Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ่อผมเป็นมหา

พ่อผมเป็นมหา

Published by Sarapee District Public Library, 2020-11-15 15:14:11

Description: พ่อผมเป็นมหา
โดย วศิน อินทสระ

Keywords: วศิน อินทสระ

Search

Read the Text Version

ต อ น  ีท่ ๑ ๘ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 150 พอ่ บอกวา่  แมใ้ นเรอ่ื งการหางานท�ำกเ็ ชน่ เดยี วกนั  คนมคี วามร้ ู ดจี ริงก็หางานท�ำไดง้ า่ ย คนไมม่ คี วามรอู้ ะไรก็หางานท�ำไดง้ า่ ย สว่ นคนมคี วามรคู้ รงึ่ ๆ กลางๆ นนั่ แหละ หางานทำ� ไดย้ าก เพราะ  จะไปทำ� งานอยา่ งคนมคี วามรกู้ ไ็ มไ่ ด ้ ไมม่ ใี ครเขาจา้ ง ครน้ั จะไปทำ� งาน  อย่างคนไม่มีความรู้  เช่น  กรรมกรขุดดินขนหิน  ตัวเองก็ไม่พอใจท�ำ  เห็นเป็นไม่สมเกียรติ  หรือไม่สมกับท่ีได้เล่าเรียนมาบ้าง  ความรู้ครึ่งๆ  กลางๆ จึงลำ� บากอย่างน ้ี ความรจู้ รงิ จึงมคี ุณค่าและประโยชน์แกช่ วี ติ “คนจะมีความรู้จริงก็ต้องท�ำติดต่อสม่�ำเสมอ  ไม่เป็นคนจับจด  จบั ๆ วางๆ” พอ่ พดู ตอ่ ไปเมอ่ื เหน็ ผมตงั้ ใจฟงั  “มวี ริ ยิ ารมั ภะ คอื ความ  พากเพียรเสมอต้นเสมอปลาย  มีความบากบั่นมั่นคงไม่ถอยหลัง  จะ  สำ� เรจ็ เมอื่ ไรนนั่ อกี ปญั หาหนง่ึ  ขอแตอ่ ยา่ หยดุ ความเพยี รเสยี  ตอ้ งเปน็   ผไู้ มใ่ จรอ้ น, รจู้ กั รอคอยผลทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ  สงิ่ ใดไดท้ ำ� ไปแลว้  สงิ่ นน้ั จะตอ้ ง  มผี ลอยา่ งแนน่ อน เรว็ หรอื ชา้ เทา่ นนั้  ถา้ ไมท่ ำ�  ยอ่ มไมไ่ ดผ้ ลเลย ใครๆ  ตอ้ งยอมรบั วา่ การไดผ้ ลชา้  ดกี วา่ การไมไ่ ดผ้ ล  คนทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ตรสั   เรยี กวา่  ‘อารัทธะวิริยบุคคล’ น้ัน คือผู้มีลักษณะมีความเพียรมั่นคง  ไมถ่ อยหลงั  เมอื่ ใดความเพยี รคลายลง ใหร้ ะลกึ ถงึ การสง่ั สมนำ้� ผง้ึ ของ  ตัวผึ้ง  การสร้างจอมปลวกของตัวปลวก  ซึ่งเป็นไปทีละเล็กทีละน้อย  นานเข้าก็มากและใหญ่ได้  คนที่ประสบผลส�ำเร็จในส่ิงใดสิ่งหนึ่งก็  เหมือนกัน ย่อมได้จากการส่ังสมอบรมทีละน้อย  นานปีเข้าสิ่งน้ันก็ พอกพูน” “มีวิริยารัมภะ  คือ  ความเพียรเสมอต้นเสมอปลายอย่างเดียว  เทา่ นน้ั หรอื พอ่  ทจ่ี ะทำ� ใหค้ นบรรลคุ วามสำ� เรจ็ ในชวี ติ อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ   ได ้ ?” ผมตอบ “มอี ยา่ งเดยี วไมไ่ ดล้ กู ” พอ่ ตอบ “แตม่ วี ริ ยิ ารมั ภะมคี วามส�ำคญั   มาก เปน็ แกนส�ำคญั ซึ่งจะขาดเสียมิได้ วิริยารมั ภะเปรียบเหมอื นปลา 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 151 คุณธรรมนอกนนั้ เปรียบเหมอื นเครอื่ งแกง” “อยา่ งอ่ืนมีอะไรบา้ งครับ ?” “เช่นการได้อยู่ในที่อันเหมาะสม  และความเป็นผู้ได้เคยท�ำบุญ  เพ่ือบรรลุสิ่งน้ันมาในชาติก่อนๆ  อันท่านเรียกว่า  ปฏิรูปเทส  และ  ปพุ เพกตปญุ ญตา ตามลำ� ดับ ตัวอยา่ งคนที่อยู่ทุ่งนา ไม่เคยเล่าเรียน  ในบา้ นในเมอื ง ประสงคจ์ ะเปน็ นายกเทศมนตรกี ไ็ มอ่ าจเปน็ ได ้ จะเปน็   ได้อย่างสูงสุดก็เพียงแค่ก�ำนัน  คนท่ีมีความพยายามเสมอต้นเสมอ  ปลายแล้ว  ได้อยู่ในท่ีอันเหมาะสมแล้ว  ตั้งต้นไว้ชอบแล้ว  แต่ถ้าขาด  บญุ สนบั สนนุ  กไ็ มอ่ าจสำ� เรจ็ ไดเ้ หมอื นกนั  ทำ� ไป ทำ� ไป ใหเ้ ปน็ อนั มสี ง่ิ   มาตัดรอน  เช่น  โรคภัยไข้เจ็บหรืออุปัทวะอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดข้ึน  จนไม่อาจให้พยายามต่อไปได้  คนที่สร้างเน้ือสร้างตัวก็เหมือนกัน  ถ้า  บุญไม่พอก็เป็นอันให้มีภัยมารบกวนตัดรอน  เช่น ไฟไหม้  น้�ำท่วม  ทรพั ย์สมบตั เิ สยี หายหมดไป “สรปุ วา่  สตู รสำ� เรจ็ ในชวี ติ นนั้ ตอ้ งประกอบดว้ ยคณุ สมบตั หิ ลาย  ประการ  เสมือนรถที่แล่นไปถึงจุดหมายปลายทางได้  ต้องเครื่องดี  ยางรถไมร่ ่ัว ไม่แตก คนขบั มีฝีมอื  ฉันใดก็ฉนั น้ัน” “คนทท่ี �ำอะไรไมส่ ำ� เรจ็ ก็แสดงว่าไมม่ บี ญุ  ?” “บางทกี เ็ ปน็ อยา่ งนน้ั ” พอ่ ตอบ “แตบ่ างคนกเ็ พราะเกยี จครา้ น  หรอื ทำ� ไมเ่ หมาะสม บญุ นนั้ เราไมร่ วู้ า่ เรามหี รอื ไมม่  ี แตค่ วามพยายาม  เรารแู้ นน่ อนวา่ เรามหี รอื ไม ่ เราจงึ ควรทำ� ใหด้ ที ส่ี ดุ  เผอ่ื วา่ บญุ เรามกี จ็ ะ  ไดส้ ำ� เรจ็ สมความมงุ่ หมาย เมอื่ เราไดพ้ ยายามแลว้  ถงึ ไมส่ �ำเรจ็  บณั ฑติ   ก็ไม่ติเตียน  ตัวเราเองก็ติเตียนตัวเราเองไม่ได้  คนส่วนมากมักท้อใจ  เสียก่อนลงมือพยายาม  และพูดว่า  ‘มองไม่เห็นฝั่งแห่งความส�ำเร็จ’  จึงไมพ่ ยายามทั้งๆ ท่ีอยากได้ใครถ่ งึ “เรื่องของพระมหาชนกโพธิสัตว์เป็นตัวอย่างอันดีในเร่ืองน้ี 

ต อ น  ีท่ ๑ ๘ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 152 เมื่อเรือแตกในกลางมหาสมุทร  คนอ่ืนมองไม่เห็นฝั่ง  จึงยอมตายโดย  งา่ ย สว่ นพระมหาชนกโพธสิ ตั ว ์ แมม้ องไมเ่ หน็ ฝง่ั กย็ งั พยายามวา่ ย จน  ในท่ีสุดเทพธิดาชื่อเมขลามาช่วย  เพราะพอใจในความพยายามของ  พระมหาชนก  ในท่ีสุดพระโพธิสัตว์ก็ถึงฝั่งได้  ยังได้เป็นพระราชาแห่ง  มถิ ลิ านครอกี ดว้ ย  เมอื่ ทรงหวนระลกึ ถงึ ราชสมบตั อิ นั พระองคไ์ ดเ้ พราะ  ความเพียรที่ว่ายน้�ำในมหาสมุทรโดยแท้  จึงมีพระปีติทรงเปล่งอุทาน  สรรเสรญิ ความพยายามนานาประการ เชน่ วา่  ‘บคุ คล๒ผมู้ ปี ญั ญา แม้  ประสบทุกข์ก็ไม่ควรส้ินหวังในความสุข’  ‘ผู้เป็นบัณฑิต๓ควรพยายาม  ร�ำ่ ไป ไมค่ วรเบ่ือหน่าย’ เป็นต้น” “พอ่ เชอ่ื วา่ นางเทพธดิ าชอื่ เมขลา มาชว่ ยพระมหาชนกจรงิ หรอื  ?  และพอ่ เชอ่ื หรอื วา่ มรี าชรถมาเกยพระมหาชนกจรงิ จนไดเ้ ปน็ พระราชา  แห่งมถิ ลิ านคร ?” พ่อตอบว่า  “พ่อไม่ติดใจว่าเรื่องน้ันจริงหรือไม่จริง  แต่พ่อชอบ  ตวั อยา่ งของพระมหาชนกทมี่ คี วามเพยี รด ี ไมย่ อมทอ้ ถอยงา่ ย ในชวี ติ   คนจริงปัจจุบัน  คนส่วนมากก็ชอบช่วยเหลือคนที่พยายามช่วยตัวเอง  พ่อก็เหมือนกัน  ใครที่ไม่พยายามช่วยตัวเอง  คอยเหลียวหาท่ีพ่ึงอยู่  เรอ่ื ย พอ่ กไ็ มอ่ ยากชว่ ย แตพ่ อ่ มคี วามสขุ ใจ ชอบชว่ ยเหลอื คนทม่ี คี วาม  พยายาม” “เร่ืองราชรถมาเกยนั้นไม่ใช่ของแปลก  ในเมืองไทยเราก็มีอยู ่ บ่อยๆ บางคนไดร้ บั เชญิ ให้เปน็ นายกรัฐมนตร,ี  พระเจ้าแผ่นดินไทยท ี่ ครองราชย์โดยไดร้ ับอัญเชิญจากปวงชนกม็ ีอยูไ่ ม่นอ้ ย ๒ ทกุ ขูปนโี ตปิ นโร สปญโฺ  อาสํ น ฉนิ เฺ ทยฺย สขุ าคมาย ๓ วายเมเถว ปรุ โิ ส น นิพฺพนิ เทยยฺ  ปณฑฺ โิ ต

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 153 แมพ้ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั องคป์ จั จบุ นั กเ็ ชน่ กนั  ทรงไดร้ บั   การเช้ือเชิญข้ึนครองราชย์  อย่างนี้ไม่เรียกว่าราชรถมาเกย  จะเรียก  วา่ อะไร” “พ่อพูดตอนหนึ่งว่า  ‘ความเป็นผู้ได้เคยท�ำบุญเพื่อบรรลุส่ิงนั้น  มาในชาติก่อนๆ’  หมายความว่าคนจะบรรลุถึงสิ่งใด  จะต้องมีความ  ปรารถนาและท�ำบุญ    เพื่อให้ความปรารถนานั้นบรรลุผลสมความ  มงุ่ หมาย ถา้ อยา่ งนนั้ จะท�ำความพยายามท�ำไมอกี ในชาตปิ จั จบุ นั  นอน  รอคอยผลกรรมในอดีตจะมิดกี ว่าหรือ ?” ผมถามพอ่ “ตอ้ งประกอบกนั ทง้ั สองอยา่ ง” พอ่ ตอบ “คนทเี่ คยทำ� ความดไี ว้  ในชาติก่อนแล้ว  ต้องท�ำตนให้เหมาะสมในชาติปัจจุบัน  เพ่ือรองรับ  คุณความดี  มิฉะน้ันความดีเก่าจะเสียไปด้วย  เปรียบเหมือนอาหารด ี รสเลิศ  ควรได้ภาชนะท่ีสะอาดรองรับ  ถ้าภาชนะรองรับเปื้อนด้วย  ส่ิงปฏิกูลเน่าเหม็น  อาหารดีก็พลอยเสียไป  ฉันใด  อดีตกับปัจจุบันก ็ ตอ้ งอาศัยกนั สนับสนนุ กนั ” “พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้  ทรงมบี ญุ ญาธกิ ารอนั เคยสงั่ สมมามาก  ลน้  เพ่ือบรรลุจุดประสงคค์ อื ความเปน็ พระพุทธเจ้า ถึงกระนั้นในชาติ  ปจั จบุ นั กต็ อ้ งทรงพยายามอยา่ งยง่ิ อกี จงึ สำ� เรจ็ ได ้  คนทไ่ี มม่ บี ญุ ญาธ-ิ   การเพอ่ื มาเป็นพระพุทธเจ้า แม้จะใชค้ วามพยายามเท่าพระองคเ์ พียง  ในชาติปจั จบุ นั  กห็ าเปน็ พระพุทธเจ้าได้ไม่” “ตวั อยา่ งเรอื่ งนน้ี ำ� ไปแกป้ ญั หาอน่ื ไดอ้ กี หลายประการ เชน่  ทำ� ไม  คนท�ำความเพียรเสมอกันในชาตินี้  จึงได้รับผลไม่เสมอกัน  ท�ำไม  คนท�ำความดีเท่ากนั ทำ� ชวั่ เหมือนกนั  จึงไดร้ ับผลดีผลชั่วไมเ่ ท่ากนั ” “ผมว่าเร่ืองนี้ขนึ้ อยูก่ ับความไมย่ ตุ ธิ รรมของสังคมมากกว่า” “น่ันอีกประการหน่ึง”  พ่อตอบ  “แต่ประการท่ีส�ำคัญกว่าน้ันก็  คอื กรรมดกี รรมชวั่ ในอดตี ชาตขิ องคนไมเ่ ทา่ กนั  ถา้ เราปฏเิ สธกรรมดี 

ต อ น  ีท่ ๑ ๘ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 154 กรรมชั่วในอดีตเสียแล้ว  เราจะเห็นความอยุติธรรมต่างๆ  ในโลกน้ี  มากมาย อะไรๆ กด็ เู หมอื นจะเปน็ ความอยตุ ธิ รรมไปสน้ิ  แตค่ วามจรงิ   ประการหน่ึงท่ีซ่อนเร้นอยู่เบ้ืองหลัง คือ  กรรมเดิมของคนไม่เท่ากัน  เมอ่ื ทำ� กรรมในชาตนิ แ้ี มจ้ ะเทา่ กนั  แตเ่ มอื่ รวมผลแลว้  ผลรวมออกมา  ยอ่ มไม่เท่ากนั อยดู่  ี ยอดท่ยี กมาไมเ่ ทา่ กนั ” “ท่พี ่อว่ามากเ็ ปน็ เหตุผลทนี่ ่าฟงั ดีอยู ่ แตม่ ันมองไม่เหน็ ครับ” ผมโต้ “แตค่ วามอยุติธรรมในสงั คมน้ัน มองเหน็ ไดช้ ดั แจง้ ” “เชน่ อย่างไร ?” พอ่ ถาม “เช่นคนรวย  เกิดมารวย  ย่อมจะได้เปรียบคนจนในทุกๆ  ด้าน  ไมว่ า่ ทางการศกึ ษา, สงั คม การอยดู่ กี นิ ด ี และโอกาสทจ่ี ะรำ่� รวยตอ่ ไป  ในสงั คมมนษุ ยเ์ รา คนรวยยอ่ มไดเ้ ปรยี บคนจนเสมอ ไมว่ า่ จะรวยโดย  สุจริตหรือทุจริต  การที่คนประกอบกรรมอย่างเดียวกัน  แล้วได้รับผล  ไมเ่ หมอื นกนั  ผมวา่ เพราะความไมเ่ ปน็ ธรรมในสงั คมมากกวา่ อยา่ งอน่ื ” “ว่าต่อไป”  พ่อพูด ผมจึงพูดตอ่ ไปวา่ “นาย ก. กบั  นาย ข. ไปปลน้ ทรพั ยด์ ว้ ยกนั  นาย ก. ตดิ ตะราง  นาย ข. ไมต่ ดิ  เพราะเหตไุ ร ? เพราะนาย ก. ไมม่ เี งนิ  สว่ นนาย ข.  มีเงินวิ่งเต้น อุดนั่นอุดน่ี เอาเงินทุ่มลงไป กำ� แพงตะรางก็พัง  เรื่อง  ทำ� นองนี้มีอยู่ถมไป “เดก็ ทหี่ วั สมองด ี แตไ่ มม่ โี อกาสไดเ้ รยี น เพราะไมม่ เี งนิ คา่ เลา่   เรยี น คา่ แปะเจยี๊ ะเปน็ พนั เปน็ หมนื่  เดก็ ทส่ี มองดไี มเ่ ทา่ ไดเ้ รยี น เพราะ  มเี งนิ  คนพวกนส้ี อบเขา้ มหาวทิ ยาลยั ในเมอื งไทยไมไ่ ด ้ กไ็ มต่ อ้ งเดอื ด  ร้อน  ไปเรียนเสียเมืองอังกฤษ  อเมริกา  ๕-๖  ปีกลับมา  มีอะไรๆ  ด ี กว่าคนจบมหาวิทยาลัยในเมืองไทยเป็นไหนๆ  กลับมาเป็นนายเพื่อน  รุน่ เดยี วกนั  ว่างนั้ เถอะ

