก็ย่อมพิสูจน์ส่ิงที่อยู่เหนือระบบประสาท สมั ผสั ไมไ่ ด ้ จากการไปพฒั นาจติ (วปิ สั สนาธรุ ะ) เมอื่ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘ และไดเ้ ขา้ ถงึ ปญั ญาสงู สดุ ทเ่ี ปน็ โลกยิ ญาณ (อภญิ ญา ๕) และโลกตุ ตรญาณ (ญาณ ๑๖) จึงสามารถรู้เห็นเข้าใจได้อย่างถ่องแท้ว่า ส่ิงท่ ี พระพทุ ธโคดมตรสั ไว ้ (พทุ ธวจนะ) เปน็ ความจรงิ แท ้ ไม่แปรเปล่ียนไปเป็นอย่างอื่น บัดนี้กาลเวลาได้ล่วง นานผา่ นมาถงึ ๓๘ ปเี ศษแลว้ พทุ ธวจนะยงั เปน็ หนงึ่ ไมม่ สี องอยเู่ หมอื นเดมิ และยงั ไดร้ เู้ หน็ เขา้ ใจไดอ้ ยา่ ง ถอ่ งแทว้ า่ ผทู้ พี่ ฒั นาจติ แตย่ งั เขา้ ไมถ่ งึ ธรรมหรอื พฒั นา สมองตามแนวคันถธุระ แล้วย่อมมีความเล่ือมใส ศรัทธาในพุทธวจนะแบบความจ�ำหรือสัญญา ซ่ึง ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 19
ตรงกันข้ามกับความเล่ือมใสศรัทธาอันมั่นคงด้วย ปัญญาเห็นแจ้งในดวงจิต จนเข้าถึงสภาวะที่เรียกว่า มีดวงตาเหน็ ธรรม ในครง้ั พทุ ธกาลทพี่ ระพทุ ธองคป์ ระทบั ณ พระ- คันธกุฎีบนยอดเขาคิชฌกูฏ แคว้นมคธ นักปราชญ์ แห่งกรุงราชคฤห์ ท่ีชื่อว่า วัสสการพราหมณ์ นิยม เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าเพ่ือสนทนาธรรมกับพระองค์ อยเู่ สมอ ทงั้ นเ้ี ปน็ เพราะสงิ่ ทพ่ี ระผทู้ รงความสพั พญั ญ ู ตรัสไว้เป็นหน่ึงไม่มีสอง มีอยู่คร้ังหน่ึง วัสสการ พราหมณ์ได้เดินข้ึนเขาคิชฌกูฏเพื่อไปกราบและ สนทนาธรรมกับพระพุทธเจ้า ท่ีประทับอยู่ ณ พระ คนั ธกฎุ บี นยอดเขานกั ปราชญไ์ ดเ้ ดนิ สวนทางกบั พระ มหากจั จายนะ ทมี่ อี ปุ นสิ ยั วอ่ งไว เมอ่ื เหน็ ดว้ ยตาแลว้ 20 พุ ท ธั น ด ร
นกั ปราชญแ์ หง่ กรงุ ราชคฤห ์ เหน็ วา่ เปน็ การไมส่ �ำรวม ที่พระอรหันต์จะมีพฤติกรรม เช่นน้ี จึงได้พูดขึ้น (ปากไว) ในทำ� นองท่ีวา่ วสั สการพราหมณ ์ : สมณะรปู นมี้ ีกิรยิ าเหมือนวานร พระมหากัจจายนะ : นง่ิ สงบ มไิ ด้พูดออกมาแตป่ ระการใด ค�ำพูดของวัสสการพราหมณ์ได้ล่วงรู้ไปถึงพระ กรรณยุคลของพระพุทธเจ้า จึงได้ตรัสพยากรณ์ใน ท�ำนองที่ว่า พระพทุ ธเจา้ : วสั สการพราหมณเ์ ฒา่ เจา้ ทำ� เรอ่ื ง ฉิบหายแล้ว ตายจากมนุษย์ชาตินี้ เจ้าจะต้องไปเกิด ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 21