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 155 “พอ่ เชอ่ื ไหมวา่  ถา้ สงั คมเรายงั เปน็ อยอู่ ยา่ งน ้ี อกี สกั หนอ่ ยไมน่ าน  นัก  พวกทหารเกณฑ์แต่ละปีก็จะมีแต่คนโง่กับคนจน  ส่วนคนมีเงิน  เอาตัวรอดได้หมด  เจ้าหน้าที่ทางบ้านเมืองของเราทุกส่วนราชการ  กระหายเงิน แม้จะไมท่ กุ คนแต่กไ็ ม่น้อย จงึ เป็นโอกาสให้ผมู้ เี งนิ  เอา  เงนิ เปน็ เครอ่ื งมอื ทำ� ลายความยตุ ธิ รรมในสงั คม ผลด ี ผลสำ� เรจ็ ตกอย่ ู กับผ้มู ีเงิน “เรอ่ื งทง้ั หลายแหลเ่ หลา่ น ี้ เปน็ ความไมเ่ ปน็ ธรรมในสงั คม ไมใ่ ช ่ เร่อื งกรรมเดิมกรรมใหม่อะไรของพอ่  ซ่ึงมองไมเ่ ห็น” ผมคอยฟงั พอ่  แตพ่ อ่ ผมไมพ่ ดู  นงั่ หมนุ ไปหมนุ มา อยบู่ นเกา้ อ้ ี หมนุ มีเทา้ แขน สายตาพงุ่ จับอยู่ท่ียอดชงโคหนา้ บ้าน



๑๙ต อ น ที่ พอ่ สง่ั สอนผมนกั หนาเรอื่ งใหเ้ กรงกลวั ตอ่ บาป เพราะมนั ตามแผดเผา  ในภายหลังอย่างน่ากลัว  ไม่ใช่แผดเผาอะไรอื่น  แผดเผาใจของผู้ท�ำ  นนั่ เอง เมอื่ ใดความรสู้ กึ ผดิ ชอบเกดิ ขน้ึ จะหวนระลกึ ถงึ อกศุ ลกรรมหรอื   บาปที่เคยท�ำมา  ผลบาปจะมาทรมานจิตใจให้เร่าร้อนกระวนกระวาย  ปราศจากความสงบเย็น การก่อกรรมช่ัวอาจให้ความสุขความรื่นรมย์ใจในขณะท�ำชั่ว  ระยะเวลาเลก็ นอ้ ย แตผ่ ลทต่ี ดิ ตามมาคอื ความทกุ ขอ์ นั ยดื เยอ้ื เปน็ รอย  แผลใจซึ่งยากที่จะลบเลือนได้  ขณะน้ันเราจะรู้สึกชังคนท่ีเป็นต้นเหต ุ ใหเ้ ราตอ้ งกอ่ กรรมท�ำชวั่  อยา่ งไรกต็ าม คนทค่ี วรแกก่ ารต�ำหนทิ สี่ ดุ ก ็ คอื ตวั เราเองทท่ี ำ� ลงไป (เพราะความโงเ่ ขลาเบาปญั ญา) รเู้ ทา่ ไมถ่ งึ การณ ์ หรอื เพราะการอยากรอู้ ยากลองก็ตาม

ต อ น  ีท่ ๑ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 158 การหาบทเรียนจากการทำ� ชั่วนั้นเป็นบทเรียนที่แพงเกินไป พ่อ  บอกวา่ ความสขุ กายนน้ั ดำ� รงอยชู่ ว่ั ระยะสนั้  แตค่ วามสขุ ใจดำ� รงอยนู่ าน  บางทอี าจตลอดชวี ติ  เพราะฉะนนั้ จงึ ควรมสี ตริ ะวงั  อยา่ แลกความสขุ ใจ  กบั ความสขุ กาย เพราะจะเสยี ใจภายหลงั อยา่ งแนน่ อน แตถ่ า้ สละความ  สุขกายเพอ่ื ความสุขใจแลว้ รบี กระทำ� เถิด จะมีผลสงบเยน็ ในภายหลัง เกย่ี วกบั ศลี ทงั้  ๕ ขอ้ นนั้  พอ่ ขอรอ้ งแกมบงั คบั ผมใหผ้ มละเวน้   อยา่ งเดด็ ขาดอย ู่ ๒ ขอ้  คอื  ขอ้ อทนิ นาทานา คอื การลกั ขโมย ฉอ้ โกง  หรอื อะไรอนื่ ทำ� นองน ้ี และขอ้ กาเมสมุ จิ ฉาจารา คอื การลว่ งประเวณใี น  ภรรยาของผูอ้ นื่ พอ่ บอกวา่  การลกั ขโมยเขากนิ นน้ั เปน็ การเสยี เกยี รตภิ มู ขิ องมนษุ ย ์ ส่วนการล่วงประเวณีในภรรยาของผู้อื่นเป็นบาปที่ทรมานใจ  เม่ือหวน  ระลกึ ขน้ึ ในภายหลงั  เมอื่ หายหลงแลว้  หายเหน็ ผดิ เปน็ ชอบแลว้  คราวน้ ี คงเหลืออยู่แต่ความทรมานใจ  ความพอใจใดๆ  อันเคยได้รับไม่มีหลง  เหลืออยอู่ ีกเลย “ถ้าเขายินยอมและเป็นความสุขด้วยกันทั้งสองฝ่ายละครับ-  พ่อ ?”  ผมถาม “ตามธรรมดาก็ต้องร่วมใจกันทั้งสองฝ่าย  แต่พ่อขอร้องให้ลูก  เวน้ อย่างเดด็ ขาด” พอ่ ยืนยนั “ไมก่ ลัวเขาวา่ โง่ไปหรือพ่อ ?” “ชา่ งเถอะลกู  โงแ่ ตม่ คี วามสขุ ใจ ดกี วา่ ฉลาดแตม่ คี วามทกุ ขอ์ นั   ยืดเยื้อ  สิ่งที่ท�ำไปแล้วจะไปท�ำคืนก็ไม่ได้เสียด้วย  เช่นลูกไปประพฤต ิ ผิดศีลข้อกาเมสุมิจฉาจารแล้วจะท�ำคืนอย่างไร  เมื่อรู้สึกผิดชอบขึ้นก ็ มีแตค่ วามอดสู ความละอายตนเอง ละอายเทวดาผเู้ ป็นสัมมาทิฏฐิ” “เราถอื ว่าคนนนั้ เปน็ คนเลวได้ไหม พ่อ ?” “อยา่ พดู อยา่ งนน้ั ซลิ กู ” พอ่ เตอื น “เราพดู ไดว้ า่ การกระทำ� อยา่ งนน้ั  

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 159 ของเขาเป็นความเลว  (และต้องเฉพาะเวลาท่ีเขาท�ำเท่าน้ัน)  แต่เขา  ไมไ่ ดท้ ำ� ความเลวอยตู่ ลอดเวลา ยอ่ มจะตอ้ งมกี าละอน่ื  เทศะอน่ื ทเ่ี ขา  ทำ� ความดปี ระพฤตชิ อบ ชนดิ ทว่ี ญิ ญชู นสรรเสรญิ  เพราะฉะนน้ั เขายอ่ ม  เปน็ คนชว่ั ในเวลาทท่ี ำ� ชว่ั  และเขายอ่ มจะตอ้ งเปน็ คนดใี นเวลาทป่ี ระกอบ  กรรมด ี  ดเู หมอื นจะไมม่ ใี ครในโลกทท่ี ำ� แตค่ วามชว่ั อยา่ งเดยี วตลอดชพี   หรอื ท�ำแต่ความดอี ยา่ งเดยี วตลอดชีวิต นอกจากพระอรหนั ต์ “คนท่ีสังคมยอมรับแล้วว่าเป็นคนดี  มีศีลธรรมก็น่าจะต้องเคย  ท�ำกรรมชั่วมาบ้างมากหรือน้อย  แล้วแต่กรณีฉันใด  คนท่ีถูกเหยียด  หยามว่าเป็นคนช่ัวก็น่าจะต้องเคยทำ� กรรมดีมาบ้างเหมือนกัน ฉันน้ัน  ผู้ตัดสินมักตัดสินจากการกระท�ำในระยะท่ีใกล้ท่ีสุด  และจากผลรวม  ของการกระท�ำต่างๆ ทัง้ ทางดที างชว่ั “ดว้ ยเหตนุ  ี้ คนๆ เดยี วกนั  บางคนอาจชมวา่ ด ี บางคนอาจตำ� หน ิ วา่ เลว เพราะเพง่ เฉพาะการกระทำ� ทเี่ ขาเหน็ เทา่ นน้ั  อนง่ึ  โดยปกตกิ รรม  ชวั่  คนมกั ปกปดิ ซอ่ นเรน้  สว่ นกรรมดแี มเ้ พยี งเลก็ นอ้ ยคนกช็ อบเปดิ เผย  ท�ำในท่ีเปิดเผย แต่ผลทางใจย่อมมีเท่ากันไม่ว่าทำ� ในท่ีเร้นลับหรือที่  เปิดเผย” พ่อกลบั มาพดู เร่ืองกาเมสมุ จิ ฉาจารอีกวา่ “โดยปกต ิ เรอื่ งกามารมณ ์ แมท้ เี่ ปน็ ไปตามทำ� นองคลองธรรมก ็ เปน็ เรอื่ งกอ่ ทกุ ขก์ อ่ โทษมากอยแู่ ลว้   เปน็ ไปเพอ่ื การตง้ั บา้ นเรอื น เพอ่ื   ความยงุ่ เหยงิ อนั สลบั ซบั ซอ้ น ถา้ ผดิ ท�ำนองคลองธรรมเขา้ อกี จะมโี ทษ  ทวีข้ึนเพียงใด   ลูกจะต้องหวั่นเกรง  หลีกห่างจากกาเมสุมิจฉาจาร  ขอให้เว้นขาด  และท่ีควรจะถือเคร่งจริงๆ  ก็คือภรรยาของผู้อื่น  ขืน  ประพฤตลิ ว่ ง จะมโี ทษทง้ั ในปจั จบุ นั และอนาคตทงั้ ชาตนิ แ้ี ละชาตหิ นา้ ” “ถา้ ใครเผลอท�ำไปแลว้ ละ่ ครบั พ่อ จะทำ� อยา่ งไร ?” “เมอ่ื รสู้ กึ ตวั กร็ บี งดเวน้ เสยี โดยเรว็ และอยา่ ทำ� อกี พยายามสรา้ ง 

ต อ น  ีท่ ๑ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 160 แตบ่ ุญกศุ ล” พอ่ ตอบ “บญุ นน้ั จะมาชว่ ยลบลา้ งบาปกาเมสุมจิ ฉาจารได้หรอื พอ่ ” “เราไมพ่ ดู วา่ ลบลา้ งดอกลกู ” พอ่ ตอบ “แตเ่ ราพดู วา่ ละลาย ถา้   ทำ� ความดมี ากเขา้  บาปเลก็ นอ้ ยซงึ่ อยใู่ นกองบญุ เปน็ อนั มากกจ็ ะเจอื จาง  ลง  เปรยี บเหมอื นเกลอื กบั นำ�้  เมอื่ นำ้� มากขนึ้ โดยไมเ่ พม่ิ เกลอื  รสเคม็   ก็เจือจางลงไปทุกทีจนไม่มีรสเค็มเลย  ท้ังที่เกลือก็ไม่ได้หายไปไหน  แตแ่ ปรสภาพเปน็  อพั โพหารกิ  คอื เหมอื นไมม่  ี  ทำ� นองเดยี วกบั น�้ำใน  ก้อนดินแห้งแขง็  ทเ่ี ราร้วู ่ามนี �ำ้ กเ็ พราะเมื่อเผาไฟจะมคี วนั ขนึ้ มา ไฟที่  รอ้ นจดั ไมม่ คี วามชน้ื อยเู่ ลยยอ่ มไมม่ คี วนั   ลกู คงเคยเหน็ แมข่ องลกู รดี ผา้   ตรงไหนผา้ ชน้ื มาก เมื่อวางเตารีดลงไปจะมีควนั ข้นึ มา” “เรอ่ื งการเอาบญุ ละลายบาปน ้ี พระพทุ ธเจา้ เคยตรสั ไวห้ รอื ไม ่ ?”  ผมถาม “มพี ระพทุ ธภาษติ ยนื ยนั ” พอ่ ตอบ “พระพทุ ธเจา้ ตรสั ไวป้ รากฏ  ใน โลณกสตู ร ตกิ นบิ าต องั คตุ ตรนกิ าย พระไตรปฎิ กเลม่  ๒๐ หนา้   ๓๒๑  ท�ำนองวา่ “ผทู้ ำ� กรรมเทา่ กนั แตร่ บั ผลไมเ่ ทา่ กนั  คอื บางคนตกนรก บางคน  ไม่ตก  ผู้ที่ต้องตก  เพราะไม่ได้อบรมกายด้วยดี  ไม่มีศีล  ไม่ได้อบรม  จิตและปัญญา  เป็นผู้มีคุณน้อย  บุคคลอย่างน้ีท�ำกรรมเพียงเล็กน้อย  ก็ตกนรกได้ เปรียบเหมือนนำ� เกลือก�ำมือหน่ึงไปใส่ขันน้�ำเล็กๆ เกลือ  ยอ่ มมรี สเคม็ มาก “แต่คนบางคนท�ำกรรมอย่างเดียวกัน  แต่เน่ืองจากเป็นผู้อบรม  กายด้วยดี  มีศีลธรรม  อบรมจิต  อบรมปัญญา  มีคุณมาก  ได้รับผล  กรรมทนั ตาเหน็  แตไ่ มต่ กนรก เปรยี บเหมอื นน�ำเกลอื กำ� มอื หนงึ่ ใสล่ ง  ไปในแม่น้�ำคงคา  รสเค็มหาปรากฏไม่  เพราะแม่น้�ำนั้นเป็นห้วงน�้ำ ใหญ”่

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 161 “มบี างคนื  พอ่ เคยนอนรอ้ งไห”้  พอ่ พดู ตอ่ ไป “เพราะหวนระลกึ   ถงึ กรรมบางอยา่ งซง่ึ พอ่ ไมค่ วรทำ� เลย แตพ่ อ่ ไดท้ ำ� ไปแลว้  พอ่ ประหลาดใจ  วา่  พอ่ ทำ� ไปไดอ้ ยา่ งไร มาบดั นพี้ อ่ หวาดเสยี ว สะดงุ้ กลวั  จนบางครงั้   สะทา้ นไปหมดทง้ั กายและใจ รสู้ กึ ละอายใจตนเองจนบอกไมถ่ กู  อารมณ์  สลดหดห ู่ เปรยี บไปกค็ ลา้ ยคนทเ่ี คยนอนในทอ่ี นั เกรอะกรงั ไปดว้ ยเรอื ด  และยงุ  เกลอ่ื นกลน่ ไปดว้ ยสงิ่ ปฏกิ ลู  มกี ลนิ่ เหมน็ และสาบ ในกาลตอ่ มา  ได้มาอยู่ในคฤหาสน์อันโอ่อ่า  มีที่นั่งที่นอนอันอ่อนนุ่มปราศจากเรือด  และยุง  เป็นที่ตั้งแห่งความรื่นรมย์  มีกล่ินหอมจากดอกไม้พันธุ์ต่างๆ  อยเู่ สมอ ไมม่ ฝี นุ่ ละอองแมเ้ พยี งเลก็ นอ้ ย เมอื่ หวนระลกึ ถงึ ทน่ี ง่ั ทน่ี อน  อนั ตนเคยอาศยั มาแตก่ อ่ น ยอ่ มรสู้ กึ แขยงรงั เกยี จ ไปนอนอกี ไมไ่ ด ้ ฉนั ใด  ก็ฉันนัน้ “อีกอุปมาหนึ่ง  เหมือนบุรุษหรือสตรีท่ีจมอยู่ในหลุมคูถ  พอใจ  ในคถู จะเพราะเหตใุ ดกต็ าม ในกาลตอ่ มา เขาขนึ้ จากหลมุ คถู แลว้  ประดบั   ตกแต่งกายด้วยดอกไม้หอมนานาชนิด  รู้ข้อแตกต่างระหว่างหลุม  คถู กบั ของหอมแลว้  เมอื่ หวนระลกึ ถงึ สมยั ทต่ี นจมอยใู่ นหลมุ คถู นนั้  ยอ่ ม  แขยงและรังเกยี จ ไม่ปรารถนาหวนกลับไปอกี  ฉนั ใด “คนทเี่ คยคลกุ คลกี บั บาปบางอยา่ งมาแลว้  เมอื่ เหน็ โทษของบาป  นน้ั  เลกิ ละบาปนน้ั ไดแ้ ลว้  มดี วงจติ ผอ้ งแผว่ ประณตี  ภมู จิ ติ อยใู่ นระดบั   สงู แล้ว ยอ่ มสะอิดสะเอยี นต่อบาปกรรมอันตนเคยท�ำมา ฉนั นัน้ “ธรรมท่ีจะป้องกันบาปก็คือ หิริ โอตตัปปะ และ สติ นั่นเอง  สติมีมากไว้ไม่เป็นไร  หากสติสมบูรณ์  บาปจะไม่มีทางเข้าได้เลย  พระพทุ ธเจา้ ตรัสว่า สติ เตสํ นิวารณํ สติเปน็ ท�ำนบ เคร่ืองกน้ั บาป” “การที่ทรมานใจก็เพราะเราไปนึกถึงมันเข้า”  ผมพูด  “เมื่อรู้  อย่างนี้ เราไมน่ ึกถงึ มันเสียก็หมดเรอ่ื ง” “ยากมากลูก”  พ่ออธิบาย  “ลักษณะของจิตประการหน่ึงคือ 

ต อ น  ีท่ ๑ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 162 ทุนฺ  นิวารยํ  =  ห้ามยาก  บังคับยาก  ว่าจงตรึกอย่างนี้เถิด  อย่าตรึก  อย่างน้ันเลย  มันมักจะคิดในส่ิงอันเราไม่อยากให้คิด  มันมักไปในท่ ี อนั เราไมอ่ ยากให้ไป ใครบังคับจิตใจของตนได้ คนนั้นก็เป็นมหาบุรุษ  แบบเดียวกบั พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ผ้ปู ระเสรฐิ “ยง่ิ เกย่ี วกบั บาปดว้ ยแลว้  ยงิ่ เหมอื นมแี รงอะไรบางอยา่ ง คอย  กระตุน้ ใหร้ ะลึกถงึ อยเู่ สมอ” “ผมว่าเร่ืองท�ำนองน้ีจะเป็นแก่คนที่มีใจบริสุทธิ์สะอาดมากกว่า  คนธรรมดาทีม่ ใี จโสมมอยูเ่ ป็นปกติแลว้  กค็ งไม่คิดมาก” “ถกู ของลกู เหมอื นกนั ” พอ่ รบั  “เปรยี บเหมอื นคนทใี่ สเ่ สอ้ื เปอ้ื น  โคลนอยแู่ ลว้  ยอ่ มไมก่ ลวั โคลน โคลนกระเดน็ มาถกู กร็ สู้ กึ เฉยๆ สว่ น  คนทใ่ี สเ่ สอื้ สะอาดหมดจด จะวติ กทกุ ขร์ อ้ นมากเมอื่ มสี ง่ิ ปฏกิ ลู กระเดน็ มากระทบให้เส้ือแปดเปื้อน  แต่คนที่ยังเดินอยู่บนถนนแห่งชีวิตของ  ชาวโลกน้ีเป็นการยากเหลือเกินท่ีจะให้ชีวิตบริสุทธิ์ ไม่เคยทำ� อะไรอัน  เป็นเหตใุ หเ้ สยี ใจภายหลังเลย “เมอื่ ความวติ กกงั วล เรอ่ื งบาปเกดิ ขน้ึ จะทำ� ใจอยา่ งไรครบั พอ่  ?”  ผมถาม “ควรพจิ ารณาใหเ้ หน็ โทษของบาป แลว้ ตง้ั ใจวา่ จะไมท่ ำ� อกี  ประการ  หนง่ึ , อกี ประการหนง่ึ  ควรคดิ โดยแยบคายวา่  ถงึ จะวติ กกงั วลไปเพยี งใด  ความผดิ ทที่ ำ� ไปแลว้ เมอ่ื  ๕ ป ี ๑ ปกี อ่ นกห็ าไดก้ ลายเปน็ ความถกู ไดไ้ ม ่ แม้ท่ีท�ำไปแล้วเมื่อวานน่ีเองก็เหมือนกัน  เหมือนนักเรียนที่ส่งข้อสอบ  ไปแลว้ จะกลบั มาวติ กกงั วลเพยี งใด ความวติ กนนั้ กไ็ มอ่ าจทำ� ใหค้ ำ� ตอบ  ของตนเปลย่ี นแปลงได ้ ทางทค่ี วรปฏบิ ตั คิ อื  ถอื ความผดิ นน้ั เปน็ บทเรยี น  เพอ่ื ไมท่ ำ� ผดิ ซำ�้ อกี  แลว้ พยายามทำ� แตค่ วามด ี ทำ� ตนใหม้ ปี ระโยชนแ์ กต่ น  ครอบครวั  สงั คมและประเทศชาต ิ เรอื่ งของชวี ติ  ตอ้ งมที งั้ ผดิ และชอบ  ขอใหเ้ ราพยายามใหม้ คี วามผดิ น้อยท่สี ดุ เทา่ นน้ั ”

๒๐ต อ น ที่ ในท่ีสุดเร่ืองที่ผมอยากรู้หนักหนา  ตามท่ีบอกท่านไว้แล้วแต่ต้น  คือ  หอ้ งสว่ นตวั ของพอ่  กเ็ ปดิ เผยออกมาโดยบงั เอญิ  คอื วนั หนงึ่ ขณะทพี่ อ่   ไม่อยู่บ้านเกิดไฟช๊อตไหม้ข้ึนในห้องน้ัน  ควันบางๆ  ลอดออกมาทางรู  เล็กๆ  ส�ำหรับระบายอากาศและรับแสงสว่าง  แม่คงมีกุญแจอีกดอก  หนง่ึ ตา่ งหาก จงึ รบี ไขกญุ แจเขา้ ไป และใชน้ �ำยาเคมดี บั ไดท้ นั  ขณะท่ี  ไฟกำ� ลงั จะไหมเ้ พดาน แมบ่ อกวา่ ถา้ ไฟไหมห้ อ้ งนกี้ เ็ หมอื นไหมห้ วั ใจพอ่ ผมประหลาดใจในความซอ่ื สตั ยข์ องแม ่ ผมไมเ่ คยนกึ เลยวา่  แม่  จะมกี ญุ แจหอ้ งนอ้ี ย ู่ เพราะไมเ่ คยเหน็ แมไ่ ขกญุ แจเขา้ ไปในหอ้ งนน้ั เลย  ผมถามแม ่ แมบ่ อกวา่  พอ่ สงั่ ไวไ้ มใ่ หเ้ ขา้ ไปยงุ่  นอกจากกรณจี ำ� เปน็ ทสี่ ดุ  

ต อ น  ีท่ ๒ ๐ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 164 เท่านั้น  คราวน้ีเกิดไฟไหม้  แม่ต้องถือเป็นความจ�ำเป็นข้ันสุดยอด  จึง  ต้องเข้าไป แมจ่ งรกั ภกั ดแี ละเชือ่ ฟงั พอ่ ถึงขนาดน้ี เมื่อผมได้ใช้เวลาเพียงเล็กน้อยสำ� รวจดูห้องนั้นแล้ว ผมก็หมด  ความประหลาดใจวา่  ทำ� ไมแมจ่ งึ เคารพเลอ่ื มใสพอ่  ไมเ่ คยโตเ้ ถยี ง มี  แตเ่ ชอื่ ฟงั และปฏบิ ตั ติ าม เมอ่ื สงสยั ลงั เลกเ็ พยี งแตแ่ สดงออกทางดวงตา  เมื่อพ่อย�้ำอีกครั้งหน่ึง  แม่ก็ปฏิบัติตามทันที  ถ้าผมจะหาภรรยาต่อไป  ภายหน้า  ผมจะพยายามหาให้ได้อย่างพ่อ  ถ้าหาเองไม่ได้ก็ต้องให้พ่อ  หาให้ ห้องนั้นยาวประมาณ  ๗  เมตรครึ่ง  กว้าง  ๓  เมตรครึ่ง  สูง  ประมาณ ๔ เมตร รอบหอ้ งมตี หู้ นงั สอื เรยี งรายทงั้  ๔ ดา้ น เวน้ ประตู  ทางเขา้ เทา่ นนั้  ตเู้ หลา่ นนั้ มหี ลายชนั้  บรรจหุ นงั สอื ไดจ้ �ำนวนมาก มที ง้ั   ภาษาไทย  บาลี  อังกฤษ  และฝร่ังเศส  ต�ำราภาษาบาลีนั้นมีอยู่เป็น  อนั มาก ทงั้ พระไตรปฎิ ก อรรถกถา และคมั ภรี อ์ น่ื ๆ อนั เปน็ ต�ำราทาง  พระพทุ ธศาสนา พ่อเข้าไปหมกตวั อยใู่ นห้องน้ีนานๆ เสมอ เพราะส่ิง  เหล่าน้ีดูดเข้าไป  สักครู่หนึ่งเม่ือแน่ใจว่าไม่มีไฟหลงเหลืออยู่อีก  แม่ก็  ชวนผมออกจากหอ้ งและใสก่ ุญแจไว้อยา่ งเดมิ ไม่นานนักพ่อก็กลับมา  แม่เล่าให้ฟัง  ผมคาดผิด  คิดว่าพ่อจะ  แสดงกิริยาตกใจ  หรือต่ืนเต้น  หรือเกร้ียวกราด  เปล่า,  เปล่าทั้งนั้น,  พอ่ หนา้ เฉยเรยี บ ไขกญุ แจไปในหอ้ งนนั้  แมต่ ามเขา้ ไปดว้ ย สกั ครหู่ นง่ึ   จึงเรียกผมเข้าไป  บอกให้ไปตามช่างไฟที่เคยมาท�ำไฟประจ�ำบ้านเรา  พอ่ ใหเ้ ดนิ สายไฟใหมห่ มด และกอ็ นญุ าตใหผ้ มอยใู่ นหอ้ งนน้ั ไดต้ อ่ ไปอกี ในหอ้ งหนงั สอื ของพอ่  หนงั สอื ทม่ี มี ากทสี่ ดุ คอื ตำ� ราทางศาสนา  โดยเฉพาะพทุ ธศาสนา นอกจากนนั้ มปี ระเภทปรชั ญา จติ วทิ ยา สงั คม  วทิ ยา ตรรกวทิ ยา ประวตั ศิ าสตร ์ และอนื่ ๆ อกี  ทงั้ ภาษาไทยและภาษา  อังกฤษ  ตู้แต่ละตู้สูงสุดมือเอื้อมของผม  แต่ละช้ันบรรจุหนังสือเต็ม 



ต อ น  ีท่ ๒ ๐ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 166 ไปหมด ท่ีผมเคยเข้าใจมาก่อนว่า  พ่ออาจอาศัยห้องนั้นเป็นที่พักผ่อน  นอนหลบั นนั้ ผดิ เสยี แลว้  ทแี่ ทเ้ ปน็ หอ้ งคน้ ควา้ ของทา่ นโดยตรง แตพ่ อ่   ไมข่ คี้ ยุ เหมอื นผม ผมจงึ ไมร่  ู้  พอ่ ผมมคี วามรดู้ ที งั้ วชิ าการโบราณและ  วชิ าการสมยั ใหม ่ เมอื่ ทา่ นรวู้ า่ ผมไดเ้ ขา้ มาเหน็ หอ้ งสว่ นตวั ของทา่ นอยา่ งไร  แลว้  พอ่ จงึ ยอมเปดิ เผยความรตู้ า่ งๆ ทที่ า่ นม ี คราวนผ้ี มรสู้ กึ ละอายพอ่   ทเ่ี คยนกึ ดหู มน่ิ ทา่ นในเรอ่ื งความร ู้ เพราะความเปน็ จรงิ แลว้ ความรทู้ ผี่ ม  เรยี นมาในมหาวทิ ยาลยั เปน็ เวลา ๔ ปนี น้ั  สกั กระผกึ หนงึ่ ของพอ่ กไ็ มไ่ ด้  ผมเกดิ ความนยิ มยกยอ่ งและเคารพนบั ถอื พอ่ เพมิ่ พนู ขน้ึ อยา่ งประหลาด  ยง่ิ พจิ ารณาถงึ ความประพฤตชิ อบ และนำ้� ใจอนั ประเสรฐิ ของพอ่ เขา้ อกี   ผมคดิ วา่ มเี ดก็ ไทยนอ้ ยคนนกั ทจ่ี ะโชคดอี ยา่ งผม มพี อ่ ประเสรฐิ ทง้ั ความร ู้ และความประพฤตเิ ชน่ น ี้ อยา่ งนน้ี เี่ ลา่ แมผ่ มจงึ เคารพรกั พอ่  ไมเ่ คยลว่ ง  เกินหรอื แสดงกิริยาอนั ไม่เหมาะสมใดๆ เลย ตลอดเวลาที่ผมเหน็ มา เมอื่ ผมถาม ขณะทเ่ี ดนิ ชมต�ำราพอ่ วา่  พอ่ เรยี นรสู้ งิ่ เหลา่ นม้ี าได้  อยา่ งไร พอ่ ตอบวา่  เรยี นรจู้ ากครอู าจารยบ์ า้ ง จากการคน้ ควา้ สว่ นตวั   โดยไม่หยุดย้ังบ้าง  เมื่อนานปีเข้าก็พอกพูนขึ้นตามล�ำดับ  มีเคล็ดลับ  สำ� คญั อยปู่ ระการเดยี วคอื อยา่ หยดุ  เหมอื นคนสะสมเงนิ  เดอื นละเลก็   เดือนละน้อย  นานปีเข้าก็มากพอที่จะท�ำอะไรใหญ่ๆ  ได้  หรือเหมือน  หยดนำ�้ ตาลของตน้ ตาล มนั หยดไมห่ ยดุ  แมท้ ลี ะหยด แตพ่ อวนั หนงึ่ กไ็ ด ้ หน่ึงกระบอก  คืนหนึ่งได้อีกหนึ่งกระบอก  ปีหน่ึงได้  ๗๓๐  กระบอก  ๑๐ ปกี ไ็ ด ้ ๗๓,๐๐๐ กระบอก ๒๐ ปกี ไ็ ด ้ ๑๔,๖๐๐ กระบอก สมมตใิ ห้  อยา่ งตำ�่ สดุ  ๑ กระบอก = ๑ ลติ ร น�้ำ ๑๔,๖๐๐ ลติ ร ลองคิดดูว่า  มากเพียงไร  จากการหยดทีละหยด  เร่ืองการเก็บเงินก็เหมือนกัน  ส�ำหรับชาวบ้านจะเก็บได้มากหรือน้อยก็ช่างเถิด  แต่ขอให้เก็บไว้  ถ้า  อยู่ในฐานะท่ีพอจะเก็บได้ สมมติว่าคนมีรายได้เดือนละพันบาท 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 167 พยายามเก็บออมไว้โดยตัดรายจ่ายฟุ่มเฟือยออกเสีย  เก็บเดือนละ  ๑๐๐ บาท (หนง่ึ รอ้ ยบาท) หนง่ึ ปไี ด ้ ๑,๒๐๐ บาท ๑๐ ปไี ด ้ ๑๒,๐๐๐  บาท  ๒๐  ปีได้  ๒๔,๐๐๐  บาท  ถ้าผัวเมียช่วยกันเก็บคนละร้อย  ก็จะ  ได ้ ๔๘,๐๐๐ บาท หากเหน็ วา่ เงนิ จ�ำนวนนน้ี อ้ ยไปกล็ องเปน็ หนเี้ ขาสกั   ๔๘,๐๐๐ ด ู สำ� หรบั คนมรี ายไดเ้ ดอื นละพนั บาท  ความจรงิ ระยะเวลา  ๒๐  ปี  จะต้องมีรายได้เพ่ิมข้ึน  รายเก็บก็ต้องเพิ่มข้ึนตามก็จะได ้ ยอดเงินมากกว่าน้ี ทส่ี ว่ นมากทำ� กนั ไมไ่ ดก้ เ็ พราะไมม่ คี วามอดทนพอ เหน็ เปน็ เรอ่ื ง  เลก็ นอ้ ย เลยนกึ ดหู มนิ่ เสยี  อยา่ นกึ วา่ เงนิ ทองไมม่ คี วามหมาย เลก็ นอ้ ย  เทา่ ไรกม็ คี วามหมายเทา่ นน้ั  สลงึ หนง่ึ ซอ้ื นำ�้ แขง็ เปลา่ กนิ ได ้ ๕๐ สตางค์  ซ้ือขนมกินแก้หิวได้  ๑  ห่อ  หรือมิฉะน้ันใช้ขึ้นรถเมล์จากวัดโพธิ์ไป  พระโขนงได้  เพื่อไปรับเงินแสนท่ีน่ัน  ถ้าไม่เช่ือลองเดินจากวัดโพธิ์ไป  พระโขนงด ู จะเหน็ คา่ ของเงนิ  ๕๐ สตางคว์ า่ ชว่ ยบรรเทาความเหนอ่ื ย  ของเราเพียงใด คนเรา ถา้ ทำ� งานทำ� การอยถู่ งึ  ๒๐ ปยี งั ตงั้ ตวั ไมไ่ ด ้ กห็ วงั ยาก  ทจ่ี ะตัง้ ตัวได้ คงตายไปท้ังๆ ทย่ี งั ตัง้ ตัวไม่ตดิ นั่นเอง เรอ่ื งการทำ� อะไรๆ อนื่ กอ็ ยใู่ นหลกั เดยี วกนั น ้ี คอื รจู้ กั เรม่ิ ตน้  แลว้   ทำ� ไมห่ ยดุ  ไมถ่ อยหลงั  ทางพระทา่ นเรยี กวา่ ม ี อารมั ภธาต ุ (รจู้ กั เรม่ิ ตน้ )  นิกกมธาตุ (ก้าวไปข้างหน้า) ปรักกมธาตุ  (พยายามบากบ่ันมั่นคง  ไมห่ ยดุ  ไมถ่ อยหลงั ) พอ่ หนั มาพดู เรอ่ื งการศกึ ษาหาความรใู้ หมว่ า่  การศกึ ษา การหา  ทรัพย์  การตั้งเน้ือต้ังตัว  ต้องค่อยท�ำค่อยไป  แต่ขอให้ท�ำ  ท�ำอย่างม ี รากฐาน ในการศกึ ษาความร ู้ มนั ตอ้ งสะสมความร ู้ เกบ็ เลก็ เกบ็ นอ้ ย อา่ น  มาก เรยี นมาก คน้ ควา้ มาก (สตุ ธโร สตุ สนั นจิ โย) พยายามจำ� ขอ้ ความ 