เป็นวานรมีหางเหมือนโค อยู่ในป่าไผ่ กรุงราชคฤห์ แห่งนี้ เม่ือค�ำพยากรณ์ของพระพุทธเจ้า แพร่ไปเข้าหู ของวัสสการพราหมณ์เฒ่า และในฐานะที่เป็นนัก ปราชญไ์ ดร้ ะลกึ อยเู่ สมอวา่ พระพทุ ธโคดมตรสั สงิ่ ใด แลว้ สง่ิ นนั้ ยอ่ มเปน็ หนง่ึ ไมม่ สี อง จงึ มไิ ดป้ ระมาท สง่ั ให้บริวารปลูกต้นไม้ท่ีออกลูกเป็นผลกินได้ไว้มาก หลายในป่าไผ่กรุงราชคฤห์แห่งนี้ ผลปรากฏว่าเป็น จริงดังพุทธพยากรณ์ เม่ือพราหมณ์เฒ่าถึงแก่กาล มรณะ จติ วญิ ญาณไดถ้ กู พลงั ของอกศุ กรรม ทก่ี ลา่ ว วาจาปรามาสผทู้ รงคณุ ธรรมสงู ผลักดันให้ไปเกิดอยู ่ ในภพตริ จั ฉาน เปน็ วานรมหี างเหมอื นโค อยใู่ นปา่ ไผ่ กรุงราชคฤห์ ถูกตรงตามพุทธพยากรณ์ท่ีได้ตรัสไว้ กอ่ นล่วงหน้าน้ัน 22 พุ ท ธ ั น ด ร
ในกรณีที่มีผู้สงสัยว่าพระมหากัจจายนะเป็น ใคร กต็ อ้ งบอกวา่ เปน็ พระอรหนั ตบ์ รรลธุ รรมขน้ั สงู สดุ กอ่ นบวช ผรู้ ไู้ ดบ้ นั ทกึ ไวว้ า่ อดตี ของพระมหากจั จายนะ เป็นบุตรของพราหมณ์ปุโรหิต แห่งแคว้นอวันตี เม่ือ ปโุ รหติ ถงึ แกก่ าลมรณะ พระเจา้ จณั ฑปชั โชตแหง่ กรงุ อชุ เชน ี จงึ ไดแ้ ตง่ ตงั้ พราหมณก์ จั จายนะขนึ้ เปน็ ปโุ รหติ สบื ตอ่ จากบดิ า แลว้ มรี บั สงั่ ใหไ้ ปอญั เชญิ พระพทุ ธเจา้ เสด็จมาโปรดชาวแคว้นอวันตี ปุโรหิตกัจจายนะได้ พิจารณาเห็นดีด้วยพร้อมกับกราบบังคมทูลว่า จะ ปฏิบัติตามที่มีรับสั่งพร้อมกับขอพระราชานุญาต ออกบวชเปน็ ภิกษุอยู่ในพุทธศาสนาด้วย เม่ือปุโรหิต กัจจายนะได้รับพระราชานุญาตแล้ว จึงได้น�ำบริวาร ออกเดินทางไปยังวัดเชตวัน แคว้นโกศล ซึ่งอยู่ใกล้ กับแคว้นอวันตีทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เม่ือ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 23
ปุโรหิตฯ และคณะเดินทางไปถึงวัดเชตวัน ได้หยุด ยืนฟังธรรมจากพระโอษฐ์ที่พระพุทธเจ้าก�ำลังตรัส สอนชาวเมอื งสาวตั ถอี ย ู่ ปโุ รหติ กจั จายนะยนื ฟงั ดว้ ย จิตสงบน่ิง พร้อมกับพิจารณาธรรมโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) ผลปรากฏว่าจิตของปุโรหิตฯ ได ้ บรรลุอรหัตตผลทันทีเมื่อการสาธยายธรรมจบลง จงึ ขอบวชเปน็ ภกิ ษสุ งฆอ์ ยใู่ นพทุ ธศาสนา และมนี าม วา่ พระมหากัจจายนะ วาทะส�ำคัญท่ีพระมหากัจจายนะกล่าวส่ังสอน บรวิ าร มีใจความเป็นดังทำ� นองนี้ ๑. คำ� พดู ของคนอนื่ ทำ� ใหเ้ ปน็ โจร เปน็ มนุ ไี มไ่ ด้ ๒. การทะเลาะเบาะแว้ง น�ำมาซึ่งความวิบัติ ของชวี ิต 24 พ ุ ท ธ ั น ด ร
๓. ผมู้ ปี ญั ญาเฉลียวฉลาด - มีตาเหมอื นคนตาบอด - มหี เู หมอื นคนหูหนวก - มีปากเหมือนคนเป็นใบ้ ไม่มีวจีกรรมใด หลดุ ออกจากปาก - มีก�ำลงั เหมอื นเปน็ คนออ่ นแอ ที่มิไดท้ �ำ สงิ่ ใดให้เห็น ฯลฯ ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 25
พุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท คำ� สอนในพทุ ธศาสนาแบง่ ออกเปน็ ๒ ฝา่ ยดงั น้ี ๑. ค�ำสอนที่แพร่ขยายไปทางตอนเหนือของ ชมพูทวีป คือแพร่ไปสู่ธิเบต จีน ญ่ีปุ่น ฯลฯ เป็น คำ� สอนฝ่ายมหายาน ๒. ค�ำสอนที่แพร่ขยายไปทางตอนใต้ของ ชมพูทวีป อาทิ ลังกา พม่า ไทย ฯลฯ เป็นค�ำสอนที่ เรยี กว่าฝ่ายหนิ ยานหรอื เถรวาท การเขา้ ถงึ ความรใู้ นพทุ ธศาสนา ไดแ้ กก่ ารเขา้ ถงึ พระธรรม พระวินัย และพระสูตร (พระไตรปิฎก) พทุ ธศาสนาฝา่ ยเถรวาท สามารถเขา้ ถงึ ความรไู้ ดเ้ ปน็ สองแนวทาง คอื แนวทางทเ่ี รยี กวา่ คนั ถธรุ ะ หรอื คอื ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 27
การศึกษาเล่าเรียนแบบปริยัติ (สุตมยปัญญาและ จินตามยปัญญา) ความรู้หรือปัญญาประเภทน ้ี สามารถเข้าถึงความจริงที่มีระบุไว้ในพระไตรปิฎก โดยมีเปรียญธรรมรับรองการเข้าถึง แม้จะได้ศึกษา มาจนถึงเปรียญธรรมสูงสุด (เปรียญ ๙) แล้วก็ตาม ผศู้ กึ ษาไดเ้ ขา้ ถงึ เพยี งความจ�ำ (สญั ญา) ไมส่ ามารถ สัมผัสกับความเป็นจริง (เหตุผล) ท่ีอยู่เหนือระบบ ประสาทสมั ผสั ได ้ คอื ไมเ่ หน็ สตั วท์ มี่ รี า่ งกายเปน็ ทพิ ย์ ได้ เช่นไม่เห็นเปรต อสุรกาย เทวดา พรหม ฯลฯ ไม่สามารถตามรู้เห็น เข้าใจกรรมที่ให้ผลเป็นวิบาก ที่ยาวนานข้ามภพชาติได้ไม่สามารถสื่อสารกับสัตว์ ที่อยู่ห่างไกลหรืออยู่ต่างมิติได้ ตลอดจนไมส่ ามารถ น�ำพาชีวิตให้พ้นไปจากวัฏสงสารได้ ตรงกันข้าม ความรู้หรือปัญญาที่เกิดข้ึนจากการพัฒนาจิต ตาม 28 พุ ท ธ ั น ด ร
แนวของวิปัสสนาธุระ เป็นความรู้ท่ีสามารถรู้เห็น เข้าใจความจริง หรือคือเหตุผลที่เป็นจริงแท้ และ ไม่แปรเปล่ียนไปตามกาลเวลา ความรู้สูงสุดหรือ ปญั ญาเหน็ แจง้ เชน่ น ี้ สามารถรเู้ หน็ เขา้ ใจการเปลยี่ น แปลงของสภาวธรรมในดวงจิต จากความเป็นปุถชุ น ไปเป็นอริยบุคคลได้ และสามารถน�ำพาชีวิตไปสู่ ความพ้นทุกข์ได้ ความรู้หรือปัญญาเห็นแจ้ง จึง ไม่จ�ำเป็นต้องอ้างเอาความรู้อย่างอื่นมายืนยัน ไม่ต้องอ้างเอาความรู้ในทางสถิติ ไม่ต้องอ้างต�ำรา หรอื คมั ภรี ์ ไมต่ อ้ งมปี ระกาศนยี บตั รหรอื ปรญิ ญาบตั ร มารับรองการเข้าถึง เพราะสามารถรู้เห็นเข้าใจได้ ด้วยตัวเองท่ีเรียกว่า สนฺทิฏฺฐิโก ผู้ท่ีพัฒนาจิตแต่ยัง เข้าไม่ถึงปัญญาเห็นแจ้งด้วยตัวเองย่อมไม่สามารถ สัมผัสกับความเป็นจริงแท้ (ปรมัตถสัจจะ) เช่นน้ ี ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 29