ต อ น  ีท่ ๒ ๐ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 168 ใหไ้ ด ้ (ธตา) คนท่ีจ�ำอะไรไม่ได้เลยหรือได้น้อยเกินไปก็ไม่คุ้มค่าเวลา  ท่ีเสียไป  เป็นเหมือนคนที่เงินผ่านมือมากแต่เก็บไว้ไม่ได้เลย  เหน่ือย  เปล่า  สมเด็จพระมหาวีรวงศ์  (ติสสเถระ)  วัดบรมนิวาส  กล่าวสอน  ศษิ ยเ์ สมอวา่  รายไดไ้ มส่ ำ� คญั เทา่ รายเหลอื   เมอื่ จำ� ไดแ้ ลว้  ตอ้ งวา่ ได้  คลอ่ งดว้ ย (วจสา ปรจิ ติ า) เมอ่ื ตอ้ งการใชก้ ใ็ ชไ้ ดท้ นั ท ี เหมอื นคนมเี งนิ   อยู่ในมือหรือในกระเป๋าตัวเอง ไม่ใช่มีอยู่แต่ในบัญชี  ตัวเงินอยู่ใน  มือคนอื่นท้ังน้ัน อย่างนี้ใช้ไม่ได้  ท่านจึงว่า  มีความรู้อยู่ในต�ำรา  ๑  มีภรรยาอยู่ท่ีไกล ๑  มีทรัพย์อยู่ในมือผู้อื่น  ๑ ถึงคราวจ�ำเป็นต้อง  ใช ้ สิ่งเหล่านีก้ ็ไรป้ ระโยชน ์ มเี หมอื นไม่มี จ�ำได้  ว่าคล่องปากแล้ว  ก็ไม่ใช่ว่าอย่างนกแก้วนกขุนทอง  ไมร่ ู้เร่อื งและความหมายอนั แท้จรงิ  ตอ้ งหมั่นเพง่ พินิจพิจารณาด้วยใจ  (มนสานเุ ปกขิตา) จนแทงทะลุปรุโปร่ง ไม่ติดขัด (ทิฏิยา สุปฺปฏิ- วทิ ฺธา) พ่อบอกว่า  ทั้ง  ๕  ประการนี้เป็นลักษณะของผู้เป็นพหูสูต  คือ  ผคู้ งแกเ่ รยี น learned man ในคำ� ฝรง่ั   มาถงึ ตอนนพี้ อ่ ใชภ้ าษาองั กฤษ  บ้างเหมือนกนั  เมื่อเหน็ สมควร ทา่ นยอ่ มทราบวา่ เดก็ วยั หนมุ่ วยั สาวโดยทวั่ ไปนนั้  ยอ่ มพอใจเคารพ  นับถือผู้มีความรู้เหนือตน  เขาเป็นผู้ข้องอยู่ในความรู้  แม้จะฟังอะไรก ็ ตอ้ งการไดค้ วามรอู้ นั กวา้ งขวางแปลกและใหม ่ มากกวา่ ฟงั เพอื่ จะนำ� มา  ใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำ� วนั   ชวี ติ ของเขากองอยเู่ บอ้ื งหนา้ เปน็ อนั มาก  ผิดกับคนแก่ซ่ึงชีวิตอยู่เบ้ืองหลังเสียหมดแล้ว  ข้อพิสูจน์ในเร่ืองนี้ท่าน  ลองดูเองก็ได้  คือถ้าท่านนั่งคุยกับคนหนุ่มคนสาว  ท่านจะได้ยินได้ฟัง  แตเ่ รอื่ งอนาคต การศกึ ษาของเขาในอนาคต แผนชวี ติ ในอนาคต และ  อะไรอื่นอีกในอนาคต   แต่ถ้าท่านคุยกับคนชรา  เราจะได้ฟังแต่เรื่อง  อดีตที่ท่านผู้นั้นเคยผ่านมาอย่างไร  ท้ังน้ีเพราะข้างหน้าของท่านไม่มี 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 169 อะไรแลว้  มีแตค่ วามหลงั ผมจงึ ภาคภมู ใิ จในตวั พอ่ เปน็ อยา่ งมาก เพราะเหตหุ ลายประการ  ต้ังต้นหาความรู้  ความดีงาม  ความเป็นตัวอย่างท่ีดี   แต่เม่ือผมเป็น  ผู้ใหญ่มากแล้ว  ผมจึงประจักษ์ว่าขึ้นชื่อว่าพ่อแม่แล้ว  จะเป็นคน  มีความรู้หรือไมม่  ี จะมฐี านะตำ�่ หรอื สงู อยา่ งไร ลกู กค็ วรเคารพสกั การะ  อยนู่ นั่ เอง เพราะเหตไุ ร ? เพราะนำ�้ ใจอนั เปย่ี มดว้ ยเมตตาและเสยี สละ  ทที่ า่ นมตี อ่ ลกู นนั้  สงู สง่  ละเอยี ดออ่ น บรสิ ทุ ธ ์ิ เหนอื คำ� พดู จะบรรยาย  ได ้ ความรักลูกของคนเรานน้ั  เปน็ ความรักที่แปลกประหลาด  ผมรคู้ วามจรงิ เรอื่ งน ี้ เมอื่ ผมมลี กู แลว้  บดั นลี้ กู ผมม ี “ปเู่ ปน็ มหา”  แลว้  ค�ำท่ีผมทอ่ งมาเป็นเวลานานตงั้ แต่ยังอยู่ช้นั มัธยมวา่ “ยามกินเม่ือลกู รอ้ ง กต็ อ้ งวง่ิ เข้ามาหา ยามนอนหอ่ นเต็มตา เม่อื ลูกรอ้ งกต็ อ้ งด”ู นน้ั เปน็ ความจรงิ ทป่ี ระจกั ษแ์ กต่ วั ผมเองหลายปมี าแลว้  อยา่ วา่ แต ่ เมอื่ ลกู รอ้ งเลย แมล้ กู ไมร่ อ้ งกต็ อ้ งด ู เปน็ หว่ งลกู มากกวา่ เปน็ หว่ งตวั เอง  เม่ือลูกยังเล็กย่อมแสดงความต้องการและความขัดข้องโดยทางเดียว  คอื  “การรอ้ งไห”้  เมอื่ ไมส่ ามารถรคู้ วามประสงคข์ องลกู ซงึ่ รอ้ งไหไ้ มห่ ยดุ   อยู่  แม่ก็พลอยร้องไห้ไปกับลูกด้วย  ลองถามผู้เป็นมารดาท่ีเล้ียงลูก  ดเู ถดิ ใครว่าพ่อแม่ไม่มีบุญคุณ  ผมเป็นเถียงเอาหัวชนฝาเลย  บัดนี้  (เมื่อผมเป็นผู้ใหญ่แล้ว)  ผมเห็นพ่อแม่เป็นเทพเจ้าอันศักดิ์สิทธ์ิ  ซึ่ง  ใครล่วงละเมิดจะต้องฉิบหาย  ใครปฏิบัติดีต่อท่านจะต้องพบแต่  สริ ิมงคล



๒๑ต อ น ท่ี ขอย้อนกลับไปเล่าเรื่องพ่อผมตอนท่ีผมยังเป็นหนุ่มอีก  เพราะยังมี  เรื่องมากอยู่  ความเป็นหนุ่มกับความเป็นสาวนั้นเป็นของคู่กัน  เพราะ  ผชู้ ายคู่กับผูห้ ญิงต่างกป็ รารถนาซ่ึงกนั และกัน ดังท่ีสุนทรภู่กล่าววา่ “หญิงกับชาย  ควายกับหญ้า  วิฬาร์  (แมว)  กับหนู  เขียดกับงู เปน็ ของตอ้ งประสงค์” ดงั นน้ั  เมอ่ื ผมเรยี นส�ำเรจ็ เปน็ บณั ฑติ จากมหาวทิ ยาลยั แลว้  ผม  กม็ ีคูร่ กั  สมยั นเี้ รยี กกนั วา่  แฟน ค�ำว่าแฟนนั้น  พ่อผมอธิบายว่า  มาจากค�ำว่า  fanatic  ซึ่งโดย  ทว่ั ไปเขา้ ใจกนั วา่  ‘คลง่ั ในสง่ิ ใดสิ่งหนึง่ ’ จนไร้เหตุผลไป ตวั อยา่ งเช่น 

ต อ น  ีท่ ๒ ๑ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 172 คนคล่ังศาสนา  หรือลัทธิพิธีบางอย่างจนไม่ค�ำนึงถึงเหตุผลท่ีถูกที่ควร  นอกจากน้ี  fanatic  หมายถึงความเคยชินบางอย่างจนติดเป็นนิสัย  เชน่  คนชอบนอนเปิดหน้าตา่ งเสมอ แม้หนาวเท่าไรกต็ ้องเปิด ปดิ เขา้   ก็ร้สู กึ อดึ อัด นอนไม่หลบั เพลาลงมากว่านั้นอีก  คนที่ชอบดูหนังสือก็เรียกว่า  film  fan  คนชอบดูฟุตบอลกเ็ รียก football fan เทา่ นน้ั เอง แฟนที่ใช้กันในภาษาไทยโดยทั่วไปน้ัน  ตรงตามความหมายใน  ประการหลังนี้เท่านั้น  คือมีความหมายเพียงว่า  ชอบพอ  นิยม  หรือ  เลอ่ื มใส แตถ่ า้ เลอ่ื มใสพระรปู ใดรปู หนง่ึ แลว้ บอกวา่ เปน็  แฟนพระ อยา่ งน ี้ มากเกนิ ไป เดย๋ี วนดี้ เู หมอื นจะพดู กนั บา้ งแลว้  พอ่ บอกวา่ ไมค่ อ่ ยเหมาะ มาถงึ ระยะนผ้ี มสบายมาก เพราะพ่อยอมพูดเรอ่ื งวชิ าการสมัย  ใหม ่ ผมขดั ข้องอะไรกไ็ ปถามพอ่  พอ่ ตอบไดเ้ สมอ ผมภมู ิใจในตัวพ่อ  มาก เกย่ี วกบั เรอื่ งบณั ฑติ ทผ่ี มไดร้ บั มา ซง่ึ มกี ระดาษแผน่ เลก็ ๆ เปน็   เคร่ืองรับรองน้ัน  ผมภูมิใจมากตามประสาคนหนุ่มที่ส�ำเร็จการศึกษา  ใหมๆ่  แตพ่ อ่ บอกวา่ อยา่ เอาแผน่ กระดาษนไ้ี ปดถู กู ใคร และอยา่ หาโอกาส  ทำ� ชวั่  ‘บณั ฑติ กระดาษ‘ กบั  ‘บณั ฑติ จรงิ ๆ‘ นนั้ ผดิ กนั  บณั ฑติ กระดาษ  ใครมเี งิน มีมันสมองพอสมควรก็พอซื้อพอเรียนเอาได้ และส่วนมาก  ก็ไม่ได้ท�ำอะไร  ให้สมคุณค่าแห่งปริญญาที่ได้รับมา  สักแต่ว่าเอามา ประกอบอาชีพ สว่ นบณั ฑติ ตวั จรงิ นนั้ อยทู่ ตี่ วั ตน คอื ตอ้ งเปน็ ผเู้ วน้ ชว่ั  ประพฤตดิ ี  และมคี วามตั้งใจจริงในการบำ� เพ็ญประโยชน์แก่สงั คมท่ตี นอาศยั อนึ่ง  ถ้าจะให้ได้รับปริญญาทางพระพุทธศาสนาจริงๆ  ก็ต้อง  ราคกั ขโย โทสกั ขโย โมหกั ขโย คอื  ความสน้ิ ราคะ โทสะ และโมหะ  นี่เป็นพระพุทธพจน์ซึ่งปรากฏในสังยุตตนิกาย  ส่วนหลักสูตรในการ 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 173 ศกึ ษารบั ปรญิ ญาสนิ้ ราคะเปน็ ตน้ นน้ั  คอื  การพจิ ารณาขนั ธห์ า้  ใหเ้ หน็   ไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ขแ์ ละเปน็ อนตั ตา จนรแู้ จง้ แทงตลอด แลว้ ไมย่ ดึ มน่ั ถอื   มน่ั ในขนั ธ์หา้ นั้นอีกต่อไป ขันธ์ห้านั้น  ท่านเรียกว่า  ปริญเญยธรรม  คือ  ธรรมท่ีควรรู ้ เทยี บกบั หลกั สตู รในการศกึ ษา สว่ นความสนิ้ ราคะ โทสะ และโมหะนนั้   เปน็ ปริญญา นคี่ ือทรรศนะเบอื้ งสงู ทางพระพทุ ธศาสนา ต่�ำลงมา  หากท�ำได้แต่เพียงเป็นกัลยาณปุถุชนก็ยังดีกว่าผู้เป็น  พาล พดู เรอ่ื งแฟนผมต่อไป เวลานนั้ ผมอาย ุ ๒๒ ปบี รบิ รู ณ ์ ยา่ งเขา้ ปที  ่ี ๒๓ พอ่ บอกวา่ เรยี น  กส็ ำ� เรจ็ แลว้  จะมแี ฟนมคี รู่ กั กต็ ามใจ แตถ่ า้ ตามใจพอ่  พอ่ อยากใหบ้ วช  เสยี กอ่ นสัก ๑ พรรษาเป็นอย่างน้อยกอ่ นแตง่ งาน “พ่อกลวั ไมไ่ ดบ้ ญุ เตม็ ที่หรอื ครบั  ?” ผมถาม “ทำ� ไมลูกจึงเขา้ ใจเช่นนัน้  ?” พอ่ ยอ้ นถาม “ผมเคยไดย้ นิ ไดฟ้ งั มาวา่  ถา้ แตง่ งานแลว้ บวช บญุ จะตกอยแู่ กเ่ มยี   มากกวา่ พอ่ แม ่ ถา้ ยังโสดอย่ ู บญุ กจ็ ะตกแกพ่ ่อแมท่ ง้ั หมด” “ลกู ไมต่ อ้ งบวชใหพ้ อ่ หรอก” พอ่ วา่  “พอ่ บวชมาพอแลว้  ส�ำหรบั   แม่ก็อีกเหมือนกัน แม่ของลูกเป็นคนดีมีศีลมีธรรมประจำ� ใจ ไม่เคย  ประพฤตชิ ว่ั  ลกู ไมต่ อ้ งบวชโปรด ทพี่ อ่ ตอ้ งการใหล้ กู บวชนนั้  เพอ่ื โปรด  ตวั เอง บวชให้ตัวเอง” “พอ่ ขยายความหน่อยครบั ” “หมายความวา่  การบวชนนั้ เปน็ การเขา้ ไปอบรมกาย วาจา ใจ  ตามธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า  ซ่ึงเป็นส่ิงดี  กาย  วาจา  ใจ  ท่ีได้รับ  การอบรมแลว้ นนั้ จะตดิ ตวั ลกู ไปตลอดชวี ติ  ภาวะแหง่ ผบู้ วชเปน็ การฝกึ   บงั คบั ตวั เอง ไมใ่ หก้ ระทำ� อะไรไดต้ ามใจชอบ อยา่ งนอ้ ยกช็ วั่ ระยะหนงึ่  

ต อ น  ีท่ ๒ ๑ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 174 สิ่งที่เคยบังคับได้มาแล้วแมเ้ ลยเถิดไปบ้างในบางครั้งบางคราว แต่พอ  ตอ้ งการบงั คบั จรงิ ๆ อกี กท็ �ำไดไ้ มย่ าก นอกจากนย้ี งั ไดม้ โี อกาสศกึ ษา  พระธรรมโดยตรง  คืออุทิศเวลาทั้งหมด  ๓  เดือน  หรือ  ๑  ปี  ศึกษา  พระธรรมและระเบียบธรรมเนียมทางศาสนา  คนมีพ้ืนความรู้อยู่แล้ว  อยา่ งลกู จะเขา้ ใจอะไรไดเ้ รว็  ถา้ บวชไดส้ กั  ๑ ปเี ปน็ อยา่ งนอ้ ย กจ็ ะได้  ประโยชนม์ าก คอื บวชมกราคม หรอื พฤษภาคม แลว้ ไปสกึ เอามกราคม  หรือพฤษภาคมอีกปีหนึ่ง ครบขวบปพี อดี ๓ เดือน ร้สู ึกจะนอ้ ยไป” “ผมเคยทราบวา่  บางคน เมอื่ ยงั ไมบ่ วชกเ็ ลอ่ื มใสพระ เลอ่ื มใส  วัดดีอยู่  แต่พอบวชได้  ๓  เดือนสึกออกมาเท่าน้ัน  วัดก็ไม่เข้า  พระก ็ ไม่เล่ือมใส  เลิกท�ำบุญให้ทาน   ผมกลัวว่าผมจะเป็นอย่างนั้นเข้าบ้าง  ไมบ่ วชเสียไม่ดีกวา่ หรอื พ่อ ?” “เราจะไปเปน็ อยา่ งนนั้ ทำ� ไม” พอ่ ตอบ “คนทเ่ี คยบวชแลว้ ศรทั ธา  เลอื่ มใสมากขนึ้ กม็ ถี มเถ ทำ� ไมเราไมเ่ ปน็ ประเภทหลงั น ี้ ? พอ่ เองกเ็ คย  บวชมา ๑๐ กวา่ ป ี กไ็ มเ่ หน็ ถอยศรทั ธา ยงิ่ สกึ ออกมาแลว้ ยงิ่ เลอ่ื มใส  พระมากข้ึน เหน็ ความจำ� เปน็ ของศาสนามากขน้ึ ” “ขอ้ นผี้ มสงสยั ครบั พอ่  คอื ท�ำไมบางคนเมอ่ื ยงั ไมบ่ วชกเ็ ลอ่ื มใส  พระ  ศรัทธาในศาสนา  แต่พอบวชได้  ๓  เดือน สึกออกมาจึงเลิก  นบั ถือพระ ไม่ท�ำบุญใหท้ าน” “เรอ่ื งสว่ นตวั ของเขา” พอ่ ตอบ “อาจเปน็ เพราะไปเหน็ อะไรไมด่ ี  ไมง่ ามบางอย่างทต่ี นไม่นึกวา่ จะได้เห็น ไดฟ้ ังสิง่ ที่ตนนกึ ไมถ่ งึ วา่ จะได ้ ฟงั  รวมความวา่ เขาผดิ หวงั ในการบวช อกหกั ” พอ่ พดู แลว้ หวั เราะ ผม  และแมพ่ ลอยหวั เราะไปดว้ ย “จงึ เบอ่ื หนา่ ยศาสนา เปน็ โชคไมด่ ขี องเขา  ที่ไปบวชในวัดท่ีพระประพฤติไม่ดี  ถ้าเขามีโอกาสได้บวชในวัดที่พระ  มีความประพฤติดีแล้ว  เขาจะเล่ือมใสศาสนาและพระสงฆ์ไปตลอด  ชีวิต”

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 175 “พระประพฤตไิ มด่ ีมีมากเหมือนกันหรือพอ่  ?” “พระก็คนน่ะแหละลูก”  แม่ผมน่ังฟังอยู่นานแล้วเพ่ิงพูดเป็น  คำ� แรก พอ่ หวั เราะเบาๆ ในความเหน็ ของแม ่ “ยอ่ มจะตอ้ งมดี มี ชี ว่ั เปน็   ธรรมดา แตแ่ มว่ า่ ถา้ ผบู้ วชตง้ั ใจประพฤตดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบเปน็ สว่ นตวั  โดย  ไม่ต้องดูผู้อ่ืนที่ประพฤติมิชอบก็น่าจะสมควรกว่า  เพราะไหนๆ  ก็บวช  เขา้ ไปแลว้  จะยอมขาดทนุ และอกหกั ในการบวชทำ� ไมกนั  ธรรมวนิ ยั เปน็   ของกลาง ใครประพฤตชิ อบ ความดกี ต็ กแกผ่ นู้ นั้  ใครประพฤตมิ ชิ อบ  ความเสื่อมก็ตกแก่ผู้นั้นเองเหมือนกัน  คนท่ีเห็นพระประพฤติไม่ดีเป็น  บางรปู  บางวดั  แลว้ เลกิ นบั ถอื พระไปทง้ั หมดนนั้  ไมถ่ กู  เหมอื นแหมม่   ทมี่ าเมอื งไทย ถกู คนไทยคนเดยี ววงิ่ ราวกระเปา๋  แลว้ เหมาดถู กู คนไทย  ทง้ั ชาตวิ า่ เปน็ ขโมย จะถกู หรอื  ?” และจะถกู หรอื ไม ่ หากแหมม่ นน้ั ไป  ขโมยของคนอ่ืนตอ่ เพื่อแก้แค้น ?” พ่อเสริมต่อไปว่า  “อีกประการหนึ่งคนท่ีสึกออกมาแล้วไม่ค่อย  เลอ่ื มใสพระนนั้  อาจเปน็ เพราะเมอื่ ตนบวชอยมู่ ไิ ดเ้ ปน็ พระทดี่  ี เมอ่ื สกึ   แล้วจึงได้น�ำเอาคุณสมบัติของตนสมัยเป็นพระไปเทียบกับคุณธรรม  ของพระอื่นๆ  แล้วสรุปลงในความไม่เลื่อมใส  เพราะการไม่เลื่อมใส  ตนเองกอ่ นเป็นมลู กรณี” ผมชอบใจในค�ำพูดของพ่อและแม่  ผมจึงถามต่อไปว่า  “ถ้าผม  บวชในขณะทีม่ ีแฟนอย่แู ต่ยังไมแ่ ตง่ งาน  แฟนผมจะไปเย่ียมผมในวดั   ได้หรอื ไม่ ?” “ได้เหมือนกัน”  พ่อตอบ  “แต่ไม่ควรบ่อยนัก  เดือนหน่ึงสักหน  หนง่ึ กไ็ มส่ ู้กระไร” “แยเ่ ลยพ่อ เดือนหนึ่งหนหนงึ่ ” ผมอุทาน “เวลานผี้ มพบกนั ทกุ วนั  วนั ละหลายๆ ชว่ั โมง วนั ไหนไมไ่ ดพ้ บก็  งุ่นง่าน ร�ำคาญ เหมอื นชวี ติ ไม่สมบรู ณ์”

ต อ น  ีท่ ๒ ๑ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 176 “พอ่ บอกแลว้ วา่  การบวชเปน็ การหดั บงั คบั จติ ใจตนเอง ถา้ บวช  แลว้ บงั คบั จติ ใจตนเองไมไ่ ด ้ ไปหาแฟนทบี่ า้ นทกุ วนั  หรอื ใหแ้ ฟนมาหา  ที่วัดทุกวันจะบวชท�ำไม  สักแต่ว่าเอาผ้าเหลืองมาคลุม  ให้พอรู้กันว่า  ‘ขา้ บวชแลว้ ’ เทา่ นัน้  ไมไ่ ดป้ ระโยชนเ์ ทา่ ทค่ี วร” “บวชตง้ั ปนี  ่ี ผมเกรงแฟนผมจะเปน็ อนื่  ในชว่ งทผ่ี มบวชอย ู่ หาก  เจา้ หนมุ่ คนไหนแซงเขา้ มา ผมกแ็ ย ่  สงสยั จะตอ้ งสกึ กลางพรรษาเปน็   แน่แท้” “อยา่ วติ กเลย เรอื่ งนน้ั ” แมว่ า่  “ผหู้ ญงิ ทด่ี เี ขาไมเ่ ทยี่ วรกั สำ่� สอ่ น  หรอก  คนไหนก็คนนั้น  คู่รักไปบวชปีเดียวทนไม่ได้รอไม่ได้  ก็ไม่ต้อง  แตง่ งานดว้ ย  ดแี ลว้  คนใจไมแ่ นน่ อนนน้ั รเู้ สยี แตต่ น้ ๆ กด็  ี หากถลำ� เขา้   ไปแลว้  รู้ภายหลังเมือ่ สายจะลำ� บากมาก” “คณุ แมว่ า่  ผหู้ ญงิ สงิ่ ตอ่ ไปนอ้ี ะไรส�ำคญั ทส่ี ดุ  ซง่ึ ควรจะขน้ึ เปน็   เลขหนึ่ง คอื ความสวย ความด ี วิชาความรู้และทรัพย์สมบัติ” “เรื่องอย่างน้ตี อ้ งใหพ้ อ่ เขาตอบ” คุณแมโ่ ยนไปให้คุณพอ่ “พอ่ วา่ อย่างไรครับ ?” พ่อกระแอมคร้ังหนึ่งก่อนตอบว่า  “วันน้ีขอท�ำตัวเป็นขุนลีลา  ศาสตร์สุนทรเสยี ที พ่อวา่   ความดีตอ้ งมาเป็นอนั ดบั หน่ึง” “ผมนกึ แลว้  วา่ พ่อตอ้ งตอบอยา่ งน”้ี  ผมวา่  แมห่ วั เราะชอบใจ “อยา่ เพงิ่ ขดั คอซ”ิ  พอ่ วา่  “ในสามประการหลงั นแี่ หละจดั อนั ดบั   ล�ำบาก”  นอ้ งวรี ดีมาถึง ร่วมวงกับเราด้วย “ลองถามยายวีดซู ิ” แม่วา่ “วีเลือกไม่ถูกค่ะ ดูส�ำคญั พอๆ กนั ทงั้ สามอยา่ ง” “พอ่ วา่  ความดตี อ้ งเปน็ หลกั  อกี  ๓ อยา่ งทเ่ี หลอื แลว้ แตค่ วาม  จำ� เปน็ ของผชู้ าย เชน่  ผชู้ ายรำ่� รวยอยแู่ ลว้ ไดผ้ หู้ ญงิ มคี วามรกู้ ด็  ี คอื ควร 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 177 ถือเอาวิชาความรู้เป็นอันดับสอง  ความสวยเป็นอันดับสาม  ต่อไปก็  สมบัติ  ถ้าผู้ชายมีความรู้ดี  มีเกียรติ  ควรเลือกผู้หญิงที่ร�่ำรวย  สวย  ความรู้พอประมาณ   แต่ว่าก็ว่าเถอะ  ถ้าเลือกได้ตามใจชอบ  ทุกคน  ก็จะเลือกผู้หญิงที่มีคุณสมบัติครบถ้วนทั้ง  ๔  ประการ  ซึ่งหาได้ยาก  ทสี่ ำ� คญั อกี ประการหนง่ึ กค็ อื  ผหู้ ญงิ เขาไมย่ อมใหผ้ ชู้ ายเลอื กฝา่ ยเดยี ว เขาก็เลือกผู้ชายด้วยเหมือนกัน  แม้ผู้ชายเลือกเขาแล้ว  แต่ถ้าเขา  ไม่ยอมให้เลือก  ก็อดเหมือนกัน  เร่ืองอย่างนี้พูดยาก  ผู้ชายทุกคน  อยากได้ผู้หญิงท่ีสาวสวย  รวย  มีความรู้  และมีความดี  การจะได ้ อยา่ งนนั้ หรอื ไมก่ แ็ ลว้ แตว่ าสนาบารมขี องแตล่ ะคน  ผหู้ ญงิ กเ็ หมอื นกนั   ปรารถนามสี ามที รี่ วยทรพั ย ์ มเี กยี รต ิ มยี ศ และเปน็ คนด ี รา่ งสมารท์ ” “พอ่ เคยอา่ นต�ำราเลอื กคขู่ อง อาจารยป์ น่ิ  มทุ กุ นั ต ์ หรอื ไม่ ?”  ผมถาม “เคยอ่านแต่ลมื เสียแล้ว” พอ่ ตอบ “ลูกจ�ำไดห้ รือ ?” “จำ� ไดค้ รบั  ผมสนใจ ทา่ นวา่ การเลอื กผหู้ ญงิ นน้ั ตอ้ งใหไ้ ด ้ ‘รปู สวย รวยทรพั ย ์ นบั วชิ า มรรยาทชาตผิ ดู้  ี มศี ลี ธรรม’ แลว้ ทา่ นอธบิ าย  รายละเอยี ดแตล่ ะขอ้ ของทา่ น” “ดูได้ท่ไี หนคะ ?” น้องวรี ดถี าม “หนงั สอื เรอื นช้นั ในไงล่ะ” ผมตอบ “หาไดย้ าก” พอ่ บอก “แตพ่ อม ี ใครวาสนาด ี ทำ� บญุ มาดจี งึ จะ  ได้อยา่ งนัน้  ขนาดรูปสวย รวยทรัพย ์ เพียงสองอยา่ งก็ยากเสยี แล้ว” เม่อื ทกุ คนนิ่งอยู ่ พ่อจงึ วา่ ต่อไปวา่ “คู่ครองน้ัน ความเขา้ ใจกันสำ� คญั กวา่ อะไรหมด ความสุขของ  ครอบครัวอยู่ทต่ี รงนี”้ “ขอแถมหนอ่ ยหนง่ึ ” คณุ แมว่ า่  “ตอ้ งมเี งนิ ดว้ ยจงึ จะมคี วามสขุ   ทีส่ มบรู ณ์”

พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 178 “หนขู อยอ้ นพดู ถงึ เรอ่ื งรปู สวยรวยทรพั ยห์ นอ่ ยนะคะ”  นอ้ งวรี ดี  พดู  “คอื ตามความรสู้ กึ ของผหู้ ญงิ นนั้  ความสวยเปน็ ความภมู ใิ จสงู สดุ   ของผหู้ ญงิ  ตรงขา้ ม ความขเี้ หรเ่ ปน็ ปมดอ้ ยอยา่ งยง่ิ ของผหู้ ญงิ เชน่ กนั   ถึงจะมที รัพย์มีเกยี รติก็มาชดเชยปมดอ้ ยอันน้ยี าก” “แตส่ ำ� หรบั ผชู้ าย สมรรถภาพเปน็ ความภมู ใิ จสงู สดุ ” ผมวา่  “จรงิ   ไหมครบั พ่อ ?” “จรงิ ” พอ่ รบั  “ภมู ใิ จคนละอยา่ ง โบราณทา่ นจงึ วา่   วชิ ชา รปู ํ ปรุ สิ าน,ํ  นาร ี รปู  ํ สรุ ปู ตา แปลวา่  ชายมคี วามรเู้ ปน็ ส�ำคญั  หญงิ มรี ปู   เป็นส�ำคัญ” ต อ น  ีท่ ๒ ๑

๒๒ต อ น ที่ พ่อผมสั่งสอนมากเร่ืองการประกอบอาชีพสุจริตอาชีพบริสุทธ์ิ  ซึ่ง  พระพทุ ธเจา้ ทรงเรยี กวา่  “อาชีวปารสิ ุทธิ” หรอื  ”สมั มาอาชีโว” ท่านบอกว่า  อาชีพบริสุทธิ์  เป็นความภูมิใจและสุขใจประการ  หน่ึงของมนุษย์  แม้จะจนหน่อยก็ยังมีความสุขใจเป็นเครื่องทดแทน  สว่ นคนทอ่ี าชพี ไมบ่ รสิ ทุ ธน์ิ นั้  แมจ้ ะมอี าการเสมอื นวา่ มคี วามสขุ กห็ ามี  ความสุขจรงิ ไม่ เมอ่ื ใดเขาไดอ้ ยู่กบั ตัวเอง ตรวจตราตวั เอง ระลกึ ถึง  การกระท�ำของตวั เอง เขากม็ คี วามเดอื ดรอ้ นครง้ั นน้ั  เมอื่ อายมุ ากขน้ึ   มีลูกมีหลานมีศีลมีธรรมก็อดท่ีจะละอายลูกหลานไม่ได้  และส่ิงท่ีโกง  เขามากม็ กั ไมย่ งั่ ยนื ไปถงึ ลกู หลานเสยี อกี ดว้ ยเพราะเปน็ ของรอ้ น  พอ่   จึงก�ำชับนักหนาให้ยึดอาชีพสุจริตเป็นเครื่องเล้ียงตน  และหม่ันปฏิบัติ  บำ� รุงคนเฒา่ คนแก่ผูเ้ ปน็ บุพการี



อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 181 ในเมอื งเราเวลาน ้ี มกี ารพดู กนั มากเรอ่ื งขา้ ราชการทจุ รติ  อาศยั   เครอ่ื งแบบหรอื หนา้ ทรี่ าชการเปน็ เครอ่ื งบงั หนา้  เบอ้ื งหลงั เปน็ มหาโจร  ปลน้ ประชาชน นอกจากน,้ี  แทนทจ่ี ะสำ� นกึ ถงึ หนา้ ทผี่ รู้ บั ใชป้ ระชาชนกลบั ทำ� ตวั   เป็นนาย  วางท่า  โอหัง  ขาดความสุภาพ  แสดงวาจาสามหาวแก่ผู้ไป  ติดต่อ  ท้ังๆ  ที่บางคนเป็นเพียงเสมียนหรือมียศแค่สิบเอก  ขนาดผม  ซงึ่ จบการศกึ ษาขน้ั มหาวทิ ยาลยั กย็ งั เคยโดน เมอื่ นกึ ถงึ ตาสตี าสา ยายม ี ยายมาจากบา้ นนอกแลว้  ผมกใ็ จหาย จะมถิ กู ขตู่ ะคอกเหมอื นเปน็ ทาส  ของพวกน้ันไปหรอื ทวี่ า่ น ี้ ผมหมายถงึ ขา้ ราชการ (เฉพาะ) ทเี่ ลวๆ บางคน บางพวก  ไม่ว่าทหารหรือพลเรือน  ข้าราชการที่ดีมีความตรงกันข้ามกับท่ีว่ามา  กม็ อี ยไู่ มน่ อ้ ย  ถา้ เลวกนั ไปหมดทกุ คนเมอื งไทยกอ็ ยไู่ มไ่ ด ้  แตน่ า่ วติ ก  ว่าพวกเลวได้เพม่ิ พนู ขนึ้ ทกุ วนั เรอื่ งทเี่ สนอไปทางราชการนนั้  หากเจา้ ของเรอื่ งไมต่ ามเอง ไมไ่ ป  เดนิ เรอ่ื งเอง ถอื หนงั สอื จากโตะ๊ นไี้ ปโตะ๊ นน้ั ...โตะ๊ โนน้  จากกระทรวงน้ ี ไปกระทรวงโน้นแล้ว  ๓  ปี  เรื่องก็ไม่เสร็จ  เรื่องท่ีควรจะเสร็จภายใน  ๗ วนั  ไปเสร็จเอาในเดือนท ่ี ๙ ท ่ี ๑๐ ความจริงคนเดินหนังสือภายในกระทรวง,  กรม,  กอง  และ  ระหว่างกระทรวงก็มีอยู่ทุกแห่ง  แต่ที่เรื่องล่าช้าก็เพราะความเฉยเมย  ถอื เสมอื นวา่  “ธรุ ะไมใ่ ช”่  คนพวกนไี้ มอ่ ยากท�ำงาน ใจจดจอ่ อยแู่ ตว่ นั   รบั เงนิ เดอื น ไมไ่ ดน้ กึ วา่ การไมท่ ำ� งานใหถ้ กู ตอ้ งทนั เวลาของตนนน้ั เปน็   ความเสียหายแก่ประชาชนและประเทศชาติ การทำ� งานดีของตนเป็น  ผลดแี กป่ ระชาชน (ซงึ่ เปน็ นายโดยตรงของตน) และประเทศชาต ิ รวม  ท้ังมีผลให้พระประมุขของประเทศมีพระชนมายุยืนนาน  พวกเขามัก  นึกถึงแต่ตนเอง  ผลประโยชน์ของตนเองเป็นที่ต้ัง  แล้วสรุปลงว่า 

ต อ น  ีท่ ๒ ๒ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 182 “ทำ� กเ็ ทา่ นน้ั  ไมท่ ำ� กเ็ ทา่ นนั้ ” หรอื  “ทำ� กช็ าม ไมท่ ำ� กช็ าม” คนทโี่ กง  เปน็ จึงไดห้ ลายชาม เมื่อผมปรารภเรื่องนี้กับพ่อ  พ่อพูดพลางเล่นพลางจริงว่า  “ม ี คนชั้นรัฐมนตรีบางคนพูดว่า  ‘เม่ือไก่มันไข่ในยุ้งข้าวจะไม่ให้มันกิน  ขา้ วเปลอื กบา้ งกระไรได’้  บา้ ง, บางคนพดู วา่  ‘ตราบใดทไี่ กย่ งั กนิ ขา้ ว  เปลอื ก ขา้ ราชการก็ยังตอ้ งทจุ รติ ’ บา้ ง เป็นคำ� พูดของคนใหญ่คนโต  ในเมอื งไทยทั้งสน้ิ ” พ่อให้ข้อสังเกตว่า  ถ้าเข้าไปในสถานราชการ  ให้ดูอาคาร  ทที่ ำ� การ และเครอ่ื งอำ� นวยความสะดวกตา่ งๆ เชน่  เครอ่ื งทำ� ความเยน็   (แอรค์ อนดชิ นั่ ) เครอ่ื งทำ� นำ้� เยน็ ไฟฟา้  ตเู้ ยน็ ใบใหญๆ่  ฯลฯ ถา้ สง่ิ เหลา่ น ี้ มีอยู่อย่างหรูหราในสถานท่ีราชการใด  คนในที่น้ันมักโอหัง  อวดดี  เพราะสงิ่ เหลา่ น ี้ ทำ� ใหค้ นพวกนน้ั รสู้ กึ วา่ ตนอยคู่ นละชน้ั คนละฐานะกบั   ประชาชน แมแ้ ตพ่ วกลกู จอ้ กปลายแถวกพ็ ลอยโอหงั อวดดไี ปดว้ ย ตรง  ขา้ มสถานราชการทโ่ี กโรโกโส จะพงั มพิ งั แหล ่ ทที่ �ำการอยบู่ นเรอื นไม ้ เกา่ ๆ ลน้ิ ชักเม่อื ดงึ ออกมาเหมอื นจะพงั ตดิ มอื ออกมาดว้ ย ข้าราชการ  กลบั สภุ าพเรยี บรอ้ ย รจู้ กั เจยี มเนอื้ เจยี มตวั  บรกิ ารประชาชนดว้ ยความ  เตม็ ใจและสภุ าพนมุ่ นวล ตดิ ตอ่ ดว้ ยแลว้ สบายอกสบายใจ พวกทอ่ี วดด ี น้ัน  เป็นพวกเดียวกับก้ิงก่าได้ทอง  หาส�ำนึกคุณของผู้ให้อาหารแก่ตน ไม่ ตอ่ จากนนั้  พอ่ ไดอ้ ธบิ ายใหผ้ มฟงั ถงึ ผาสวุ หิ ารธรรม (สาราณยี -  ธรรม) คอื ธรรมเครอ่ื งอยู่ผาสุก ๕ ประการคอื ๑ ๑. เมตตากายกรรม คอื จะทำ� อะไรกป็ ระกอบดว้ ยเมตตา ไมท่ ำ�   เพ่อื เบียดเบียนใคร ๑ นยั  ปัญจกนบิ าต อังคตุ ตรนกิ าย พระไตรปิฎก เล่ม ๒๒ หนา้  ๑๔๙

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 183 ๒. เมตตาวจกี รรม จะพดู อะไรกป็ ระกอบดว้ ยเมตตา ไมม่ เี พอ่ื   เบียดเบียนใคร ๓.  เมตตามโนกรรม  คือจะคิดอะไรก็ประกอบด้วยเมตตา  ไม่คิดเพอ่ื เบยี ดเบียนใคร ๔. เปน็ ผมู้ ศี ีลมีธรรมเสมอกนั กบั ผู้ทีอ่ ยูร่ ่วมกัน ๕. เปน็ ผู้มคี วามเหน็ ตรงกันกบั ผู้อยู่ร่วมกัน ไม่ขดั แยง้ กัน ๖. มีการแบ่งปันลาภท่ีตนได้มาแล้วโดยชอบธรรมให้แก่ผู้อ่ืนท่ี สมควรใหโ้ ดยไมห่ วงไว้ใช้ หรือบริโภคแตเ่ พียงผเู้ ดียว พอ่ บอกวา่ มนษุ ยท์ อ่ี ยรู่ ว่ มกนั ตงั้ แต ่ ๒ คนขนึ้ ไป หากมธี รรม ๖  อยา่ งนแ้ี ลว้  กม็ คี วามสขุ ความสบายใจ สงั คมมนษุ ยถ์ า้ มหี ลกั  ๖ ประการ  ประจ�ำใจแล้ว  สังคมก็สงบสุข  ไม่มีใครคิดเบียดเบียนล้างผลาญกัน  หรือคดิ เอาแตป่ ระโยชน์ส่วนตวั หลกั ทงั้  ๖ น ี้ ผมเชอ่ื วา่  พอ่ และแมผ่ มปฏบิ ตั ไิ ด ้ เพราะไมเ่ คย  ได้ยินท่านทะเลาะกัน  ชีวิตครอบครัวของเรามีความผาสุกพอควรแก่  ฐานะ แมจ้ ะไมร่ ่�ำรวยแตก่ ไ็ มถ่ งึ กบั ล�ำบากยากจน อยากกนิ อะไรไมไ่ ด้  กนิ  อยากใช้อะไรไม่ไดใ้ ช้ พอ่ บอกวา่  ถา้ เกดิ ความขดั ขอ้ งเพราะความยากจนเลก็ นอ้ ยขนึ้ มา  กใ็ หน้ กึ ถงึ คนทย่ี ากจนกวา่  แลว้ จำ� กดั ขอบเขตความตอ้ งการของเราลง  เสยี  หากเหน็ วา่ จำ� กดั ได ้ เพราะเปน็ ของเกนิ จำ� เปน็ กก็ ำ� จดั เสยี เลย วธิ  ี กำ� จดั ความทกุ ขเ์ พราะความยากจนโดยการจ�ำกดั ความตอ้ งการ เปน็ วธิ  ี ง่ายทสี่ ุด และได้ผลดีที่สดุ มาเป็นเวลานบั พนั ๆ ปี สง่ิ ทจ่ี ำ� เปน็ ในการดำ� รงชพี จรงิ ๆ กค็ อื อาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั  เสอ้ื ผา้   และยาแก้โรค ถ้าเราตั้งใจว่า  เราจะกินเพื่ออยู่  ปัญหาเรื่องอาหารการกินก็มี  ไม่มากนัก

ต อ น  ีท่ ๒ ๒ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 184 ถา้ เราตง้ั ใจวา่ เราจะอยเู่ พอ่ื บำ� เพญ็ คณุ งามความด ี ทอ่ี ยอู่ ยา่ งไร  กไ็ ด ้ พอคมุ้ แดด คมุ้ ฝน ไมใ่ ชอ่ ยเู่ พอื่ ความหรหู รามหี นา้ มตี าใหค้ นเขา  ล�่ำลือว่ารวย  มีบ้านเหมือนวังหรือยิ่งกว่า  ปัญหาเรื่องท่ีอยู่อาศัยก็ลด  น้อยลง  ถา้ เราตง้ั ใจวา่  ใสเ่ สอ้ื ผา้ เพอ่ื ปกปดิ สว่ นทพี่ งึ ละอายและปอ้ งกนั   หนาวรอ้ นเทา่ นน้ั แลว้  การพถิ พี ถิ นั ในเรอ่ื งเสอื้ ผา้ อาภรณก์ ล็ ดลง และ  สะดวกสบายข้ึนอีกมาก เร่ืองยาแกโ้ รคก็ทำ� นองเดยี วกัน ภาษาทางเทคโนโลยีท่ีว่า  Man  Money  และ  Management  เป็นปัจจยั ส�ำคัญแหง่ การพฒั นาชมุ ชนไปสู่ความรงุ่ เรอื งสมบรู ณพ์ ูนสขุ   นน้ั เปน็ ความจรงิ เหมอื นกนั  แตต่ อ้ ง คนด ี เงนิ สจุ รติ  และระเบยี บงาน การจัดการท่ียุติธรรม  มิฉะนั้นแล้วย่อมเป็นไปเพ่ือความวอดวายอย่าง  แน่นอน  ความบริสุทธิ์ยุติธรรมนั้นจะต้องมีในทุกวงการและจะต้องม ี อย่างมากทส่ี ุดจงึ จะรงุ่ เรืองได้ ใครคนหนงึ่ กลา่ วไวว้ า่  ความผาสกุ ของปวงชนนน้ั จะตอ้ งมาจาก  การเสียสละอันยง่ิ ใหญ่ของบุคคล อยา่ งน้อยคนหนง่ึ เสมอ ตัวอย่างที่เห็นชัดในเร่ืองนี้คือความเสียสละอันย่ิงใหญ่ของพระ  สัมมาสัมพุทธเจ้า  ซ่ึงยังผลให้เกิดความผาสุกแก่ปวงชนผู้ปฏิบัติตาม  ค�ำส่ังสอนของพระองคม์ าจนกระทั่งทกุ วนั น้ี

๒๓ต อ น ที่ เพอ่ื นของพอ่ คนหนง่ึ เปน็ หมอ อธั ยาศยั ด ี ทำ� งานประจำ� อยโู่ รงพยาบาล  และมีคลนี ิครกั ษาคนไขส้ ่วนตวั จนร�ำ่ รวยมาก เพราะคนนิยมรกั ใคร่ มาระยะหนงึ่ ภรรยาของหมอมอี าการปว่ ยเปน็ โรคอะไรไมท่ ราบ  อยู่ๆ ก็รอ้ งกร๊ดี กร๊าดออกมาเฉยๆ เปน็ เสมอๆ หมอทางอายุรศาสตร์บอกว่าเป็นอาการของคนอารมณ์เปล่ียน  แปลงเพราะจวนหมดประจำ� เดอื น อีกสกั หน่อยกจ็ ะหายไปเอง หมอทางโรคประสาทวา่ เปน็ โรคประสาท เพราะครำ่� เครง่ ทำ� งาน  หนักเกนิ ไป ควรไดพ้ ักผอ่ นเสยี บ้างก็คงหายเปน็ ปกติ

ต อ น  ีท่ ๒ ๓ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 186 หมอดทู างใน บอกวา่ เจา้ ทใ่ี นทดี่ นิ ซง่ึ ไปซอื้ ไวต้ า่ งจงั หวดั แรงมาก   จงึ ทำ� ใหม้ ีอาการอย่างน้ี หากไปหาพระผเู้ ครง่ ในกฎแหง่ กรรม ทา่ นคงเฉลยวา่  เปน็ วาระ  แหง่ กรรมใหผ้ ล จงเรง่ สรา้ งบญุ สรา้ งกศุ ลเพอ่ื ปดิ ทางแหง่ อกศุ ลกรรม เรื่องมากหมอมากความเกดิ ข้นึ อยา่ งน้ี ผมถามพอ่ วา่ ทถี่ กู ควรจะเป็นอะไรแน่ “พอ่ กไ็ มร่ เู้ หมอื นกนั ” พอ่ ตอบ “เหน็ ญาตบิ างคนเขาบอกวา่ อาจ  เปน็ เพราะนบั เงนิ มากเกนิ ไป” พอ่ พดู แลว้ หวั เราะเบาๆ “ทราบวา่  ๓ วนั   มีรายได้ถึง ๒ หม่นื  เดอื นหนงึ่ เปน็ แสน” “คนมเี งินมากๆ ตอ้ งมที กุ ข์ดว้ ยหรือพอ่  ?” “กท็ กุ ขไ์ ปตามประสาคนมเี งนิ ” พอ่ วา่  “บางคนอาจทกุ ขม์ ากกวา่   คนพอมีพอกินเสียอีก  เพราะอยากรวยเป็นเศรษฐีคนท่ีหนึ่งที่สองของ  โลก แตม่ นั รวยไมไ่ ดท้ นั ใจ  เรอ่ื งเงนิ และอำ� นาจนนั้  ถา้ ไมค่ อยหา้ มใจให้  พอ มันกไ็ ม่รู้สกึ พอ ยิง่ มมี ากกย็ ิง่ อยากมาก เหมอื นไฟได้เช้ือ “ทจี่ รงิ , ความรวยมากหรอื รวยนอ้ ยขน้ึ อยกู่ บั มาตรฐานแหง่ การ  เปรยี บเทยี บ คนทร่ี วยอยแู่ ลว้  แตเ่ มอื่ น�ำตนเขา้ ไปเทยี บกบั คนทร่ี วยกวา่   ก็ย่อมรู้สึกด้อยในความรวย  ตรงข้าม  หากน�ำตนไปเทียบกับคนท่ีรวย  เทา่ ๆ กัน หรอื รวยนอ้ ยกว่าก็ไม่รูส้ กึ ดอ้ ย กลับรู้สกึ เขอื่ ง “อนึ่ง  มาตรฐานเทียบน้ันก็แล้วแต่ว่าจะเทียบด้านไหน  เช่น  นาย  ก. เก่งทางดนตรี  นาย  ข.  เก่งทางกีฬา  หากเทียบทางดนตรี  นาย  ข.  ก็ด้อยกว่านาย  ก.  แต่นาย  ข.  จะด้อยกว่านาย  ก.  ไป  ทกุ ทางกห็ าไม ่ เพราะเมอื่ ยกเอาเรอื่ งกฬี าเปน็ มาตรฐานเทยี บ นาย ก.  ก็ดอ้ ยกว่านาย ข. เปน็ อันมากในเรื่องอ่นื ๆ กท็ �ำนองเดียวกัน “เมอื่ คนยงั มคี วามทะเยอทะยานอยากอนั ไมม่ ที สี่ นิ้ สดุ อย ู่ คอยนำ�   ตนไปเทยี บกบั คนอน่ื ในดา้ นนนั้ ดา้ นนอี้ ยเู่ สมอ และอยากไดอ้ ะไรๆ ไป 