ได้ ปัญญาเห็นแจ้งย่อมเห็นสิ่งท่ีเน่ืองด้วยกาย เนื่อง ดว้ ยเวทนา เนอ่ื งดว้ ยจติ และเนอ่ื งดว้ ยธรรม ดำ� เนนิ ไปตามกฎไตรลักษณ์ เม่ือใดธรรมทั้งส่ีเข้าสู่ความ เป็นสิ่งที่ไม่ใช่ตัวตน (อนัตตา) จิตย่อมเห็นผัสสะ เป็นเพียงส่ิงสมมติท่ีเกิดข้ึนช่ัวคราวแล้วหายไป คือ ไม่มีอยู่จริงแท้ จิตย่อมเห็นแจ้งในส่ิงที่ไม่ใช่ตัวตน แล้วปล่อยวางเข้าสู่ความว่างท่ีเป็นอุเบกขา พร้อม กบั การเกดิ ขน้ึ ของปญั ญาเหน็ แจง้ ในผสั สะนนั้ กลา่ ว โดยสรุปว่า ผู้ใดพัฒนาจิตจนเข้าถึงปัญญาเห็นแจ้ง ไดแ้ ลว้ ยอ่ มมพี ฤตกิ รรมเปน็ อสิ ระเชน่ เปน็ อสิ ระจาก โลกธรรม เป็นอิสระจากวัตถุปรนเปรอ หรือเป็น อิสระจากกิเลสท้ังปวงท่ีเข้ากระทบจิต ความรู้สูงสุด ท่ีเป็นโลกุตตรญาณ (ญาณ ๑๖) มีก�ำลังมาก โดย เฉพาะญาณตัวที่ ๑ (นามรูปปริจเฉทญาณ) จนถึง 30 พ ุ ท ธั น ด ร
ญาณตัวท่ี ๑๒ (สัจจานุโลมิกญาณ) มีก�ำลังมาก แต่ยังไม่มากพอท่ีจะก�ำจัดกิเลสท่ีผูกมัดใจสัตว ์ (สญั โยชนห์ รอื สงั โยชน)์ ใหต้ อ้ งเวยี นตายเวยี นเกดิ อย ู่ ในวฏั สงสารได ้ ผทู้ พี่ ฒั นาจติ (วิปัสสนาภาวนา) จน เขา้ ถงึ ญาณตวั ท ่ี ๑๓ (โคตรภญู าณ) เปน็ ตน้ ไปจนถงึ ญาณตัวที่ ๑๖ (ปัจจเวกขณญาณ) ได้แล้ว สภาว- ธรรมในดวงจิตย่อมมีโอกาสเปลี่ยนจากจิตท่ีมีกิเลส หนาแนน่ (ปถุ ชุ น) ไปเปน็ จติ ทเี่ ปน็ อสิ ระจากสกั กาย- ทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาสหรือที่เรียกว่า เป็น อริยบุคคลข้ันต้น (พระโสดาบัน) ได้ ผู้ที่พัฒนาจิต ตามแนวของวปิ สั สนาธรุ ะ เชน่ น ี้ จงึ จะสามารถรเู้ หน็ เขา้ ใจดว้ ยจติ ของตวั เอง (สนทฺ ฏิ ฐฺ โิ ก) วา่ ตนไดเ้ ขา้ ถงึ พระนิพพานแล้ว รู้ลักษณะของพระนิพพานแล้วได้ ล้ิมรสของพระนิพพานแล้ว เป็นพระอริยบุคคล ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 31
ข้ันต้นท่ีระบุไว้ใบทสวดมนต์เจริญสังฆคุณ ตรงกัน ข้ามผู้ที่ปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงปัญญาเห็นแจ้งตัวที่ ๘ (สังขารุเปกขาญาณ) แต่ยังไม่เข้าถึงมรรคญาณ (ญาณ ๑๔) ยงั เขา้ ไมถ่ งึ ผลญาณ (ญาณ ๑๕) รวมถงึ ผทู้ ศี่ กึ ษาพระไตรปฎิ ก ตามแนวคนั ถธรุ ะ จนมคี วามร ู้ สูงสุดได้แล้ว ย่อมเข้าใจว่าพระอริยบุคคลขั้นต้น (พระโสดาบนั ) มสี ภาวธรรมในดวงจติ เขา้ ถงึ กระแส ของพระนพิ พานเทา่ น้นั ผู้เขียนต้องขออภัยท่านผู้อ่านว่า อย่าด่วนสรุป หรอื อยา่ พงึ ปลงใจเชอ่ื โดยมไิ ดใ้ ชก้ าลามสตู ร มาเปน็ เครื่องคัดกรองความไม่จริงออกจากความเป็นจริง หากผู้อ่านได้พัฒนาจิตจนเข้าถึงญาณ ๑๖ ได้แล้ว กาลามสูตรย่อมมีความศักดิ์สิทธ์ิ สามารถใช้วัด 32 พ ุ ท ธั น ด ร
สัจธรรมที่กล่าวมาข้างต้นได้อย่างถูกตรง ว่าเป็น ความจริงหรอื เปน็ ความไม่จริง ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 33
ปัญญาของมนุษย์ มนษุ ยม์ ศี กั ยภาพทจ่ี ะพฒั นาปญั ญาหรอื ความร ู้ ไดถ้ ึง ๒ ระดบั คือ ๑. ปญั ญาทางโลก ไดแ้ กก่ ารฟงั ผรู้ มู้ าบอกกลา่ ว หรือไปหาอ่านได้จากต�ำราคัมภีร์ ปัญญาประเภทน้ ี เรียกว่า สุตมยปัญญา หลังจากนั้นน�ำความรู้หรือ ข้อมูลความจ�ำไปจินตนาการหรือพัฒนาปัญญาให้ เกิดขึ้นกับสมอง เรียกปัญญาประเภทนี้ว่าจินตา- มยปัญญา ปัญญาทางโลกเป็นการพัฒนาสมองให้รู้ และจ�ำเทา่ นน้ั เปน็ ความรทู้ ยี่ งั ไมจ่ รงิ แท ้ หรอื ทเ่ี รยี ก วา่ เปน็ ความจรงิ ชวั่ คราว (สภาวสจั จะ) และสามารถ รเู้ ห็นเข้าใจได้ด้วยการท�ำงานของประสาทสัมผสั 34 พุ ท ธั น ด ร
๒. ปัญญาในดวงจิต ได้แก่การน�ำตัวเองไป พฒั นาจติ (สมถภาวนา) จนเขา้ ถงึ สมาธสิ งู สดุ ทเี่ รยี ก ว่า จิตทรงฌาน เม่ือถอยจิตออกจากความทรงฌาน ความรู้สูงสุดท่ีเรียกว่าโลกิยญาณ (อภิญญา ๕) จะ เกดิ ขน้ึ เปน็ อตั โนมตั ิ (ดบู นั ทกึ ทา้ ยเลม่ ขอ้ ๒) ปญั ญา โลกิยญาณ ไม่สามารถนำ� พาชีวิตไปสู่ความพ้นทุกข ์ ได้ แต่สามารถรู้เห็น เข้าใจสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในวัฏ- สงสารได ้ เชน่ รวู้ า่ ในอดตี มนษุ ยม์ อี ายขุ ยั ยนื ยาวเปน็ อสงไขยปี เป็นหลายหม่ืนปี และปัญญาทางโลกรู ้ ว่าในคร้ังพุทธกาล มนุษย์มีอายุยืนยาวเป็นร้อยป ี ปัจจุบันลดน้อยถอยลงเป็นเจ็ดสิบปี และจะลดลง เรื่อยๆ ด้วยเหตุท่ีปัญญาทางโลก รู้เห็น เข้าใจถึง การเปล่ียนแปลงของธรรมชาติ ที่มีผลกระทบถึง อายุขัยของมนุษย์ การใช้ความรู้หรือปัญญาทางโลก ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 35
มาแกป้ ญั หา ดว้ ยการดบั เหตทุ ท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ปญั หา แตม่ ี ผลไปกระทบให้เหตุอื่นเกิดขึ้น จึงเป็นการแก้ปัญหา ท่ีไม่สิ้นสุด และยังเป็นการท�ำร้ายหรือเบียดเบียน ธรรมชาติที่อยู่รอบตัวอีกด้วย ด้วยเหตุนี้จึงเรียกผู้ม ี ปญั ญาทางโลก ซงึ่ รเู้ หน็ เขา้ ใจไมจ่ รงิ แทว้ า่ ยงั มอี วชิ ชา ตามทม่ี รี ะบไุ วใ้ นหลกั ธรรมทเี่ รยี กวา่ ปฏจิ จสมปุ บาท๓ ซงึ่ มีความหมายวา่ สง่ิ ท้ังหลายอาศยั กันจงึ เกิดมีขึ้น นอกจากน้ีผู้ที่ใช้ปัญญาทางโลก ส่องน�ำทางให ้ กับชีวิต ย่อมมีการพูดคุยที่ขวางต่อทางพระนิพพาน (ตริ จั ฉานกถา)๔ และยงั มกี ารประพฤตทิ สี่ ญู เปลา่ ไม ่ เกดิ ประโยชนก์ บั ชวี ติ เรยี กผมู้ พี ฤตกิ รรมในลกั ษณะ นี้ว่า ยังประพฤติติรัจฉานวิชา๕ ผู้เขียนต้องขออภัย ผทู้ เี่ ขา้ ถงึ ปญั ญาทางโลก มไิ ดม้ เี จตนาใหร้ า้ ยหรอื เกดิ 36 พุ ท ธั น ด ร
เป็นความไม่สบายใจ แต่หากพัฒนาปัญญาสูงสุด ใหเ้ กดิ ขนึ้ ไดแ้ ลว้ ความศรทั ธาหรอื ความเชอ่ื ในความ เป็นจริงย่อมแปรเปล่ียนไปจากเดิม ดังน้ันที่ผู้ทรง ความเปน็ สพั พญั ญจู ึงได้ตรัสไวใ้ นกาลามสตู ร ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 37
ปัญญาเห็นแจ้ง ปัญญาเห็นแจ้งเป็นปัญญาท่ีเห็นเหตุและผล ถกู ตรงตามความเปน็ จรงิ แท ้ (ปรมตั ถสจั จะ) แมก้ าล เวลาจะผ่านเนิ่นนานไป เหตุและผลยังคงมีความ สมั พนั ธก์ นั ตลอดไป ปญั ญาประเภทนเ้ี กดิ ขนึ้ จากการ พัฒนาจิต (วิปัสสนากรรมฐาน) ตามแนวของสติ- ปฏั ฐาน ๔ (กาย เวทนา จติ ธรรม) วา่ ลว้ นตา่ งดำ� เนนิ ไปตามกฎไตรลักษณ์ เมื่อใดที่สติปัฏฐาน ๔ เข้าสู ่ ความเป็นอนัตตา ปัญญาเห็นแจ้ง ย่อมเกิดขึ้นกับ ผสั สะนนั้ ปญั ญาเหน็ แจง้ ในทนี่ คี้ อื ญาณ ๑๖๖ ผู้ท่ีพัฒนาจิตจนเข้าถึงปัญญาเห็นแจ้ง (ญาณ ๑-๑๒) ยังมีสภาวธรรมในดวงจิตเป็นปุถุชน พระ ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 39
นยิ ตโพธสิ ตั วจ์ งึ ระมดั ระวงั ในการพฒั นาจติ (วปิ สั ส- นาภาวนา) มใิ หเ้ กนิ สงั ขารเุ ปกขาญาณ ดว้ ยการมสี ติ คุมจิตมิให้พัฒนามากไปกว่าน้ัน หากขาดสติพัฒนา จิตจนเข้าถึงโคตรภูญาณ จะเกิดความเสียหายต่อ พุทธภูมิ ทตี่ นปรารถนาได้ ดว้ ยเหตนุ ผ้ี ทู้ พี่ ฒั นาจติ จนเขา้ ถงึ ปญั ญาเหน็ แจง้ ล�ำดับญาณ ๑-ญาณ ๑๒ จึงมีสภาวธรรมในดวงจิต เปน็ ปถุ ุชน เชน่ เดียวกนั ผทู้ ่พี ฒั นาปญั ญาทางโลกมา จนสูงสุดแล้ว แต่ยังเป็นผู้มีก�ำลังปัญญาไม่กล้าแข็ง พอ จึงมิสามารถก�ำจัดกิเลสท่ีผูกมัดใจ (สังโยชน์) สามตัวแรกให้หมดไปจากใจได้ สภาวะความเป็น ปถุ ชุ นยงั คงมอี ย ู่ ซง่ึ สามารถรเู้ หน็ เขา้ ใจไดด้ ว้ ยพฤต-ิ กรรมท่ีแสดงออก ยังมีความโลภ ความโกรธ ความ 40 พุ ท ธ ั น ด ร
หลง หรือท่ีเรียกว่ายังมีจิตเป็นทาสของกาม (รูป เสยี ง กลน่ิ รส สมั ผสั ทางกาย) ผทู้ ยี่ งั มจี ติ เปน็ ทาส ของกาม เม่ือถึงกาลเวลาที่ต้องทิ้งรูปขันธ์แล้ว จิต- วญิ ญาณยงั ตอ้ งเวยี นไปเกดิ ในกามภพ ตามแรงผลกั ของกรรม ยกเว้นพระอริยบุคคล แม้เพียงพัฒนา จิตได้เพียงระดับที่ ๓ (พระอนาคามี) ย่อมมีจิตเป็น อิสระจากกาม ตายแล้วจิตวิญญาณจึงจะถูกแรง กรรมผลักดนั ใหโ้ คจรไปสูส่ ทุ ธาวาสพรหมโลกได้ ดงั นนั้ จงึ กลา่ วโดยสรปุ ไดว้ า่ ปญั ญาเหน็ แจง้ ทม่ี ี ก�ำลังกล้าแข็ง จนถึงระดับท่ีสมควรแล้ว จึงไม่นำ� พา ชวี ติ ไปเกดิ เปน็ สตั ว ์ (รปู นาม) อยใู่ นกามภพอกี ตอ่ ไป ตามครรลองแห่งธรรม พระอริยบุคคลย่อมรู้ เห็น เขา้ ใจวา่ ปญั ญาเหน็ แจง้ ทมี่ กี ำ� ลงั มาก เมอ่ื สมั ปยตุ กบั ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 41
โลกิยญาณแล้ว ความเข้าใจในพุทธันดรย่อมมีความ แจ่มชัดย่ิงข้ึน ผู้เขียนต้องขออภัยท่านที่อ่านแล้ว ไม่เข้าใจ มไิ ดเ้ ปน็ ผมู้ คี วามเหน็ ผดิ ตามแนวทางคนั ถ- ธุระแต่อย่างใด เพียงแต่ว่าหากประสงค์จะพิสูจน์ สัจธรรมในเร่ืองพุทธันดรน้ีต้องพัฒนาจิตตามแนว วิปัสสนาธุระ ให้เข้าถึงอภิญญา ๕ และญาณ ๑๖ ได้แล้ว ความรู้เห็น เข้าใจในเร่ืองนี้จะไม่เป็นท่ีกังขา อกี ตอ่ ไป 42 พ ุ ท ธ ั น ด ร
บันทึกท้ายเล่มจากเชิงอรรถ ข้อ ๑. กาลามสตู ร ๑๐ ไดแ้ ก่ อย่าพึงปลงใจเชื่อ ๑. ด้วยการฟงั ตามกันมา ๒. ดว้ ยการถือสบื ๆ กนั มา ๓. ด้วยการเลา่ ลือ ๔. ดว้ ยการอ้างต�ำราหรือคัมภรี ์ ๕. ด้วยตรรก (ความคิด) ๖. ดว้ ยการอนมุ าน (คาดคะเนตามหลกั เหตผุ ล) ๗. ด้วยการคิดตรองตามแนวเหตผุ ล ๘. เพราะเขา้ กนั ได้กบั ทฤษฎขี องตน ๙. เพราะมองเห็นรูปลักษณ์น่าเชือ่ ๑๐. เพราะนบั ถอื ว่าสมณะรูปนเ้ี ปน็ ครขู องเรา ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 43
ขอ้ ๒. อภิญญา ๕ ไดแ้ ก่ ๒.๑. ความรขู้ น้ั สงู (โลกยิ ญาณ) ท่ใี ชแ้ สดง ฤทธติ์ า่ งๆ ได ้ (อทิ ธิวิธ)ิ ๒.๒. ความรขู้ ั้นสงู ทส่ี ามารถไดย้ ินเสียงท่ีอยู่ หา่ งไกลได้ (ทพิ พโสต) ๒.๓. ความรู้ขน้ั สูงทีส่ ามารถรู้ความคิดของ ผอู้ น่ื ได ้ (เจโตปรยิ ญาณ) ๒.๔. ความรขู้ น้ั สงู ทส่ี ามารถระลกึ ชาตหิ นหลงั ได ้ (ปพุ เพนิวาสานสุ ตญิ าณ) ๒.๕. ความรู้ขั้นสูงทสี่ ามารถเหน็ สัตว์ที่มี รา่ งกายเปน็ ทพิ ยไ์ ด ้ (ทพิ พจกั ข)ุ โลกิยญาณ : เป็นความรู้ เห็น เข้าใจ ด้วยจิต ท่ีพัฒนา (สมถภาวนา) ดีแล้ว และยังข้องอยู่กับภพ ในวฏั สงสาร 44 พุ ท ธ ั น ด ร
ข้อ ๓. ปฏจิ จสมุปบาท ๑๒ มดี ังน้ี ๑. เพราะอวชิ ชา (สุตฯ และจนิ ตามยปัญญา) เปน็ ปัจจัย สังขารจึงมี ๒. เพราะสงั ขาร (ส่ิงท่ถี กู ปัจจัยปรุงแตง่ ) เป็นปจั จัย วิญญาณจงึ มี ๓. เพราะวิญญาณ (ความรแู้ จ้งอารมณ)์ เป็นปจั จยั นามรูปจงึ มี ๔. เพราะนามรปู (นามธรรมและรปู ธรรม) เป็นปจั จัย สฬายตนะจึงมี ๕. เพราะสฬายตนะ (อายตนะ ๖) เปน็ ปจั จัย ผัสสะจึงมี ๖. เพราะผัสสะ (การกระทบ) เป็นปจั จยั เวทนาจึงมี ๗. เพราะเวทนา (ความรูส้ กึ สุขทกุ ข)์ เปน็ ปัจจัย ตณั หาจึงมี ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 45
๘. เพราะตัณหา (ความทะยานอยาก) เปน็ ปจั จัย อปุ าทานจงึ มี ๙. เพราะอปุ าทาน (ความยึดมน่ั ) เป็นปัจจัย ภพจึงมี ๑๐. เพราะภพ (โลกอันเปน็ ทอ่ี ยู่ของสตั ว์) เป็นปัจจัย ชาตจิ ึงมี ๑๑. เพราะชาต ิ (การเกิด) เป็นปจั จยั ชรามรณะจงึ มี ๑๒. การเกิดยังเปน็ ปจั จยั ให้เกดิ โศก (โสก) ให้เกดิ ความร�ำพนั ด้วยเสยี ใจ (ปริเทวะ) ให้เกิดความไม่สบายกาย (ทุกข)์ ให้เกดิ ความไมส่ บายใจ (โทมนัส) ใหเ้ กิดความคับแค้นใจ (อุปายาส) 46 พ ุ ท ธั น ด ร
ข้อ ๔. ติรัจฉานกถา หมายถึง การพูดคุยที่เป็นเหตุขัดขวาง การน�ำ ชีวติ เข้าส่คู วามพน้ ทกุ ข์ อาทิ - การพดู คุยในเรือ่ งของพระราชา เร่อื งของ ราชวงศ์ - การพูดคุยในเรื่องของ ยศ ตำ� แหนง่ อ�ำนาจ การเลอ่ื นข้นั ข้ึนเงินเดอื น - การพูดคุยในเรื่องการลกั ขโมย หลอกลวง จป้ี ล้น - การพดู คุยเรอ่ื งอาวธุ ยทุ โธปกรณ์ เรอื่ งการ วางระเบิด - การพดู คยุ เร่อื งข้าว เรอื่ งนำ้� ท่วม น�้ำแลง้ - การพูดคยุ เร่อื งเสื้อผ้า การแตง่ ตวั - การพูดคุยเรือ่ งบา้ น เรอ่ื งฮวงจุย้ เรื่อง ตรอก ซอย ทา่ น้�ำ ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 47
- การพูดคยุ เร่ืองบรุ ษุ เรอื่ งสตรี อว้ นผอม ผิวเหี่ยวย่น เต่งตึง - การพดู คุยถงึ คนท่ตี ายไปแลว้ - การพูดคยุ ถึงความเส่ือม ความเจริญ ฯลฯ ตา่ งๆ เหลา่ นเ้ี ปน็ ตริ จั ฉานกถา ทำ� ใหจ้ ติ มอี ารมณ ์ ฟุ้งซ่าน ข้อ ๕. ตริ จั ฉานวชิ า หมายถึง การน�ำความรู้มาใช้ในสิ่งท่ียังข้องอยู่ กบั โลก อาทิ - การใชค้ วามรมู้ ารกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ ใหก้ บั คนปว่ ย - การใชค้ วามรมู้ าท�ำเสนห่ ใ์ ห้คนหลง - การใช้ความร้มู าสาปแช่งศัตรใู ห้วิบัติ - การใช้ความรูม้ าท�ำให้ตนเองรำ�่ รวยทรพั ย์ 48 พ ุ ท ธ ั น ด ร
- การใช้ความร้มู าทำ� นายโชคชะตา มาผูกดวง มาดูฮวงจุ้ย - การใชค้ วามร้มู าปลุกเสกใหเ้ กิดความขลัง ความศกั ด์สิ ทิ ธ ์ิ ฯลฯ ต่างๆ เหล่าน้ีเป็นเดรัจฉานวิชา ที่พระพุทธ โคดมตรสั มใิ หภ้ กิ ษเุ ขา้ ไปขอ้ งเกย่ี ว เพราะจะเปน็ เหตุ ให้จิตเป็นทาสของความรู้ ที่ยังน�ำพาชีวิตเวียนตาย เวยี นเกดิ อยู่ในวัฏสงสารอยา่ งไมส่ ้นิ สดุ ขอ้ ๖. ญาณ ๑๖ หรือเรียกว่าโสฬสญาณ ไดแ้ ก่ ๑. ญาณกำ� หนดรนู้ ามและรูป (นามรปู ปริจเฉทญาณ) ๒. ญาณก�ำหนดรู้ปัจจัยของนามและรปู (ปจั จยปริคคหญาณ) ด ร . ส น อ ง ว ร อ ุ ไ ร 49
Search