ต อ น  ีท่ ๒ ๓ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 188 หมดทกุ อยา่ งเทา่ ทค่ี นอนื่ เขามเี ขาเปน็  ชวี ติ กม็ แี ตค่ วามกระวนกระวาย  และแห้งเกรียม  ดูเหมือนไม่สมหวังไปเสียทุกอย่างเพราะความที่ใจ  ไมร่ ู้จกั พอน่ันเอง” “ถา้ พอใจเสยี แลว้  ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของชวี ติ จะไมห่ ยดุ ชะงกั   ไปหรอื พอ่  ?” ผมถาม “ถ้าอย่างนั้นลูกลองนึกดูอีกด้านหน่ึงบ้าง  คือถ้าไม่รู้จักพอใจ  เสียเลย  ชีวิตจิตใจจะเป็นอย่างไร  พ่อว่าคนท่ีมีความทุกข์ทรมาน  ท่ีสุด  คือคนที่หาจุดแห่งความพอไม่พบ  เหมือนเรือท่ีว่ิงหาฝั่งไม่เจอ  เหมือนคนเดินป่าท่ีไม่มีที่พักผ่อนและหลงป่าหาทางออกไม่ได้  จะต้อง  เหน็ดเหนื่อยทรมานปานใด   ทางพระพุทธศาสนาท่านสอนให้  ‘รู้จัก  เพยี ร และรจู้ กั พอ’ ความดมี นั อยทู่  ่ี ‘พอด’ี  ไมว่ า่ คนหรอื ชาตคิ วรจะมี  ลิมิท (limit)  คือจ�ำกัดขอบเขตแห่งความต้องการของตนไว้ให้อยู ่ ในฐานะ ‘พอประมาณ’ อยเู่ สมอ แมแ้ ตเ่ รอ่ื งงา่ ยๆ คอื การกนิ อาหาร  ก็ตอ้ งพอประมาณ ไมม่ ากไม่น้อย จงึ จะเป็นประโยชน์แก่รา่ งกายจรงิ “บ้านเมืองเรายังด้อยพัฒนาอยู่มากนะครับพ่อ  เราต้องพัฒนา  ใหท้ ดั เทยี มกบั นานาอารยประเทศ ทง้ั ในดา้ นการศกึ ษา เศรษฐกจิ  สงั คม  และวฒั นธรรม ฉะนน้ั  เวลานป้ี ระเทศเราควรจะมแี ตค่ วามเพยี รอยา่ ง  เดยี ว ไม่ต้องมี ‘ความพอ’ หรอื พอ่ วา่ อยา่ งไร ?” “เม่ือยังไม่ถึงจุดที่เราต้องการ  ก็ต้องเพียรเรื่อยไป  แต่ไม่ใช่  เราพยายามพฒั นาบา้ นเมอื งเราใหเ้ ปน็ อเมรกิ า” พอ่ ตอบ “เราพฒั นา  ไปแต่เราต้องรักษาความเป็นไทยไว้  และให้เป็นไทยท่ีดีที่สุด  รูปร่าง  หน้าตา  สีของผิว  ของคนไทยและของคนอเมริกันนั้นต่างกันมาก  ถึง  คนไทยจะทำ� อยา่ งไรกใ็ หก้ ลายเปน็ คนอเมรกิ นั ไมไ่ ด ้ ฉนั ใด การศกึ ษา  เศรษฐกิจ  สังคม  และวัฒนธรรมของไทยกับของอเมริกันก็เป็นคนละ  อย่างฉันน้ัน  เพราะมีพื้นฐานมาต่างกัน  อเมริกาก็เจริญอย่างอเมริกา 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 189 ไทยกค็ วรเจรญิ อยา่ งไทย ความเจรญิ ของคนหรอื ชาตนิ น้ั มไิ ดห้ มายถงึ   การเอาอยา่ งเขา  ตรงกนั ขา้ มหมายถงึ ความดที มี่ อี ยใู่ นตน หรอื ในชาติ  ท�ำความดีน้ันให้เจริญงอกงามขึ้นถึงขีดสูงสุด  ท�ำนองเดียวกับต้นไม้  ต่างพันธุ์  ความเจริญของต้นไม้มิได้หมายความว่าท�ำมะพร้าวให้เป็น  ทุเรียน  แต่หมายความว่าท�ำมะพร้าวให้งอกงามมีผลดกที่สุด  และ  ผลนนั้ ตอ้ งเปน็ ผลมะพรา้ ว รวมความวา่ ใหอ้ ยใู่ นคณุ ลกั ษณะแหง่ ตน แต ่ ให้เจริญไดถ้ งึ ขีดสูงสดุ “ความล�ำบากของคนไทยและชาติไทยประการหนึ่งเวลาน้ี  คือ  ความพยายามทจี่ ะเปน็ อเมรกิ นั  หรอื องั กฤษ ซง่ึ เปน็ ไมไ่ ดอ้ ยา่ งแนน่ อน  เหมือนผู้หญิงพยายามจะเป็นผู้ชาย  หรือชายพยายามเป็นหญิง  จะให ้ สนิทแนบเนียนเหมือนชายจริงหญิงแท้นั้นไม่มีหวัง  จะเป็นได้อย่างดีก ็ แค่กระเทย ดูแล้วประดกั ประเดดิ ชอบกล” “พ่อจะไม่ให้คนไทยปรับตัวเลยหรืออย่างไร  ถ้าจะให้รักษา  ความเป็นไทยแต่โบราณไว้  เราก็ต้องนุ่งผ้าม่วง  ใส่เสื้อราชปะแตน  พวกเสนาบดีไม่ต้องใส่เส้ือเห็นพุงลงมากองถึงตัก  ผมไม่เห็นว่าจะดี  อยา่ งไร” “พอ่ ไมไ่ ดห้ มายความถงึ ขนาดนน้ั ดอกลกู ” พอ่ พดู  “แตพ่ อ่ หมาย  เพยี งใหเ้ รารจู้ กั กบั สง่ิ ทด่ี งี าม เหมาะสมแกค่ นไทยและชาตไิ ทย น�ำสง่ิ   ที่ดีมาปรับปรุงให้เข้ากับลักษณะนิสัยของคนไทย  และดินฟ้าอากาศ  ของเมอื งไทย ไมใ่ ชฝ่ รง่ั ทำ� อยา่ งไรแลว้  เราทำ� ตามหมดทกุ อยา่ ง โดย  ไมค่ ำ� นงึ ถงึ กาละ เทศะและบคุ คล ตลอดถงึ ภมู ปิ ระเทศ ดนิ ฟา้ อากาศ  ผา้ ผนื เดยี วกนั  เมอื่ น�ำไปตดั เสอ้ื หรอื กางเกงใหต้ า่ งคนใช ้ เขายงั ตดั ให ้ ต่างกัน  เพื่อให้สมรูปกับผู้ใช้  ลูกลองคิดดู  ถ้าคนไทยตัวเต้ียๆ  เล็กๆ  เอากางเกงหรือเสื้อท่ีเขาตัดไว้ส�ำหรับคนอเมริกันมาสวมใส่โดยไม่ได ้ แกไ้ ขเลย มนั จะรมุ่ รา่ มนา่ ตลกปานใด พอ่ หมายความอยา่ งนต้ี า่ งหาก 

ต อ น  ีท่ ๒ ๓ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 190 อารยธรรมหรอื วฒั นธรรมกเ็ หมอื นกนั  หากเรานำ� ของตา่ งชาตมิ าสวม  เข้าเลย อาจดูเปน็ เรือ่ งตลกมากกว่าน่านยิ มชมช่ืน” วันหนึ่ง  พ่อผมเล่าให้ฟังว่า  มีเพ่ือนของพ่อคนหนึ่ง  ฐานะดี  มาชวนพอ่ ไปกนิ ขา้ วเยน็ นอกบา้ น พอ่ กไ็ ปเพราะไมต่ อ้ งการขดั ใจเพอื่ น  แตพ่ อไปถงึ สถานที่ซ่งึ เพือ่ นพ่อเจาะจงจะเล้ยี งก็เกิดมีปัญหากันขึ้น สถานท่ีน้ันเป็นภัตตาคารที่หรูหราท่ีสุดแห่งหนึ่งในเมืองไทย  เสียค่าโฆษณาเดือนหนึ่งเป็นแสน  ไม่ต้องสงสัยเลย  เขาต้องมีรายได้  เดอื นหนึ่งเปน็ ร้อยๆ ลา้ นบาท “ผมว่าไปท่ีอ่นื ดีกว่า” พอ่ บอก “ทำ� ไม, ท่ีนี่แหละดีทีส่ ุดแล้ว” เพื่อนพ่อบอก “ก็เพราะดีท่สี ุดนะ่ ซ ี ผมจึงบอกใหเ้ ปลยี่ นท”่ี  พ่อแถลง “ท�ำไม ?”  เขาถามอกี “ราคาแพงเกนิ ไป” พอ่ พดู “แต่ผมเล้ียงคุณ”  เพื่อนพ่อบอก  “คุณจะเดือดร้อนท�ำไมเร่ือง  ราคาแพงหรอื ถกู ” “มอื้ นีค้ ณุ กะจะต้องเสียคา่ อาหารเท่าไร ?” พอ่ ถาม “สองพนั บาท-สองพนั เทา่ นนั้  ผมเคยเลยี้ งเพอ่ื นทหี นง่ึ เปน็ หมนื่ ”  เพอ่ื นพ่อพูด “สองพนั  สองพนั เทา่ นน้ั ” พอ่ ทวนคำ� อยา่ งขมขน่ื  “คณุ รไู้ หมวา่   เสมียนพนักงานท�ำงานท้ังเดือนได้เงินเดือน  ๕๔๐  บาท  (ห้าร้อยสี่สิบ  บาท) บางคนเปน็ ลกู จา้ งเขาไดเ้ งนิ คา่ แรงเพยี งเดอื นละ ๑๕๐-๒๐๐ บาท  เทา่ นน้ั  ตอ้ งทำ� งานถงึ  ๑๐ เดอื น หรอื  ๑๒ เดอื น จงึ จะไดเ้ งนิ เทา่ กบั   ท่ีคณุ น�ำมากินเพียงหนึ่งมอ้ื ” “มนั เกย่ี วอะไรกนั ละ่  ?” เพอื่ นพอ่ ถาม “นมี่ นั เงนิ ของผม ถา้ ผม  ไม่ใช้มันเพื่อความสุขกายสบายใจแล้ว ผมจะหามันมาทำ� ไมให้เหน่ือย 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 191 แรงเปลา่ ” “คณุ รหู้ รอื ไมว่ า่  การทคี่ ณุ กนิ อาหารเพยี ง ๒ คน กบั ผมเพยี งมอื้   เดยี วถงึ  ๒ พนั บาทนน้ั  เปน็ การสบู เลอื ดสบู เนอื้ ของคนยากจนมากนิ ” “ผมไมเ่ ขา้ ใจเลยคณุ ยมิ้ , มนั เรอ่ื งอะไรกนั ” เพอื่ นพอ่ พดู พลาง  เกาศรษี ะเพราะรำ� คาญ “ผมใชเ้ งนิ ของผม มนั เดอื ดรอ้ นอะไรถงึ คนอน่ื   ผมไมไ่ ดไ้ ปทุจริตคดโกงใครมา” “แต่เมื่อคุณใช้เงินฟุ่มเฟือย  คุณก็ต้องข้ึนราคาของที่คุณขาย  เพื่อน�ำความชดเชยเงินที่ขาดไป  คุณขายแพงข้ึนความเดือดร้อนของ  ผบู้ รโิ ภคใชส้ อยกเ็ พม่ิ ขนึ้  ผมเองกเ็ ปน็ ผบู้ รโิ ภคใชส้ อยคนหนงึ่  ทำ� ไมคณุ   ไมเ่ อาเงินจ�ำนวนน้ีไปใชจ้ ่ายเปน็ ประโยชน์แกค่ นจน” “บา้  บา้ จงั เลยคณุ ยม้ิ ” เพอื่ นพอ่ ปลอ่ ยผรสุ วาทออกมา เพราะ  ทนไมไ่ หว “พวกมหาเขาคดิ กนั เชยๆ อยา่ งนลี้ ะหรอื  ?” มนั ไมใ่ ชห่ นา้ ท่ี  ของผมที่จะคิดอย่างนี้  ผมมีหน้าที่ให้ความสุขแก่ชีวิตให้มากที่สุด  เท่าท่ีจะมากได้  เรื่องการช่วยเหลือคนจนเป็นหน้าท่ีของรัฐบาล  ของ  กรมประชาสงเคราะห์  และเมื่อคนจนมีมากมายอย่างน้ี  ใครจะไป  สงเคราะหไ์ หว ตวั ใครตวั มนั กนั โวย้ ยม้ิ  ใครๆ เขาคดิ กนั อยา่ งนท้ี ง้ั นนั้   เมื่อมีเงินอยู่ในมือก็จงใช้มันให้มีความสุข  จะตายวันน้ี  พรุ่งน้ีก็ไม่รู้ได ้ จะทนอดแห้งอดแล้งอยู่ท�ำไม  คนจนที่แกต้องกินเดือนละ  ๕๔๐  บาท  กเ็ พราะความจ�ำเปน็ บงั คบั แก ถา้ แกร�่ำรวยเหมอื นเราแกกต็ อ้ งกนิ และ  ใชเ้ หมอื นเรา ใครจะคดั คา้ นเรอ่ื งนบ้ี ้าง ตวั อยา่ ง พอมเี งินพเิ ศษอะไร  มาหนอ่ ยแกเลยี้ งกนั จนเสยี จน ๒ เทา่ สามเทา่ ของเงนิ พเิ ศษทแ่ี กไดม้ า  แล้วจะไปมัวน่ังกงั วลท�ำไมให้เสียเวลาเปลืองสมอง เรามีเงนิ  เราตอ้ ง  แสวงหาความสุขใส่ตวั  ตายไปแลว้ กห็ มดเรือ่ งกนั  จะเสียใจภายหลัง” “เพราะคนมเี งนิ คดิ กนั อยา่ งนแี้ หละ บา้ นเมอื งเราจงึ อยใู่ นสภาพ  ท่เี ห็นกันอยเู่ วลาน”ี้  พ่อพดู

ต อ น  ีท่ ๒ ๓ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 192 “สภาพอย่างไร ?” เพอ่ื นพอ่ ถาม “สภาพที่คนอ้วนก็อ้วนจนเดินไม่ไหว  หายใจไม่ออก  คนผอมก ็ ผอมชนิดหนังหุ้มกระดูก บางคนกระดูกออกมานอกหนังเสยี อีก เรื่อง  การชว่ ยเหลอื คนจนนนั้  เราตอ้ งชว่ ยกนั ทกุ ฝา่ ย ไมป่ ลอ่ ยใหเ้ ปน็ หนา้ ท ่ี ของรฐั บาลและกรมประชาสงเคราะห์แต่อย่างเดยี ว” “ไอ้ห่ะ”  เพ่ือนพ่ออุทานออกมา  “ไม่ควรมาเกิดในสมัยนี้เลย  คุณควรมาเกิดสมัยพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราชหรือเกิดเป็นลูกน้อง  ของอนาถปณิ ฑกิ ะเศรษฐเี มอื งสาวตั ถโี นน้   ผมตราหนา้ ไวเ้ ลย คนอยา่ ง  คณุ เกิดอกี ก่ชี าติกไ็ มร่ วย” วันนั้นพ่อกลับบ้าน  ไม่ยอมกินอาหารท่ีภัตตาคารแห่งน้ัน  พ่อ  มากินข้าวม้ือเย็นกับพวกเรา  ซึ่งจ่ายค่าอาหารเพียงมื้อละ  ๖-๗  บาท  เทา่ นนั้  เล้ียงกนั ได้ถึง ๔ คน คอื  พอ่  แม ่ และ ลูก ๒

๒๔ต อ น ที่ วันท่ีผมบันทึกเรื่องตอนนี้เป็นวันหลังวิสาขบูชาหน่ึงวัน  จึงใคร่ขอเล่า เรอ่ื งเก่ยี วกบั วิสาขบูชาซ่ึงครอบครวั ของผมคุยกนั สทู่ ่านฟัง โดยปกตเิ มอ่ื ถงึ วนั วสิ าขบชู า พอ่ ผมจะชกั ชวนแมแ่ ละลกู สองคน  สวดมนต์ไหว้พระบชู าพระรัตนตรัยแตเ่ ช้า เรื่องใสบ่ าตรนั้นครอบครัว  ผมไมไ่ ดใ้ สใ่ นเทศกาลเช่นน ้ี  เมือ่ ผมถาม พอ่ อธิบายว่า “วันอย่างนี้พระท่านได้อาหารเหลือเฟือ  ยิ่งวันข้ึนปีใหม่  ท่าน  ตอ้ งบณิ ฑบาตถา่ ยใสเ่ ขง่ ใหญๆ่  กม็ ,ี  กนิ กนั ไมห่ มด เททง้ิ เสยี มาก เรา  ใส่บาตรวันธรรมดาที่พระท่านไม่ค่อยได้อาหารอยู่แล้ว  วันอย่างน้ีเปิด  โอกาสให้คนที่ไมค่ อ่ ยไดใ้ สบ่ าตรในวนั ปกติท�ำกนั ”



อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 195 “ถ้าคิดอย่างพ่อกันหมด, วันส�ำคัญๆ ทางศาสนาก็คงไม่มีคน  ใสบ่ าตร ไม่มคี นทำ� บญุ ” ผมทว้ งตงิ “เปน็ ไปไมไ่ ดด้ อกลกู ” แมต่ อบ “พอ่ คดิ อยา่ งนมี้ า ๒๕ ปแี ลว้  แต ่ วนั สำ� คญั ทางศาสนา และวนั สง่ ทา้ ยปเี กา่ ตอ้ นรบั ปใี หม ่ พระกย็ งั รำ่� รวย  บิณฑบาตอยู่นั่นเอง  ไม่มีวันที่ใครจะคิดอย่างพ่อหมดได้  แต่ก็คงมีอยู ่ บา้ งท่ีมคี วามคิดตรงกัน” “เขาวา่ ทำ� บญุ ในวนั พระ หรอื วนั สำ� คญั ทางศาสนาไดบ้ ญุ มากกวา่   ท�ำในวนั ธรรมดาจริงหรอื พ่อ ?” “เรอื่ งนขี้ น้ึ อยกู่ บั เจตนา ทกั ขเิ ณยยบคุ คล และไทยธรรม มากกวา่   ขึ้นอยู่กับวันพระหรือไม่ใช่วันพระ  หมายความว่า  การท�ำบุญท่ีจะได ้ บญุ มากหรอื นอ้ ย ยอ่ มแลว้ แตเ่ จตนาของผทู้ ำ� บรสิ ทุ ธเ์ิ พยี งใด มคี วาม  เล่อื มใสเพยี งใด สมบรู ณ์ด้วยเจตนาทงั้  ๓ หรือไมเ่ พียงใด” “อะไรบา้ งครบั  เจตนาทั้ง ๓ ?” “ประการแรก ทา่ นเรยี กวา่  บพุ พเจตนา คอื ความตง้ั ใจกอ่ นจะ  ใหม้ คี วามเลอื่ มใส มกี ารตดั สนิ ใจแนว่ แน ่ ไมล่ งั เล ประการทส่ี อง ขณะ  ที่ก�ำลังให้ก็มีใจผ่องใส  เลื่อมใส  ประการท่ีสาม  ให้แล้วก็มีใจช่ืนบาน  ไม่เสียดาย  ประการที่สองท่านเรียกว่า  มุญจนเจตนา  ประการที่สาม  เรยี ก อปราปรเจตนา โดยลำ� ดบั “ต่อจากนั้นให้สำ� รวจไทยธรรม คือของที่จะให้น้ันต้องเป็นของ  ที่ได้มาโดยสุจริต  โดยชอบธรรม  และแล้วก็เลือกปฏิคาหก  คือผู้รับ  หากผูร้ ับบริสุทธม์ิ ากผลบญุ ก็มาก ผรู้ ับมคี ุณธรรมน้อย ผลบญุ ก็นอ้ ย “เม่ือประกอบพร้อมด้วย  ๓  ประการคือ  เจตนา ไทยธรรม  และทักขิเณยยบุคคลอย่างน้ี  ทานจึงจะมีผลมาก  หากขาดไปอย่างใด  อยา่ งหนึ่ง ทานก็ให้ผลนอ้ ยลงตามลำ� ดับ “การท�ำบาปก็เหมือนกัน  ไม่เลือกวันดอก  ท�ำวันไหนก็ได้บาป 

ต อ น  ีท่ ๒ ๔ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 196 วันน้นั  จะมากหรอื น้อยแลว้ แต่องคป์ ระกอบในการทำ� ” “ถ้ายังมีคนใส่บาตรอยู่  พระจะรับสักก่ีบาตรก็ได้หรือพ่อ  ไม่มี  กฎเกณฑ์เก่ยี วกบั เรอ่ื งนีห้ รือ ?” “โดยธรรมดา ทา่ นมไิ ดห้ า้ มไวโ้ ดยตรง แตโ่ ดยมรรยาทกไ็ มค่ วร  รับมากเกินไป  เพราะเอาไปท้ิงเสียเปล่า  เด็กวัดช่วยกินสามมื้อแล้วก็  ไม่หมด  หมาวัดช่วยกินอีกก็ยังเหลือ  ในพระวินัยบางแห่งท่านห้ามรับ  บิณฑบาตให้ล้นขอบปากบาตรข้ึนมา  เพราะดูน่าเกลียด  ไม่เป็นท่ีต้ัง  แหง่ ความเลอ่ื มใส” “ถ้าอยา่ งนั้น รับหลายๆ บาตร จะมยิ ิง่ หนักไปอีกหรอื พ่อ ?”  “ท่านรับหลายบาตร  แต่ละบาตรก็ไม่ล้นขอบปากบาตร  คงจะ  พน้ อาบัตใิ นเรอื่ งนไี้ ปได้” “เล่ียงบาลีหรอื เปล่าครบั  ?” พ่อหัวเราะเบาๆ  ก่อนตอบว่า  “บางทีพระก็ต้องยอมท�ำผิดเพื่อ  รักษาศรัทธาของชาวบ้านเหมือนกัน  ชีวิตพระเน่ืองอยู่ด้วยชาวบ้าน  อะไรพอสงเคราะห์เขาได้  ท่านก็สงเคราะห์  บางทียอมเป็นอาบัติ  คือ  ผดิ วินัย เพอ่ื ไม่ให้วุน่ วาย และรักษาศรัทธาของชาวบา้ นไว้” “เช่นอย่างไรครับ ?” “เช่นการน่ังหรือนอนบนท่ีนั่งท่ีนอนอันยัดด้วยนุ่นหรือส�ำลีท่าน  ห้าม  ทีนี้สมมติว่าท่านไปเทศน์  ท่านข้ึนน่ังบนธรรมาสน์แล้ว  จึงรู้ว่า  อาสนะท่ีเขาปูไว้บนธรรมาสน์น้ันยัดด้วยนุ่นหรือส�ำลี  ถ้าท่านจะรักษา  วินัยก็ต้องให้ร้ือออก  เอาผ้ามาปูแทน  ท�ำอย่างน้ันเป็นการท�ำให ้ ชาวบ้านวุ่นวาย  ถ้าชาวบ้านนั้นเป็นผู้หลักผู้ใหญ่ก็เป็นการหักหน้าเขา  เหมือนกัน  พระท่ีท่านมีมรรยาทดีจึงมักท�ำเฉยเสีย  แล้วมาปลงอาบัต ิ เอาท่ีวัด  เล็กๆ  น้อยๆ  รักษาศรัทธาและความสงบเรียบร้อยไว้ดีกว่า  ไม่ควรเคร่งจนเกินงาม

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 197 “ตัวอย่างอีกเรื่องหน่ึง  คือการสวมรองเท้าแตะใส่บาตร  โดย  ธรรมดาเราต้องถอดรองเท้า  เพราะพระท่านไม่สวมรองเท้ามารับ  บณิ ฑบาต พอ่ จำ� ไมไ่ ดแ้ มน่ วา่  จะมพี ระวนิ ยั หา้ มพระรบั บณิ ฑบาตจาก  ผู้สวมรองเทา้ แตะหรือไม่ แต่รองเท้าหุม้ ส้นอย่างของผูช้ ายน้ันใส่ได้ “ดงั นน้ั เมอ่ื สวมรองเทา้ แตะ เราจงึ ถอดรองเทา้ เสมอ ลกู ลงไปใส ่ บาตรกับพ่อเสมอ ได้เห็นพ่อท�ำลูกก็ท�ำตาม  การใส่รองเท้าแตะใส ่ บาตร มองดแู ลว้ ไมส่ ภุ าพ ดคู ลา้ ยๆ ขาดคารวะไป เณรบางรปู ทา่ นจงึ   ทกั เอาวา่ ให้ถอดรองเท้าเสียก่อน “แตพ่ ระนนั้ ไมเ่ คย เพราะทา่ นมปี ระสบการณม์ ากกวา่  ถา้ จะเปน็   อาบตั ทิ า่ นกไ็ ปปลงเอาทว่ี ดั  ทา่ นตอ้ งการรกั ษาหนา้ ชาวบา้ น และถนอม  นำ�้ ใจ ไมใ่ ห้จิตใจของผทู้ �ำบญุ ต้องหมน่ หมอง “พูดถึงเรื่องใส่บาตร  รับบิณฑบาต  พ่อนึกถึงเร่ืองสามเณรวัด  หน่ึงในกรุงเทพฯ  น่ีเอง  วันขึ้นปีใหม่เณรรับบิณฑบาตมากมายหลาย  เทย่ี ว กลบั มาถา่ ยบาตรแลว้ ออกไปอกี  พระรปู หนงึ่ กฏุ อิ ยใู่ กลซ้ มุ้ ประตู  นงั่ มองดเู ณรเขา้ ออกอยถู่ งึ  ๘ เทย่ี ว ๘ บาตร เหน็ วา่ มากเกนิ ไปจงึ นำ�   เร่ืองไปฟ้องท่านเจ้าคุณเจ้าอาวาส  พอสายหน่อยท่านเจ้าคุณก็เรียก  เณรไปถามว่าท�ำไมจึงบิณฑบาตมากนักถึง  ๘  บาตร  จะเอาไปท�ำไม พระเณรเขาไมใ่ หโ้ ลภมาก “ใครบอกใตเ้ ทา้ วา่ กระผมบณิ ฑบาต ๘ บาตร ?” เณรถามเจา้   อาวาส “น่ีไงล่ะ  พยานนั่งอยู่นี่”  ท่านเจ้าคุณพูดพร้อมท้ังช้ีไปทางพระ  ผ้ฟู ้อง “ทา่ นฟอ้ งผดิ ไปแลว้ ” เณรวา่  “ความจริงผมขนถงึ  ๑๐ บาตร  เขา้ ทางประตโู น้นสองเทย่ี ว ทา่ นไมเ่ หน็ ” “เมื่อเณรพูดอย่างน้ัน  ทั้งท่านเจ้าคุณและพระผู้ฟ้องจึงหัวเราะ 

ต อ น  ีท่ ๒ ๔ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 198 เหน็ เป็นเรอ่ื งขบขันไป และไมด่ เุ ณรอกี “อย่างน้ีเขาเรียกว่าคนมีปฏิภาณไว  เอาตัวรอดได้เมื่อเข้าเหต ุ การณ์คับขัน  การท�ำให้เรื่องจริงจังเป็นเร่ืองขบขันน้ันช่วยให้ความตึง  เครยี ดทางอารมณล์ ดหยอ่ นลงมาก แลว้ กแ็ ลว้ กนั ไป” พ่อพูดในทีส่ ดุ กลางวนั พอ่ อา่ นหนงั สอื ธรรมะโดยตลอด สว่ นมากเกยี่ วกบั พระ  จรยิ าของพระพทุ ธเจา้  ตกกลางคนื เราไปเวยี นเทยี นกนั ทว่ี ดั  การเวยี น  เทยี นนน้ั  พอ่ อธบิ ายวา่ เปน็ การแสดงความเคารพตอ่ พระรตั นตรยั  สมยั   เมอ่ื พระพุทธเจา้ ยังทรงพระชนม์อยูน่ นั้  ผ้ทู ม่ี าเฝา้ พระองค์เม่ือลากลบั   มกั จะเดนิ เวยี นขวาพระคนั ธกฎุ สี ามรอบ เรยี กวา่ ทำ� ประทกั ษณิ  เปน็ การ  แสดงความเคารพอยา่ งสงู ต่อพระพุทธเจา้ ในการไปเวยี นเทยี นคนื นนั้  ผมมขี อ้ สงั เกตมาอยา่ งหนง่ึ จงึ เอามา  ถามพ่อ และได้ความร้เู พิม่ เติมขึน้ อีก “ผมเหน็ พระรปู หนงึ่ ครบั พอ่  เดนิ นำ� สมเดจ็ พระสงั ฆราช สมเดจ็   พระสงั ฆราชเสดจ็ ด�ำเนนิ เปน็ องคท์ สี่ อง ผมเขา้ ใจวา่  สมเดจ็ พระสงั ฆ-  ราชน้ันทรงเป็นผู้สูงสุดแล้วในหมู่สงฆ์  ท�ำไมพระองค์จึงยังเสด็จตาม  หลงั พระอกี รปู หนงึ่  ตอ่ มากเ็ ปน็ พระผนู้ อ้ ยลงมาตามลำ� ดบั  พระรปู นน้ั   ย่งิ ใหญ่กว่าสมเดจ็ พระสังฆราชอีกหรือพอ่  ?” “ไม่ใช่ย่ิงใหญ่โดยสมณศักดิ์ดอกลูก”  พ่อตอบมีแววพอใจใน  คำ� ถามของผม “แตท่ า่ นมอี ายพุ รรษามากกวา่ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ใน  วนิ ยั ของพระพทุ ธเจา้ นนั้  ผพู้ รรษานอ้ ยกวา่ ตอ้ งเคารพผพู้ รรษามากกวา่   สมเด็จทรงปฏิบัติตามพระวินัย  จึงไม่ทรงยอมเสด็จน�ำพระเถระท่ีมี  พรรษามากกวา่ พระองค์ “มองในแงน่ แี้ ลว้  ท�ำใหร้ สู้ กึ ประทบั ใจในพระจรยิ าของพระองค์  ทา่ นมากข้ึน มิได้ทรงถอื พระองค์วา่ เป็นถึงสมเดจ็ พระสังฆราช “พ่อทราบมาว่า  เม่ือถึงวันเข้าพรรษา  มีพระเถระวัดใดใน 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 199 พระนคร ธนบรุ  ี ทม่ี อี ายพุ รรษามากกวา่ พระองคท์ า่ น กเ็ สดจ็ ไปถวาย  เครอื่ งสกั การะแสดงความเคารพเสมอมา ตงั้ แตย่ งั มไิ ดเ้ ปน็ สมเดจ็ พระ  สงั ฆราช และเมอ่ื ทรงไดร้ บั สถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราชแลว้  กย็ งั   ทรงกระทำ� อยู่ไมข่ าดได้ “มีพระเถระบางวัดเป็นเจ้าอาวาส  และเป็นพระราชาคณะช้ัน  ผู้ใหญ่ถึงช้ันธรรมพิเศษ  มีพระลูกวัดรูปหน่ึงสมณศักดิ์เพียงพระครู  สญั ญาบตั รธรรมดาๆ เทา่ นน้ั  แตพ่ รรษามากกวา่  เมอื่ ถงึ คราวรบั กฐนิ   ท่านก็ให้ทายกถวายผา้ กฐนิ แก่ท่านพระครรู ูปนน้ั ทุกปเี สมอมา “จริยาอย่างน้ีก็น่าเล่ือมใส  โดยปกติพระท่ีมีพรรษามาก  แต่ม ี ความรู้ความสามารถน้อย  ก็มีความนับถือย�ำเกรงผู้มีพรรษาน้อยแต่  มคี วามรคู้ วามสามารถมากอยแู่ ลว้   การทพี่ ระผมู้ คี วามรคู้ วามสามารถ  มากแตพ่ รรษานอ้ ย เคารพพระผมู้ พี รรษามาก จงึ เปน็ การสมานสามคั ค ี อย่างดีย่ิง  มิใหฝ้ า่ ยใดฝา่ ยหน่งึ ตอ้ งดอ้ ยจนเกินไป” “เวลานี้พระชัน้ ธรรมพิเศษมกี ี่รูปครบั  พอ่  ?” “ดูเหมือน ๗ รูป” พอ่ ตอบ “ลองนบั ดกู ่อน ๑. พระศาสนโสภณ ๒. พระธรรมวโรดม ๓. พรหมมุนี ๔. พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ๕. พระธรรมปญั ญาบดี (แทนตำ� แหนง่ พระพมิ ลธรรม) ๖. พระวสิ ทุ ธวิ งศาจารย ์ (แทนตำ� แหนง่ พระมหาโพธวิ งศาจารย ์?) ๗. พระธรรมปัญญาจารย์ “รวม ๗ รปู  เดมิ ทมี  ี ๕ รปู  ตง้ั แตห่ มายเลข ๑-๕ รปู  ตอ่ มา  เพิ่มเปน็  ๗ “ส่วนสมเด็จพระราชาคณะ  คงมี  ๔  อย่างเดิม  รูปใดรูปหน่ึง 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook