Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการศึกษาเพื่อพัฒนาชีวิต ศีล สมาธิ ปัญญา

หลักการศึกษาเพื่อพัฒนาชีวิต ศีล สมาธิ ปัญญา

Published by Sarapee District Public Library, 2020-11-10 15:20:25

Description: หลักการศึกษาเพื่อพัฒนาชีวิต ศีล สมาธิ ปัญญา
โดย วศิน อินทสระ

Keywords: ธรรมะ,วศิน อินทสระ

Search

Read the Text Version

ห ลั ก ก า ร ศึ ก ษ า  เ พ่ื อ พั ฒ น า ชี วิ ต ปสัญศมีลญาธาิ อ.  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ

ปสญั ศมีลญาธาิ อ.วศิน  อนิ ทสระ

ศีล สมาธิ ปัญญา อ.วศิน  อนิ ทสระ Facebook : อาจารยว์ ศนิ อินทสระ Facebook : Wasin Indasara ชมรมกลั ยาณธรรม หนงั สอื ดีลำ� ดบั ท่ ี ๓๗๗ พมิ พค์ ร้ังที่ ๓  : เมษายน ๒๕๖๒  จำ� นวนพมิ พ์  ๒,๐๐๐ เล่ม พมิ พ์คร้งั ท ่ี ๑ : พ.ศ.  ๒๕๔๒ พิมพ์ครง้ั ท ่ี ๒ : พ.ศ.  ๒๕๔๓ โดย  บริษทั สำ�นกั พมิ พบ์ รรณกิจ  ๑๙๙๑  จำ�กัด จดั พมิ พ์โดย  ชมรมกัลยาณธรรม  ๑๐๐ ถนนประโคนชยั  ตำ� บลปากนำ�้  อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดสมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ออกแบบ  คนข้างหลัง    พิสจู น์อกั ษร  ทีมงานกลั ยาณธรรม เพลท  แคนนา  กราฟฟิก  โทร.  ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑ พิมพ์ บรษิ ทั ขุมทองอุตสาหกรรมและการพิมพ์  จำ� กัด  โทร.  ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๐-๓ สพั พทานัง ธัมมทานัง ชนิ าติ การให้ธรรมะเปน็ ทาน ยอ่ มชนะการให้ทั้งปวง www.kanlayanatam.com Line@kanlayanatam kanlayanatam อาจารยว์ ศนิ อินทสระ

ค ํ า อ น ุ โ ม ท น า ชมรมกลั ยาณธรรม โดยทนั ตแพทยห์ ญงิ อจั ฉรา กลน่ิ สวุ รรณ์ ผเู้ ปน็ ประธานชมรมฯ  ไดข้ ออนญุ าตพมิ พห์ นงั สอื เรอ่ื ง  “ศลี   สมาธิ ปัญญา”  ข้าพเจ้าอนุญาตด้วยความยินดีย่ิง  จัดเป็นการพิมพ์ ครง้ั ท ่ี ๓  สำ� หรบั ความเปน็ มาของการพมิ พค์ รงั้ แรก  และครง้ั ท ี่ ๒ ขา้ พเจ้าไดก้ ล่าวไว้แล้วในค�ำน�ำของการพมิ พ์ครั้งนนั้ ๆ ศลี   สมาธ ิ ปญั ญา  เปน็ หลกั ธรรมสำ� คญั ของพระพทุ ธศาสนา ศลี ทำ� ใหก้ าย  วาจา  ใจ  สะอาด  สมาธทิ �ำใหใ้ จสงบ  ปญั ญาท�ำให้ ใจสวา่ ง  ผมู้ คี ณุ ธรรมทง้ั   ๓  อยา่ งน ้ี ชอ่ื วา่   ไดด้ �ำเนนิ ชวี ติ ตามวถิ ี แหง่ ชาวพทุ ธทด่ี  ี หวงั ไดม้ ากในความเจรญิ กา้ วหนา้ แหง่ ชวี ติ ของตน ข้าพเจ้าขออนุโมทนาอย่างย่ิง  ต่อกุศลเจตนาของชมรม กลั ยาณธรรม  ทไ่ี ดจ้ ดั พมิ พห์ นงั สอื เรอื่ งนอี้ อกเผยแผใ่ หแ้ พรห่ ลาย ขอใหผ้ จู้ ดั พมิ พแ์ ละผอู้ า่ นพงึ ประสบความสขุ สวสั ด ี ในทท่ี กุ สถาน ในกาลทุกเม่อื ดว้ ยความปรารถนาดีอยา่ งยิง่ ๑๗  มีนาคม  ๒๕๖๒

ปสญั ศมีลญาธาิ ค ํ า นํ า ช ม ร ม กั ล ย า ณ ธ ร ร ม ตามทที่ ราบกนั แลว้ วา่   ธรรม  ๔  ซง่ึ จดั ประเภทตามลกั ษณะ ความสัมพันธ์ท่ีมนุษย์พึงปฏิบัติหรือเกี่ยวข้อง  เป็น  ๔  จ�ำพวก อันสอดคล้องกับหลักอริยสัจจ์  ๔  และกิจในอริยสัจจ์  ๔  ได้แก่ ๑. ปรญิ เญยยธรรม - ธรรมทเี่ ขา้ กบั กจิ ในอรยิ สจั จท์  ี่ ๑ คอื   ปรญิ ญา 4 (ธรรมอันพึงก�ำหนดรู้)  ส่ิงท่ีควรรอบรู้  หรือรู้เท่าทันตามสภาวะ ของมนั   ไดแ้ ก ่ อปุ าทานขนั ธ ์ ๕  กลา่ วคอื   ทกุ ข ์ และสงิ่ ทงั้ หลาย ทอ่ี ยใู่ นจำ� พวกทเ่ี ปน็ ปญั หา  หรอื เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ ปญั หา  ๒.  ปหาตพั พ- ธรรม - ธรรมที่เข้ากับกิจในอริยสัจจ์ข้อท่ี  ๒  คือ  ปหานะ  (ธรรม อันพึงละ)  ส่ิงท่ีจะต้องแก้ไขก�ำจัดท�ำให้หมดไป  ว่าโดยต้นตอ รากเหง้า  ได้แก่  อวิชชา  และภวตัณหา  กล่าวคือธรรมจ�ำพวก สมุทัย  ที่ก่อให้เกิดปัญหา  เป็นสาเหตุของทุกข์  หรือพูดอีกอย่าง หนงึ่ วา่   อกศุ ลทงั้ ปวง  ๓.  สจั ฉกิ าตพั พธรรม - ธรรมทเ่ี ขา้ กบั กจิ ใน อรยิ สจั จข์ อ้ ท ่ี ๓  คอื   สจั ฉกิ ริ ยิ า  (ธรรมอนั พงึ ประจกั ษแ์ จง้ )  สงิ่ ที่ ควรได้ควรถึงหรือควรบรรลุ  ได้แก่  วิชชา  และวิมุตติ  เมื่อกล่าว โดยรวบยอด  คือ  นิโรธ  หรือนิพพาน  หมายถึงจ�ำพวกท่ีเป็น จดุ หมาย  หรอื เปน็ ทดี่ บั หายสน้ิ ไปแหง่ ทกุ ขห์ รอื ปญั หา  ๔.  ภาเว- ตัพพธรรม - ธรรมที่เข้ากับกิจในอริยสัจจ์ข้อท่ี  ๔  คือ  ภาวนา

อ. วศิน อินทสระ (ธรรมอันพึงเจริญหรือพึงปฏิบัติบ�ำเพ็ญ)  ส่ิงที่จะต้องปฏิบัติหรือ  5 ลงมอื ทำ�   ไดแ้ ก ่ ธรรมทเี่ ปน็ มรรค  โดยเฉพาะสมถะ  และวปิ สั สนา  กล่าวคือ  ประดาธรรมที่เป็นข้อปฏิบัติ  หรือเป็นวิธีการท่ีจะท�ำ  หรือด�ำเนินการเพื่อให้บรรลุจุดหมายแห่งการสลายทุกข์หรือ  ดบั ปัญหา ในส่วนของ  ภาเวตัพพธรรม  ธรรมอันควรเจริญ  หรือพึง  บ�ำเพ็ญน้ัน  ท่านกล่าวถึงมรรค  (สันสกฤต - มรฺค,  บาลี - มคฺค)  คือ  หนทางสู่ความดับทุกข์  เป็นหนึ่งใน  ๔  จึงเรียกอีกอย่างว่า  ทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา  หรอื การลงมอื ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหพ้ น้ จากทกุ ข ์ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ  ๘  ประการ  อรยิ มรรคมอี งค ์ ๘  หรอื   มชั ฌมิ าปฏปิ ทา  ทางสายกลาง  หรอื   ทางดำ� เนนิ ชวี ติ อนั ประเสรฐิ   ซง่ึ ทา่ นเรยี กเปน็   “องค”์   ม ี ๘  องคม์ ารวมกนั   และเมอื่ จะแบง่ ยอ่   เป็น  “ขันธ์”  จะประกอบด้วย  ๓  ขันธ์  คือ  ศีลขันธ์  สมาธิขันธ ์ และปัญญาขันธ์ โดย  ทั้ง  ๓  ขันธ์  น้ี  จะประกอบด้วยส่วนของอริยมรรค  มีองค์  ๘  หรือ  ทางด�ำเนินอันประเสริฐ  ๓  ส่วน  คือ  ส่วนของ  ศลี ขนั ธ ์ ไดแ้ ก ่ สมั มาวาจา  (วาจาทถ่ี กู ตอ้ ง)  หมายถงึ   การเวน้ จาก  การพูดเท็จ  หยาบคาย  ส่อเสียด  และเพ้อเจ้อ,  สัมมากัมมันตะ  (การปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ตอ้ ง)  หมายถงึ   เจตนาละเวน้ จากการฆา่   โจรกรรม  และการประพฤตผิ ดิ ในกาม  และ  สมั มาอาชวี ะ  (การหาเลยี้ งชพี   ท่ีถูกต้อง)  หมายถึง  การเว้นจากมิจฉาชีพ  ส่วนของ  สมาธิขันธ ์ ไดแ้ ก ่ สมั มาวายามะ (ความเพยี รทถ่ี กู ตอ้ ง) หมายถงึ  ความเพยี ร ๔  คือ  ความพยายามป้องกันอกุศลท่ียังไม่เกิด  ละอกุศลท่ีเกิดข้ึน  แลว้  ทำ� กศุ ลทยี่ งั ไมเ่ กดิ  และดำ� รงรกั ษากศุ ลทเี่ กดิ ขน้ึ แลว้ , สมั มาสติ

ปสญั ศมีลญาธาิ (การมีสติท่ีถูกต้อง)  ได้แก่  สติปัฏฐาน  ๔  หมายถึง  มีสติในกาย เวทนา  จิต  และ  ธรรม,  สัมมาสมาธิ  (การมีสมาธิที่ถูกต้อง) หมายถึง  ฌาน  ๔  ในส่วนของปัญญาขันธ์  ได้แก่  สัมมาทิฏฐิ (ความเหน็ ทถี่ กู ตอ้ ง)  หมายถงึ   ความรใู้ นอรยิ สจั   ๔  และ  สมั มา- สงั กปั ปะ  (ความคดิ ทถี่ กู ตอ้ ง)  หมายถงึ   ความคดิ ในการออกจาก กาม  ความไมพ่ ยาบาท  และการไม่เบียดเบยี น ในส่วนของการแบ่งอริยมรรคมีองค์  ๘  แยกออกเป็นขันธ์ ๓  กอง  ได้แก่  ศีลขันธ์  สมาธิขันธ์  และปัญญาขันธ์นั้น  ในภาค การปฏบิ ตั แิ ลว้   ตอ้ งใชร้ ปู นามขนั ธ ์ ๕  เปน็ ทต่ี ง้ั ลงแหง่ ธรรมตา่ งๆ เพื่อความรู้แจ้งตามความเป็นจริงและเข้าถึงสัจธรรมตามล�ำดับ ซึ่งเมื่อได้พัฒนา  ศีลขันธ์  สมาธิขันธ์  และปัญญาขันธ์ได้แล้ว 6 จะไดเ้ พมิ่ เตมิ อกี   ๒  ขนั ธ ์ คอื   วมิ ตุ ตขิ นั ธ ์ และวมิ ตุ ตญิ าณทศั น-  ขนั ธ ์ เปน็ อนั ครบ  ๕  ขนั ธ ์ ทค่ี วรท�ำใหแ้ จง้   โดยอาศยั ขนั ธ ์ ๕  นี้ เม่ือกล่าวในมุมมองของการปฏิบัติการจริง  ท่านใช้ค�ำว่า “สกิ ขา”  สอื่ ถงึ การศกึ ษา  พฒั นา  โดยยอ่ สว่ นของกจิ อนั ประเสรฐิ ท่ีต้องบ�ำเพ็ญ  หรือ  อริยมรรคมีองค์  ๘  หรือ  มัชฌิมาปฏิปทา ลงเปน็   ไตรสกิ ขา  หรอื   สกิ ขาสาม  หมายถงึ   ขอ้ ทจ่ี ะตอ้ งศกึ ษา, ข้อปฏิบัติที่เป็นหลักส�ำหรับศึกษา  คือ  ฝึกหัดอบรมกาย  วาจา จิตใจ  และปัญญา  ให้ย่ิงข้ึนไปจนบรรลุจุดหมายสูงสุดคือ พระนพิ พาน  ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ต่ี อ้ งศกึ ษา  ๓  อยา่ ง  คอื   ๑.  อธสิ ลี สกิ ขา (สกิ ขาคอื ศลี อนั ยงิ่ )  ขอ้ ปฏบิ ตั สิ ำ� หรบั ฝกึ อบรมในทางความประพฤติ อยา่ งสงู   ๒.  อธจิ ติ ตสกิ ขา  (สกิ ขาคอื จติ อนั ยง่ิ )  ขอ้ ปฏบิ ตั สิ ำ� หรบั ฝึกหัดอบรมจิตเพ่ือให้เกิดคุณธรรม  เช่นสมาธิอย่างสูง  ๓.  อธิ- ปญั ญาสกิ ขา  (สกิ ขาคอื ปญั ญาอนั ยง่ิ )  ขอ้ ปฏบิ ตั สิ ำ� หรบั ฝกึ อบรม

อ. วศนิ อนิ ทสระ ปญั ญา  เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรแู้ จง้ อยา่ งสงู   เรยี กงา่ ยๆ  วา่   ศลี   สมาธิ 7 ปัญญา เมื่อท่านได้ฟังค�ำว่า  ทาน  ศีล  ภาวนา  กับ  ศีล  สมาธิ  ปัญญาน้ี  ก็ให้ทราบว่า  ที่จริงเป็นระบบอันเดียวกัน  แต่เราแยก เพื่อให้เห็นจุดเน้นที่ต่างกัน  ส�ำหรับคฤหัสถ์จะเน้นด้านนอก จัดเป็นทาน  ศีล  ภาวนา  แต่ส�ำหรับพระสงฆ์จะเน้นด้านใน  วาง หลกั เปน็   ศลี   สมาธ ิ ปญั ญา  อนง่ึ   ชอื่ เรยี กกค็ ลา้ ยๆ  กนั   ชดุ   ศลี สมาธ ิ ปญั ญา  (ไตรสกิ ขา  ไตร  แปลวา่   ๓  สกิ ขา  คอื   การศกึ ษา รวมเปน็ ไตรสิกขา  แปลวา่   การศึกษา  ๓  อย่าง) สว่ นชดุ ทาน  ศลี   ภาวนา  เรยี กชอื่ ตา่ งไปนดิ หนงึ่ วา่   ปญุ ญ- สิกขา  หรือ  บุญสิกขา  ก็คือ  การฝึกฝนในเร่ืองความดี  หรือการ ฝึกหัดท�ำความดีน่ันเอง  ปุญญ = ความดี  สิกขา = การฝึกอบรม คือการฝึกฝนปฏิบัติอบรมในเร่ืองความดี  การท�ำให้คนเจริญ งอกงามขนึ้ ในความดตี า่ งๆ  ดว้ ยทาน  ศลี   ภาวนา  แตเ่ มอ่ื ปฏบิ ตั ิ ธรรมตามหลกั ไตรสกิ ขา  หรอื บญุ สกิ ขา  ๓  ประการ  อยา่ งถกู ตอ้ ง ดีแล้ว  ก็จะมาบรรจบ  เข้าถึงชีวิตที่ดีงาม  มีความสุขที่แท้จริง โดยเขา้ ถึงธรรมและความสุขไดจ้ นถงึ ทส่ี ดุ   ที่ได้กล่าวมาทั้งหมดน้ี  เป็นการสรุปประมวลความรู้ความ เขา้ ใจจากการอา่ นและการฟงั ธรรมบรรยาย  ของ  ทา่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย ์ (ป.อ.  ปยตุ โฺ ต)  ทเ่ี มตตาอธบิ ายแผนที่ ทางเดินอันประเสริฐไว้อย่างชัดเจน  ในการจัดท�ำหนังสือเล่มน้ี ชมรมกัลยาณธรรมมุ่งหวังให้ทุกท่านได้เห็นภาพรวมของชีวิตที่ ควรจะเป็น  และควรได้ควรถึง  ในฐานะของผู้มีพระรัตนตรัย

ปสัญศมลีญาธาิ อันประเสริฐเป็นสรณะ  ศีล  สมาธิ  ปัญญา  ทางด�ำเนินสู่ชีวิต ประเสรฐิ นน้ั  มรี ายละเอยี ดมากมาย โดยทา่ นอาจารยว์ ศนิ  อนิ ทสระ มีเมตตาอธิบาย  แจกแจงไว้อย่างละเอียด  เข้าใจง่าย  ให้เราได้ ตระหนักในคุณค่า  ความส�ำคัญ  ขอให้ทุกท่านสละเวลา  ค่อยๆ เก็บรายละเอียดและท�ำความเข้าใจในแต่ละส่วน  เพ่ือให้สม ประโยชน์แหง่ การเปน็ ชาวพุทธ ขอกราบขอบพระคุณในเมตตาของท่านอาจารย์วศิน อินทสระ  ที่ได้บรรยายธรรมชุดน้ีไว้ทางรายการวิทยุนานมาก แล้ว  และมีคณะศิษย์ผู้ศรัทธาเห็นประโยชน์  ช่วยกันถอดเทป เรยี บเรียง  จัดท�ำเป็นหนังสือ  แต่หนังสือนั้นได้หมดไปนานแล้ว ชมรมกัลยาณธรรมเห็นคุณค่า  ไม่อยากให้ธรรมนิพนธ์อันเป็น 8 “เพชรแห่งธรรม”  ชุดนี้สูญหายจากแวดวงของพุทธบริษัทผู้มี บุญวาสนาบารมี  มุ่งแสวงหาและบ�ำเพ็ญตนเพ่ือความหลุดพ้น จงึ ไดข้ ออนญุ าตจดั พมิ พเ์ ผยแผใ่ หก้ วา้ งขวางอกี ครง้ั   หวงั วา่ ผอู้ า่ น ทกุ ทา่ นจะไดร้ บั ประโยชน ์ เปดิ ดวงตาแหง่ ธรรม  มหี ลกั ปฏบิ ตั เิ พอื่ ความพ้นทุกขท์ ่ีแจม่ แจง้ โดยท่ัวกัน บญุ กศุ ลอนั พงึ บงั เกดิ จากธรรมทานน ้ี ขอนอ้ มบชู าอาจรยิ คณุ แดท่ า่ นอาจารยว์ ศนิ   อนิ ทสระ  ครผู เู้ ปย่ี มลน้ ดว้ ยเมตตา  ตน้ แบบ ของผดู้ ำ� เนนิ บนหนทางแห่งชีวิตอันประเสรฐิ   กราบขอบพระคณุ พระอาจารย์มหากีรติ  ธีรปัญโญ  ท่ีท่านสละเวลาช่วยตรวจทาน ตน้ ฉบบั   และมเี มตตาตอ่ ศษิ ยเ์ สมอมา  ทำ� ใหก้ ารพมิ พห์ นงั สอื ธรรม ทตี่ อ้ งมคี าถาภาษาบาลปี ระกอบ  มีความมั่นใจและหมดกังวลว่า จะผิดพลาดตกหล่น  ในการใช้ภาษาของพระพุทธเจ้า  สืบทอด พระธรรมอนั ประเสริฐอย่างถกู ตรง  ทัง้ อรรถและพยัญชนะ

อ. วศนิ อินทสระ ดว้ ยอานสิ งสแ์ หง่ ธรรมทานจากปญั ญาธรรมและความเมตตา ของครูบาอาจารย์  ขอน้อมถวายเป็นพุทธบูชา  และน้อมบูชา อาจรยิ คณุ   ครบู าอาจารยท์ กุ รปู   ทกุ ทา่ น  ทไี่ ดส้ บื สานสายธารธรรม ให้เป็นแสงสว่างพลังใจอันประเสริฐของเหล่าเวไนยสัตว์ต่อเน่ือง ยาวนานมา  ขอให้ทุกท่านผู้เปิดใจใฝ่ธรรม  จงได้รับประโยชน์ จากการศึกษาและน้อมน�ำไปปฏิบัติ  เป็นแนวทางด�ำเนินแห่ง อรยิ มรรคมอี งค ์ ๘  เพอื่ เขา้ ถงึ ความสขุ อนั มคี ณุ ภาพขนึ้ ตามลำ� ดบั สงบ  ดับร้อน  ร่มเย็นด้วยธรรม  และแผ่ขยายความสุข  ความ เจรญิ   ทง้ั กาย  ใจ  ทงั้ ในปจั จบุ นั   และความเจรญิ ยง่ิ ทางจติ วญิ ญาณ คือพระนิพพาน  จงท่ัวกัน  ทกุ ทา่ น  เทอญ ทพญ.อัจฉรา  กล่นิ สุวรรณ์ 9 ประธานชมรมกัลยาณธรรม วนั มหาสงกรานต ์ ๒๕๖๒

ปสญั ศมีลญาธาิ คํ า น ํ า ใ น ก า ร พ ิ ม พ ์ ค รั ้ ง ท ี่ ๑ หนงั สอื เลม่ น ้ี เปน็ ผลงานการบรรยายทางวทิ ยกุ ระจายเสยี ง ณ  สถานีวิทยุกองพลทหารม้าที่  ๒  ในรายการเสียงธรรมจาก มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั   ชอื่ รายการ  “วเิ คราะหธ์ รรม” ซึง่ ไดบ้ รรยายตามตัวอกั ษร  เรมิ่ ต้นดว้ ยอกั ษร  ก. 10 เรื่อง  ศีล  สมาธิ  ปัญญา  (หลักการศึกษาทางพระพุทธ- ศาสนาเพอ่ื พฒั นาชวี ติ )  น ี้ เปน็ ชดุ คำ� บรรยาย  ทอ่ี ยใู่ นกถาวตั ถ ุ ๑๐ (กถาวตั ถ ุ =  ถอ้ ยคำ� ทค่ี วรพดู   ควรนำ� มาสนทนากนั )  ตดั มาพมิ พ์ เฉพาะ  สีลกถา  สมาธิกถา  และปัญญากถา  ตามศรัทธาปสาทะ ของศิษย์ผู้ออกทุนในการพิมพ์  แล้วยังได้ช่วยเหลืออีกนานัปการ ให้หนังสือเล่มนี้ออกมาได้  ต้ังแต่ถอดเทปและพิมพ์ต้นฉบับ รวมทงั้ พสิ จู น์อักษรในหนแรก  จงึ นา่ อนโุ มทนาย่ิงนกั ศีล  สมาธิ  ปัญญา  เป็นการรวมตัวของมรรคมีองค์  ๘ ซึ่งเป็นวิถีชีวิตของชาวพุทธ  และเป็นทางสายกลาง  ด�ำเนินสู่ ความดบั ทกุ ข์  เพ่อื สขุ อันสมบูรณ์ มนษุ ยเ์ ราตอ้ งการพน้ ทกุ ขก์ นั ทกุ คน  แตเ่ มอ่ื ไมร่ ทู้ าง  เขาจะ พน้ ทกุ ขไ์ ปไดอ้ ยา่ งไร  เมอื่ ทางอนั ถกู ตอ้ ง  และดำ� เนนิ ตามทางนนั้ ทุกข์จึงจะลดลง  ทุกข์ลดลงมากเท่าใด  สุขก็เพ่ิมมากขึ้นตาม

อ. วศิน อินทสระ สดั สว่ น  โดยนยั นี้  เราไม่ตอ้ งแสวงหาสขุ ก็ได้  เพียงแตท่ ำ� อยา่ งไร 11 ให้ทุกข์ลดลงก็พอแล้ว  ชีวิตจะดำ� เนินสู่ความสะอาด  สงบ  และ สว่าง  ได้เห็นความงามแห่งชีวิต  ซึ่งมีศีล  สมาธิ  และปัญญา เป็นเคร่ืองประดับอันล�้ำเลิศ  เราจะรู้สึกว่า  ชีวิตมีค่าขึ้น  เม่ือมี ธรรมเพม่ิ ขนึ้   คณุ คา่ ทางวตั ถ ุ เปน็ สง่ิ ทเ่ี จอื ดว้ ยอนั ตราย  แตค่ ณุ คา่ ทางธรรม  เปน็ คณุ คา่ ทบ่ี รสิ ทุ ธ์แิ ละปลอดภยั ศีล  สมาธิ  ปัญญา  เป็นองค์ธรรมท่ีเป็นเพียงทางไม่ใช่ จุดหมายปลายทาง  จุดหมายปลายทางคือวิมุตติ  ความหลุดพ้น จากเคร่ืองผูกพันท้ังปวง  สู่เสรีภาพอันสมบูรณ์  ท่านผู้อ่าน หนังสือนี้ด้วยโยนิโสมนสิการ  คงได้รับประโยชน์ตามสมควร สมความมุ่งหมายของผู้บรรยายและผู้จัดพิมพ์  ขออวยพรให้ ผู้ออกทุนจัดพิมพ์  ได้รับการคุ้มครองโดยธรรม  ประสบสุข อันสมบูรณ ์ และขอจบกถามขุ น้ี  ด้วยการตง้ั ความปรารถนาวา่ ขอใหผ้ ู้มีทกุ ขจ์ งพ้นทุกข ์ (ทุกขฺ ปปฺ ตฺตา  จ  นิททฺ ุกฺขา) ขอผมู้ ีภยั จงพน้ ภัย  (ภยปฺปตตฺ า  จ  นิพภฺ ยา) ขอพระสัทธรรมจงด�ำรงอยู่ย่ังยืน  เพ่ือประโยชน์เกื้อกูล และความสขุ แกส่ ตั วโ์ ลกทง้ั ปวง  (จริ  ํ ตฎิ ฺ ต ุ สทธฺ มโฺ ม  ;  สพเฺ พส ํ สหิโต  โหติ  สทฺธมโฺ ม  สปุ ติฏฺิโต) ดว้ ยความปรารถนาดีอยา่ งยงิ่ ๑๕  พฤษภาคม  ๒๕๔๒

ปสัญศมีลญาธาิ ค ํ า นํ า ใ น ก า ร พิ ม พ ์ ค รั้ ง ท่ ี ๒ สำ� นกั พมิ พบ์ รรณกจิ   ขออนญุ าตพมิ พห์ นงั สอื   ๓  เรอ่ื ง  คอื ๑.  คุณพระรตั นตรยั และการเข้าถึง  ๒.  ศีล  สมาธ ิ ปัญญา  และ ๓.  พุทธปฏิภาณ  (พระปัญญาในการเทศนาและการโต้ตอบ ของพระพุทธเจ้า)  ข้าพเจ้าอนุญาตด้วยความยินดี  คิดว่าด้วย ความปรารถนาดีและความเพียร  ความมุ่งมั่นของคุณสมศักดิ์ เตชะเกษม  แห่งส�ำนักพิมพ์บรรณกิจ  หนังสือทั้ง  ๓  เล่ม  จักได้ แพร่หลายสู่ท่านผู้อ่านมากข้ึน  เป็นการช่วยกันเผยแผ่พระพุทธ- 12 ศาสนา  อันเป็นวิถีแห่งการครองชีวิตท่ีประเสริฐและเป็นศิลปะ ในการลดทกุ ขอ์ ยา่ งยอดเยย่ี ม ผู้ร่วมมือกันท�ำย่อมประสบบุญเป็นอันมากประมาณมิได้ เพราะธรรมน่ันแลประเสริฐที่สุดในหมู่ชน  ทั้งในปัจจุบันและ ภายหนา้   (พระพทุ ธพจนใ์ นอคั คญั ญสตู ร)  ขา้ พเจา้ หวงั วา่ หนงั สอื ดงั กลา่ ว  จะใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั หลกั ธรรมทางพระพทุ ธ- ศาสนาเพิ่มขึ้นตามสมควร  พร้อมกันนี้  ขอส่งความปรารถนาดี มายงั ทา่ นผอู้ า่ นทกุ ทา่ น  ขอใหท้ า่ นมคี วามสขุ   ปราศจากทกุ ขภ์ ยั ท้งั ปวงตลอดกาล ๒๙  มกราคม  ๒๕๔๓

ส า ร บ ั ญ ๒๑ ๒๓ 13 ๑ศ ี ล ก ถ า ๒๖ ๑๗ ๒๗ ๒๘ ความสำ� คัญของศลี ๓๒ ศีลคืออะไร ๓๓ วริ ตั ิ ๓๓ รากฐานของศลี   คือ  ธรรม ๓๕ ประเภทของศีล ๓๙ อเนสนา - ปรกิ ถา ๔๓ ความเศร้าหมอง - ผ่องแผ้วของศลี ๔๗ ศลี ขาด  ศลี ทะล ุ ศลี ดา่ ง  ศลี พร้อย โทษของความเปน็ ผทู้ ศุ ีล ผู้มีศีลมีธรรมกับผ้ากาสี อานสิ งสข์ องศีล สุขสมุทยั

ปสัญศมีลญาธาิ ๒ส ม า ธ ิ ก ถ า ๕๑ สมาธติ ามรูปแบบ ๕๕ สมาธโิ ดยเน้อื หาสาระ ๕๘ เบ้อื งต้นของสมาธิ ๖๑ วนั แม่ ๖๓ การปฏิบตั ิธรรมคอื อะไร ๖๗ มงคลสูตร ๖๙ ความด�ำริเปน็ สง่ิ สำ� คญั ๗๑ 14 แก่นในพทุ ธศาสนา ๗๒ ๗๓ ปรมตั ถธรรมคืออะไร ๗๔ อาการ  ๓๒ ๗๕ เถรส่องบาตร ๗๘ ธรรมสมาธิ - จติ สมาธิ - วิปสั สนาสมาธิ ๘๐ ตัณหานสุ ยั ๘๒ เอาสมาธิมาใช้ในชีวิตจริง ๘๔ ปปญั จธรรม ๘๕ บญุ กุศลที่สงู สดุ ๘๖ ไมต่ ้องเช่อื ผอู้ น่ื

อ. วศิน อินทสระ ๙๗ ๙๘ ๓ป ั ญ ญ า ก ถ า ๑๐๑ ๙๓ ๑๐๔ ๑๐๕ ปัญญาคืออะไร ๑๑๓ แหล่งเกดิ ของปัญญา ๑๑๗ ลกั ษณะของปญั ญา ๑๑๙ 15 คุณธรรมสูงสุด พุทธวิธใี นการสอน ๑๒๕ ท�ำอย่างไรทุกข์จงึ จะไม่เกดิ ขน้ึ เร่ืองเกวฏั ฏะ ๑๒๗ นกหาฝ่ัง ๑๓๑ ผา้ จำ� นำ� พรรษา ๑๓๓ อยอู่ ย่างสงบในยามทกุ ข์  ๑๓๗ ๑๔๐ ใช้ชีวติ อยา่ งมปี ระโยชน์ในยามสุข ๑๔๒ สถานสอนศาสนาแหง่ แรก ๑๔๕ เช่ือกรรม  แก้กรรม ธรรมส�ำหรับผ้สู งู อายุ เสนกบณั ฑติ ยือคงุ ยา้ ยภูเขา ใช้ปญั ญาน�ำชวี ติ

ปสัญศมีลญาธาิ 16

อ. วศนิ อนิ ทสระ ๑ 17 ศี ล ก ถ า

ปสัญศมีลญาธาิ 18

อ. วศิน อินทสระ ท ่ า น บ อ ก ว ่ า   ทุ ก ข ์ ภั ย อ อ ก จ า ก ป า ก โรคภยั เขา้ ทางปาก ทา่ นคงเคยไดย้ นิ  โรคภยั เข้าทางปาก อาหารการกิน ถ้าระวังโรคภัย  กน็ อ้ ย ถา้ ไมร่ ะวงั เรอื่ งอาหารการกนิ  โรคภยั   19 กม็ ากขน้ึ  ทมี่ อี ยแู่ ลว้  กจ็ ะมมี ากขน้ึ  ทกุ ขภ์ ยั ออกจากปาก ถ้าปากไม่ดี ปากบาป ไม่ใช ่ ปากบญุ



๑ ศี ล ก ถ า * ความส�ำคญั ของศลี มาถึงกถาวัตถุ  ถ้อยค�ำท่ีควรพูด  ข้อท่ี  ๖  คือ  สีลกถา กถาที่ว่าด้วยศีล  ถ้อยค�ำที่ชักน�ำกันให้พอใจในศีล  ให้รักษาศีล ใหเ้ ปน็ ผทู้ ม่ี ศี ลี   พดู กนั   สนทนากนั ในเรอ่ื งศลี   เชน่ วา่   ศลี คอื อะไร รักษาศีลอย่างไร  อานิสงส์ของศีลเป็นอย่างไร  รักษาศีลแล้ว ไดอ้ ะไร  ทำ� นองนก้ี เ็ ปน็ สลี กถา  ซงึ่ มนั กม็ คี วามสำ� คญั อยไู่ มใ่ ชน่ อ้ ย เพราะเร่ืองศีลเรื่องธรรมเป็นเรื่องมีความส�ำคัญอย่างย่ิงในชีวิต ของคนเรา  ถา้ ไมม่ ศี ลี ไมม่ ธี รรมเสยี แลว้   กจ็ ะเดอื ดรอ้ นกนั ไปหมด อยู่ในสังคมล�ำบากมาก  แม้เราจะเป็นคนมีศีล  แต่ไปอยู่ในสังคม ของคนไม่มีศีล  ก็จะเดือดร้อนเหมือนกัน  เพราะฉะนั้น  เมื่อเรา *  บรรยายธรรมในรายการเสียงธรรมจากมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ณ  สถานีวิทยุกองพลทหารม้าที่  ๒  เอเอ็ม  ความถ่ี  ๙๖๓  กิโลเฮิทซ์  รายการ วิเคราะห์ธรรม  วนั อังคารท่ี  ๗  ก.ค.  ๒๕๔๑  เวลา  ๒๐.๐๐ - ๒๐.๓๐  น.

ปสญั ศมีลญาธาิ มีศีลแล้ว  ก็มีความจ�ำเป็นต้องให้คนอ่ืนมีศีลด้วย  มิเช่นน้ันแล้ว ก็จะเดือดร้อน  รักษาศีลอยู่คนเดียวก็คงไม่ได้  ช่วยกันรักษาศีล ในสงั คม  ใหเ้ ป็นศลี ของสังคม  ไม่ใชข่ องคนใดคนหน่งึ โดยเฉพาะ ถ้าสังคมไม่มีศีล  ไม่มีธรรมแล้ว  อยู่กันยาก  อยู่กันลำ� บาก สังคมมนุษย์เรา  เดือดร้อนวุ่นวาย  ด้วยเหตุผลหลายประการ เชน่ วา่   ความยากจน  ความขดั แยง้   ทะเลาะววิ าทกนั   สงั คมมนษุ ย์ มีความขัดแย้งมาก  สาเหตุส�ำคัญประการหน่ึงที่เรามักจะมอง ข้ามไปก็คือ  การท่ีคนในสังคมของเราขาดการควบคุมตนด้วยศีล ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น  ทางร่างกายบ้าง  ทางวาจาบ้าง  ทาง ทรพั ยส์ นิ บา้ ง  มนษุ ยจ์ งึ รสู้ กึ หวาดหวน่ั พรน่ั พรงึ   รสู้ กึ ไมป่ ลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สิน  ถ้าคนในสังคมของเรา  ควบคุมตนได้ด้วย 22 ศีล  ไม่ประทุษร้ายกัน  ทางกาย  ทางวาจาแล้ว  สังคมของเรา จะน่าอย่กู ว่าน้ีมาก วันน้ีมีข่าวใหญ่น่าหวาดเสียว  มีการปล้นทรัพย์กันเป็น จ�ำนวนล้านที่ไปรษณีย์  อันน้ีก็เป็นเร่ืองท่ีน่ากลัวมาก  เจ้าหน้าที่ ธนาคารไปรับเงินแล้วถูกปล้น  จนป่านนี้  ไม่ทราบว่าจับผู้ร้าย ได้แล้วหรือยัง  เขาก็มีกันทุกวัน  การฆ่ากันบ้าง  การปล้นทรัพย์ กนั บา้ ง  การทำ� รา้ ยรา่ งกายบา้ ง  ถา้ ตงั้ ใจทจี่ ะเปน็ คนมศี ลี   กร็ กั ษา ศีล  ก็ไม่มีเหตุร้ายเหล่าน้ีเกิดขึ้น  ศีลจะมารักษาคน  รักษา สังคม  เพราะฉะน้ัน  ถ้าช่วยกันต้ังอกต้ังใจรักษาศีล  รักษาธรรม ก็จะดีข้ึน  ถึงจะอยู่กันอย่างยากจน  แต่ไม่เดือดร้อน  ถ้าไม่มีศีล ไมม่ ธี รรม  ถงึ จะมง่ั ม ี มเี งนิ มที อง  กห็ วาดหวนั่ พรนั่ พรงึ   เดอื ดรอ้ น กันไป  ไม่ไวว้ างใจกนั

อ. วศนิ อินทสระ ศลี คอื อะไร 23 ศีล  คือ  เจตนาที่จะงดเว้นจากความช่ัว  ทางกาย  ทาง วาจา  และทางใจด้วย  เจตนางดเว้น  ทุจริตทางกาย  ทางวาจา ทา่ นเรยี กวา่   เจตนาศลี   การงดเวน้ จากมโนทจุ รติ   ความชว่ั ทางใจ ๓  อย่าง  ท่านเรียกว่า  เจตสิกศีล  คือศีลที่เก่ียวกับใจโดยตรง แม้ไม่ได้ท�ำด้วยกาย  ด้วยวาจา  ก็ท�ำให้ศีลทางใจขาดได้  ได้แก่ มโนทุจริต  ๓  อยา่ งคอื อภิชฌา  แปลว่า  โลภ  อยากได้ของคนอื่นในทางทุจริต บางทที า่ นตามมาด้วยคำ� วา่   วสิ มโลภะ รวมเปน็   อภชิ ฌาวิสมโลภะ  คือ  ความโลภ  อยากไดข้ อง ผู้อื่นในทางทุจรติ   ไมช่ อบธรรม  พยาบาท  คดิ ปองรา้ ยผอู้ ่นื มิจฉาทิฏฐิ  เห็นผิดจากท�ำนองคลองธรรม  เช่น  เห็นว่า ความดีไม่มี  ความชั่วไม่มี  ท�ำดีไม่ได้ดี  ท�ำช่ัวไม่ได้ชั่ว  เป็นต้น คิดอย่างนี้เป็นมโนทุจริต  เป็นบาปทางใจ  ส่วนที่เป็นประพฤติ ออกมาทางกาย  ทางวาจา  ก็เป็นกายทุจริต  วจีทุจริต  ถ้าเว้น กายทจุ รติ   เวน้ วจที จุ รติ เสยี ได ้ จดั เปน็ เจตนาศลี   เวน้ ทจุ รติ ทางใจ นั้นเปน็   เจตสิกศลี เพราะฉะนน้ั   ในชวี ติ ประจำ� วนั   เรากต็ อ้ งระวงั   คอื ทำ� กาย ใหเ้ ป็นบุญ  ท�ำปากใหเ้ ปน็ บญุ   ทำ� ใจให้เปน็ บุญ  ทา่ นมโี คลงกล่าวไว้  น่าสนใจนะครับ 

ปสญั ศมีลญาธาิ ปากบญุ เผยพจน์ได ้ ยศศักด์ ิ สนิ นา ญาตมิ ติ รสหายนายรัก โอบออ้ ม ปากบาปพร�่ำพลอดรัก จอดทุกข์  ระทมแฮ จะเสือ่ มสนิ ศักด์ิพรอ้ ม ชาติเช้อื   ตนเอง (สุภาษิตจากโลกนิต)ิ ท่านบอกว่า  ทุกข์ภัยออกจากปาก  โรคภัยเข้าทางปาก ท่านคงเคยได้ยิน  โรคภัยเข้าทางปาก  อาหารการกิน  ถ้าระวัง โรคภัยก็น้อย  ถ้าไม่ระวังเรื่องอาหารการกิน  โรคภัยก็มากขึ้น ท่ีมีอยู่แล้ว  ก็จะมีมากข้ึน  ทุกข์ภัยออกจากปาก  ถ้าปากไม่ดี ปากบาป  ไม่ใช่ปากบุญ  เพราะฉะน้ัน  ท่านบอกว่า  อยู่คนเดียว  ใหร้ ะวงั ความคดิ   อยใู่ นหมมู่ ติ ร  ใหร้ ะวงั คำ� พดู   คอื   ระวงั วาจา  24 เมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้น  ให้ระวังอารมณ์  เม่ือมีอารมณ์  ให้ระวัง การกระท�ำ  เมื่ออยู่ในชุมชน  ให้ระวังความประพฤติ  อันนี้ เก่ียวกับศีลทง้ั นน้ั เคยพบค�ำย่อในภาษาอังกฤษ  ใช้ค�ำว่า  “WATCH”  ที่ แปลวา่   นาฬกิ าข้อมือ  นาฬิกาพก  ทา่ นบอกวา่ ในชวี ติ ประจำ� วนั ให้ดูนาฬิกาขอ้ มอื   ใหด้ นู าฬิกาพกเอาไว้  WATCH  ยอ่ มาจาก W  =  Word  ระวังค�ำพูดในชีวิตประจ�ำวัน  พูดดี ได้ทรัพย์สิน  พูดไม่ดี  เสียมิตร  เสียสหาย  เสียทรัพย์  เสียสิน จนถงึ เสียคน A  =  Action  การกระท�ำ  ให้ระวังการกระทำ� T  =  Thought  ความคดิ   ระวังความคดิ C  =  Conduct  ความประพฤติ H  =  Heart  หมายถงึ   อารมณ์

อ. วศิน อินทสระ คนเรา  ถ้าระวังได้เท่าน้ีก็ดีนะ  อยู่ท่ีไหนก็มีความสงบ 25 ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ตนเอง  ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น ระวังค�ำพูด  ระวังการกระท�ำ  ไม่กระท�ำช่ัว  ไม่กระท�ำทุจริต แม้ความคิด  ระวังความประพฤติ  หมายถึง  ท่ีเกี่ยวกับกิริยา มารยาท  ควรพูดจาอ่อนน้อมถ่อมตน  พูดจาอ่อนหวาน  ควรจะ พูด  ควรวางท่าทีกิริยาอย่างไร  ท่ีส�ำคัญอีกอันหนึ่ง  คืออารมณ์ คนเรามักพ่ายแพ้ต่ออารมณ์  เพราะเราต้องพยายามเอาชนะ อารมณ์  ใหเ้ ปน็ คนอย่กู บั เหตุผล  เพราะฉะนน้ั   อยคู่ นเดยี วใหร้ ะวงั ความคดิ   อยใู่ นหมมู่ ติ ร ให้ระวังคำ� พูด  ให้ระวังวาจา  เมื่อมีเหตุการณ์เกิดข้ึน  ให้ระวัง  อารมณ์  เวลาปกติไม่มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น  ก็ไม่เป็นไร พอมีเหตุการณ์อะไรเกิดข้ึน  เกิดอารมณ์ขน้ึ มา  แลว้ กระท�ำอะไร ลงไปในขณะท่มี อี ารมณ์แรง  พลงุ่ พล่านอยู่  จะก่อความเสียหาย ทง้ั แกต่ วั เองและแกผ่ อู้ น่ื   เวลาอยใู่ นชมุ ชน  กร็ ะวงั ความประพฤติ ถ้ามีอารมณ์ก็ระวังการกระท�ำ  อย่ากระท�ำอะไรไปด้วยอารมณ์ ใหร้ จู้ กั สงบจติ สงบใจเสยี กอ่ น  เกยี่ วกบั เรอ่ื งศลี ทางกาย  ทางวาจา และทางใจ  ทเี่ รียกว่า  เจตนาศีล  กับ  เจตสกิ ศีล

ปสัญศมลีญาธาิ วิรัติ ทเี่ ราพดู กนั วา่   เวรมณ ี เวลาสมาทานศลี   กค็ อื   วริ ตั  ิ นนั่ เอง เชน่   ปาณาตปิ าตา  เวรมณ ี สกิ ขา  ปทงั   สมาทยิ าม ิ ขอสมาทาน สิกขาบท  คือ  เจตนางดเว้นจากการฆ่าสัตว์  วิรัติ  หรือ  เวรมณี ท่านให้ไว ้ ๓  อยา่ งคอื (๑)  สมาทานวิรัติ  งดเว้นด้วยการสมาทาน  คือตั้งใจไว้ เช่น  ตั้งใจไว้ว่าจะไม่ฆ่าสัตว์  จะไม่ลักทรัพย์  จะไม่ประพฤติผิด ในกาม  จะไม่พูดเท็จ  จะไม่ดื่มสุราเมรัย  เป็นต้น  แล้วก็เว้นได้ ตามความตง้ั ใจนน้ั   อยา่ งทรี่ บั ศลี ในปจั จบุ นั นค้ี รบั   รบั ศลี   สมาทาน และถือม่ันอยู่ในศีลที่สมาทานน้ัน  คนรักษาศีลต้องมีส่ิงหนึ่ง  ที่ส�ำคัญคือ  สัจจะ  ต้ังใจเอาไว้อย่างไร  แล้วก็ท�ำไปอย่างน้ัน 26 ไมล่ ่วงความต้ังใจ (๒)  สัมปัตตวิรัติ  แปลว่า  งดเว้น  เมื่อได้ประจวบกับ เหตุการณ์ท่ีเป็นเหตุให้ล่วงละเมิดศีล  ไม่ได้ตั้งใจไว้ก่อน  เช่น เหน็ กระเปา๋ สตางค์ของคนอื่นลมื ทงิ้ ไว้  ในทีไ่ ม่มใี ครเหน็ นอกจาก ตัวเอง  ทั้งเป็นเวลาท่ีขาดแคลนทรัพย์ด้วย  เพราะว่าคิดเห็นใจ ผอู้ นื่ จงึ เวน้ เสยี   ไมถ่ อื เอาทรพั ยน์ นั้   ในเรอื่ งอนื่ ๆ  กท็ ำ� นองเดยี วกนั คือเว้นความชั่วนั้นเสียได้  แม้มีโอกาสที่จะท�ำ  แต่ไม่ท�ำ  ท้ังที่ ทุกอย่างเอ้ืออ�ำนวยให้ท�ำได้  แต่ไม่ท�ำ  ด้วยเห็นว่า  เป็นสิ่ง ไม่สมควรที่จะท�ำ  เข้าใจผู้อ่ืน  เห็นใจผู้อื่น  นึกถึงผู้อ่ืน  น้ีก็ เป็นธรรมะ  เพราะพ้ืนฐานของศีล  อยู่ที่ธรรมะ  คนเราไม่มีธรรม ก็ยากท่จี ะรกั ษาศีลได้ (๓)  สมุจเฉทวิรัติ  แปลว่า  การงดเว้นได้อย่างเด็ดขาด ถอนรากถอนโคน  ขอ้ นห้ี มายถงึ   การเวน้ ความชว่ั ของพระอรยิ เจา้

อ. วศิน อนิ ทสระ ซ่ึงท่านได้มา  พร้อมกับการบรรลุอริยมรรค  อริยผล  เช่น พระโสดาบัน  เป็นต้น  ท่านได้มีศีลมาพร้อมกับการได้อริยมรรค อริยผล  มั่นคง  ส�ำหรับปุถุชนก็พออนุโลมได้นะครับ  อนุโลม ความชั่วบางอย่าง  ท่ีต่อมางดเว้นได้เด็ดขาด  และไม่คิดจะทำ� อีก เลย  เชน่   เคยดมื่ สรุ า  เคยสบู บหุ ร ี่ แลว้ เหน็ โทษการตดิ สรุ า  บหุ รี่ แล้วเลิกได้เด็ดขาดตลอดชีวิต  ไม่คิดจะด่ืมอีก  ไม่คิดจะสูบอีก อั น นี้ ก็ อ นุ โ ล ม   เ ป ็ น ส มุ จ เ ฉ ท วิ รั ติ   แ ต ่ ค ว า ม ห ม า ย จ ริ ง   ท ่ า น หมายความถึงข้ันเด็ดขาดของพระอริยเจ้า  ต้ังแต่พระโสดาบัน ข้ึนไป  นม้ี าพร้อมกบั อริยมรรค  อริยผล รากฐานของศลี คอื ธรรม  27 น่าสงสัยไหมครับว่า  เราให้ศีลกันอยู่เป็นประจ�ำ  คน รักษาศีลกันอยู่เป็นอันมาก  ศีล  ๕  ให้กันอยู่มิใช่น้อยเลย  แล้ว คนก็ตั้งใจจะรักษาศีลเหมือนกัน  แต่ท�ำไมคนจึงล่วงศีล  ไม่ข้อใด กข็ อ้ หนง่ึ กนั อยเู่ ปน็ ประจ�ำ  มกี ารปลน้   มกี ารฆา่ กนั   มกี ารพดู เทจ็ มีการด่ืมสุราเมรัยกันอยู่เป็นประจ�ำ  ท�ำไมถึงเป็นอย่างนั้น  นั่น กเ็ พราะวา่   ขาดพื้นฐาน  คือ  ธรรม เพราะฉะน้ัน  ถ้าคนไม่มีธรรม  การรักษาศีลนั้นเป็นไปได้ ยาก  ถ้าคนมีธรรม  การรักษาศีลเป็นไปได้ง่าย  เพราะได้พ้ืนฐาน ของศีล  คือ  ธรรม  คนท่ีมีเมตตากรุณาอยู่เป็นประจ�ำ  ฆ่าสัตว์ ตวั เลก็ ๆ  ยงั ไมไ่ ด ้ จะไปฆา่ คนไดอ้ ยา่ งไร  เมตตากรณุ าน ี้ จะแผไ่ ป ถึงข้ออ่ืนๆ  ได้หมด  จะไปขโมยทรัพย์ของเขาได้อย่างไร  จะไป ประพฤตผิ ดิ ในเรอ่ื งอน่ื ๆ  ไดอ้ ยา่ งไร  เมตตากรณุ า  แมต้ วั เดยี วน้ ี มีเมตตาต่อผู้อื่น  มีเมตตาต่อตัวเอง  กลัวความทุกข์แก่ผู้อื่น 

ปสญั ศมลีญาธาิ ไม่ต้องการให้ความทุกข์เกิดแก่ผู้อ่ืน  อย่างน้ี  ศีลก่ีข้อก็รักษาได้ นอกจากนี้  ก็มีสติ  สัมปชัญญะ  สัจจะ  ความอดทนต่ออารมณ์ ทม่ี ายัว่ ยวนต่างๆ  อนั นก้ี เ็ ปน็ ธรรมทัง้ น้ัน ถ้าไม่อบรมคนให้มีธรรม  คนไม่เข้าหาธรรม  ไม่อบรมจิต ของตนให้มีธรรม  จะไปรักษาศีลได้อย่างไร  เพราะไม่มีพ้ืนฐาน ฉะนน้ั   ตอ้ งใหม้ ธี รรมเปน็ พนื้ ฐานเสยี กอ่ น  จงึ จะรกั ษาศลี ไดส้ ะดวก ไม่เดือดร้อนกับการรักษาศีลเลย  ท่านไม่ต้องรักษาศีลก็ได้  คือ ทา่ นเปน็ ผมู้ ศี ลี   เหมอื นกบั เราปลกู ตน้ ไมเ้ อาไว ้ แลว้ ตน้ ไมเ้ ตบิ ใหญ่ ตน้ ไมร้ กั ษาตนเอง  แลว้ ยงั จะรกั ษาเจา้ ของ  ใหเ้ งารม่ เยน็   ใหด้ อก ให้ผล  ให้ออกซิเจน  ให้อะไรต่างๆ  มากมาย  เรียกว่า  ศีลรักษา คน  คนไมต่ อ้ งรกั ษาแลว้   ตอนแรกกจ็ รงิ นะ  ทค่ี นไปรกั ษาศลี บา้ ง 28 ฝึกใจบา้ ง  พอนานๆ  แลว้   ศลี รกั ษาตน ประเภทของศีล ศลี  มหี ลายประเภทดว้ ยกนั  จะนำ� มากลา่ ว ๕ ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภทท่ี  ๑  วารีตศีล  หมายถึง  ข้อห้าม  พระพุทธเจ้า ทรงห้ามไว้  อย่าท�ำ  ส่ิงใดที่พระพุทธเจ้าห้ามว่าอย่าท�ำ  ใคร ท�ำเข้าก็ผิดศีล  เช่น  ทรงห้ามภิกษุฉันอาหารในเวลาวิกาล  ห้าม ดูมหรสพ  ห้ามฟังเพลง  เป็นต้น  ห้ามคฤหัสถ์เร่ืองด่ืมสุราเมรัย และของมนึ เมา  (มชั ชะ)  และสงิ่ เสพทง้ั หลาย  ทรงชโ้ี ทษไวใ้ หด้ ว้ ย ถ้าท�ำเขา้ ก็ผิด  เรยี ก  วารตี ศลี

อ. วศนิ อินทสระ ประเภทที่  ๒  จารีตศีล  หมายถึง  ข้อท่ีพระพุทธเจ้าทรง 29 อนุญาตเป็นพุทธบัญญัติ  ว่าต้องท�ำ  จารีต  แปลว่า  ประพฤติ ถา้ ไมท่ ำ�   ถอื เปน็ ผดิ   เชน่   ทรงบญั ญตั ใิ หภ้ กิ ษทุ ำ� อโุ บสถปาตโิ มกข์ ทุกก่ึงเดือน  คือ  ๑๕  วันต่อครั้ง  ถ้าพระไม่ป่วย  ไม่ท�ำอุโบสถ สงั ฆกรรม  เฉยๆ  เสยี   เพราะเกยี จครา้ น  หรอื เบอื่ หนา่ ย  อยา่ งน้ี ก็ผิดศีล  เรียกว่า  จารีตศีล  หรืออย่างชาวบ้าน  บางอย่างควรท�ำ แต่ไม่ท�ำ  บางอย่างที่เขาห้ามเอาไว้ก็ชอบท�ำ  ก็ผิดจารีตศีลบ้าง ผิดวารีตศีลบา้ ง ประเภทท ่ี ๓  อาทพิ รหมจรยิ กศลี   อาท ิ แปลวา่   เบอ้ื งตน้ คือศีลท่ีเป็นข้อปฏิบัติเบ้ืองต้น  พรหมจรรย์  หรือศีลท่ีเป็น สว่ นบญั ญตั สิ ำ� หรบั ปอ้ งกนั ความเสยี หาย  เชน่   ศลี   ๒๒๗  สำ� หรบั ภกิ ษ ุ ศลี   ๑๐  สำ� หรบั สามเณร  ศลี   ๕  หรอื ศลี   ๘  สำ� หรบั อบุ าสก อบุ าสกิ า  หรอื ศลี   ๑๐  คอื   กศุ ลกรรมบถ  ๑๐  ของอบุ าสก  หรอื ศีลในองค์มรรค  มีสัมมาวาจา  ๔  เว้นพูดเท็จ  เว้นพูดส่อเสียด เว้นพูดค�ำหยาบ  เว้นพูดเพ้อเจ้อ  สัมมากัมมันตะ  ๓  เว้น ปาณาติบาต  เว้นอทินนาทาน  เว้นกาเมสุมิจฉาจาร  หรือเว้น อพรหมจรรยก์ ไ็ ด ้ สมั มาอาชวี ะ  ๑  ศลี ในองคม์ รรค  นเี่ ปน็   ๘  ขอ้ บางทีท่านใช้ค�ำว่า  อาชีวัฏฐมกศีล  แปลว่า  ศีลท่ีมีอาชีวะเป็น ที่  ๘  คนท่ีไปเข้าสมถวิปัสสนากรรมฐาน  ท่านก็มักจะให้ถือศีลน้ี เพราะเป็นศีลในองค์มรรค  เป็นอธิศีล  (ศีลที่ดียิ่ง  หมายถึง  ศีล ในมรรคมีองค ์ ๘) ประเภทที่  ๔  อภิสมาจาริกศีล  คือศีลที่เกี่ยวกับความ ประพฤต ิ เปน็ มารยาททลี่ ะเมยี ดละไม  เปน็ สมบตั ผิ ดู้  ี อนั นสี้ ำ� คญั ท้ังพระและฆราวาส  ควรจะสนใจเร่ืองน้ีเป็นพิเศษ  บางทีมัวไป

ปสญั ศมีลญาธาิ รักษาศีลอย่างอื่นเป็นข้อๆ  หลายข้อ  เยอะแยะไปหมดเลย  แต่ อภสิ มาจารไมค่ อ่ ยสนใจ  ขาดสมบตั ผิ ดู้  ี จะพดู จา  จะเดนิ   จะเหนิ จะทำ� อะไรทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ผอู้ นื่   หรอื กริ ยิ ามารยาททล่ี ะเมยี ดละไม จะเขา้ หอ้ งน้�ำ  จะปดิ หอ้ งน้�ำ  จะทำ� อะไร  ถา้ มอี ภสิ มาจารกิ ศลี   ก็ จะดดู  ี รจู้ กั เกรงใจผอู้ น่ื   จะเปดิ วทิ ย ุ ทำ� อะไรกแ็ ลว้ แต ่ นกึ ถงึ ผอู้ น่ื กอ่ น  กเ็ ป็นคนทมี่ ีความประพฤติดี  มีมารยาทในสังคม นี้เป็นสิ่งท่ีค่อนข้างส�ำคัญมาก  แต่ก็ถูกปล่อยปละละเลย บางทีในวัด  ในบ้าน  ไม่ค่อยจะระมัดระวังในเร่ืองนี้  ท�ำให้ดู ไม่น่ารัก  ไม่น่านับถือ  ไม่น่าเคารพ  ไม่สนใจกับอภิสมาจาร  ถ้า สนใจอภิสมาจารที่พระพุทธเจ้าท่านสอนเอาไว้  ดีมากเลยครับ ทา่ นสอนไวท้ กุ อยา่ ง  เกย่ี วกบั การพดู จา  การตอ้ นรบั แขก  การอะไร 30 ทกุ อย่าง  ขอใหด้ ๆู   กนั   ใหค้ วามสนใจเป็นพิเศษกับอภิสมาจาร เวลานี้  คนไม่ค่อยจะสนใจกับสมบัติผู้ดี  บอกว่ากินไม่ได้ ท่ีจริงกินได้  เป็นผู้ดีและกินได้  ความเป็นผู้ดี  มิใช่เกิดจากชาติ ก�ำเนิด  อย่างที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสสอนไว้ว่า  คนเราจะเป็น  คนเลว  หรือจะเป็นคนดี  เพราะชาติตระกูลก็หามิได้  แต่เป็น  คนเลวหรือคนประเสริฐ  ก็เพราะการกระท�ำ  กมฺมุนา  วสโล  โหต ิ กมมฺ นุ า  โหต ิ พรฺ าหมฺ โณ  จะเปน็ คนเลวกเ็ พราะการกระทำ� จะเปน็ คนประเสรฐิ กเ็ พราะการกระทำ�   อนั นผ้ี มขอเนน้ เปน็ พเิ ศษ เพราะเป็นสิ่งทท่ี �ำให้คนทอ่ี ยรู่ ว่ มกนั ในสังคม  อยู่กันอย่างสงบสขุ ไม่มเี ร่อื งบาดหมางกนั ประเภทท่ี  ๕  อาชีวปาริสุทธิศีล  ศีลท่ีเก่ียวกับความ บริสุทธ์ิหมดจดของอาชีวะ  อาชีวปาริสุทธิศีล  คือ  ความหมดจด ของอาชีวะ  อาชีวะ  คือ  อาชีพ  ส่ิงที่เกี่ยวกับอาชีพ  มีอาชีพที่

อ. วศนิ อนิ ทสระ บริสุทธิ์  ไม่โกง  ไม่หลอกลวงเขาเล้ียงชีพ  มีความส�ำคัญมาก 31 นะครับ  ในสังคมปัจจุบันมีคอร์รัปช่ันเยอะ  เพราะคนไม่ระวัง ไม่ส�ำรวมอยู่ในศีลข้อนี้  คนเราไม่ค่อยไว้ใจกันในการติดต่อ เกยี่ วขอ้ งทางธรุ กจิ   คอื   ถกู โกง  ถกู ยกั ยอก  เบยี ดบงั   ไมแ่ นใ่ จวา่ อีกฝ่ายหนึ่งจะซื่อตรงในอาชีพหรือไม่  เช่น  ไปซ่อมรถ  ไม่แน่ใจ ว่าเขาซ่ือสัตย์  ซื่อตรง  ซ่อมจริงหรือเปล่า  เปลี่ยนอะไหล่จริง หรือเปล่า  อู่ไหนที่ซื่อสัตย์จริงๆ  ไม่ถึงกับล้มละลาย  ให้ลูกค้า เขาเช่ือถือ  แล้วคนเขาก็มา  ถึงจะได้เงินน้อยหน่อย  ราคาถูก หนอ่ ย  แตว่ า่ ใหเ้ ปน็ ความจรงิ   หรอื แพงกไ็ ดแ้ ตใ่ หจ้ รงิ   หมายความ ว่า  อะไหล่แพงจริง  ไม่เอาเปรียบลูกค้า  ไม่เอาเปรียบคนที่มา ขออาศัยพึ่งพิง  หรือคนค้าขาย  เอาของเลวปนของดี  แล้วขาย อยา่ งเปน็ ของด ี เอาปนคละกนั ไป  แลว้ กข็ ายเปน็ ของด ี โกงตาชงั่ ประกอบอาชีพตบตาผู้ไม่มีความรู้  ไม่ทันเล่ห์เหลี่ยมของคนโกง ในสาขาอาชพี นนั้ ๆ  ยง่ิ กจิ การใหญ ่ ยงิ่ ทำ� สญั ญากนั อยา่ งเขม้ งวด รัดกุม  ควบคุมการท�ำงานกันอย่างเข้มงวดกวดขัน  พอเผลอ  ก็ ถูกโกง  ท่ีต้องควบคุมกันอย่างเข้มงวดกวดขัน  ก็เพราะเหตุที่ว่า พอเผลอก็ถูกโกง  เรื่องแบบนี้น่าสลดใจมากเลย  เสมือนหนึ่งว่า คอยจ้องจะโกงอยูแ่ ลว้ ถ้ามนุษย์เราให้เกียรติแก่ตัวเอง  รู้จักรักศักด์ิศรีของตัวเอง ถอื ศลี ในอาชพี เสยี อยา่ งหนง่ึ   สงั คมของเราจะไวว้ างใจกนั   ถอื ศลี ในอาชีพ  ไม่ว่าจะประกอบอาชีพอะไร  ซื่อสัตย์สุจริตในอาชีพ สนิทสนม  รักใคร่กัน  ประกอบอาชีพร่วมกัน  เข้าใจกัน  เห็นอก เห็นใจกัน  สุขด้วยกัน  ทุกข์ด้วยกัน  ถ้าเป็นอย่างนี้ก็ไว้ใจกันได้ เปน็ สขุ ดว้ ยกนั ทงั้   ๒  ฝา่ ย  สขุ ใจ  สบายใจ  เปน็ ทไ่ี วว้ างใจ  ดกี วา่ มเี งนิ มากแตเ่ ปน็ ทห่ี วาดระแวงของผอู้ น่ื   ไมเ่ ปน็ ทไ่ี วว้ างใจของผอู้ น่ื

ปสัญศมีลญาธาิ และจบลงดว้ ยการถกู ดหู มนิ่ โดยรอบดา้ น  มองหนา้ ใครไมส่ นทิ ใจ เหลียวหน้าไปแล้วสลดหดหู่  เพราะได้ก่อกรรมท�ำเข็ญ  ท�ำชั่ว ไว้มาก  นึกถึงตัวเรา  ก็ไม่อยากให้ใครเขามาโกงเรา  ท�ำไมเรา จึงต้องโกงคนอ่ืน  หรือประกอบอาชีพชนิดที่เอาเปรียบผู้อ่ืน ท�ำอาชีพที่ดีให้เป็นอาชีพทุจริต  ท�ำอาชีพท่ีเป็นบุญให้เป็นบาป น่าเสียดาย  อันนี้ก็ให้ระวังในอาชีวปาริสุทธิศีล  คือศีลที่เก่ียวกับ อาชวี ะ  หรอื อาชีพ  ข้อน้ีสำ� คัญนะครบั อเนสนา - ปริกถา ศีลที่เก่ียวกับอาชีพของพระสงฆ์ยิ่งละเอียด  ไปแสวงหา สิ่งที่ไม่ชอบ  ไม่ควร  ท่านเรียก  อเนสนา  คือแสวงหาปัจจัย 32 เครอ่ื งเลย้ี งชพี อยา่ งไมเ่ หมาะไมค่ วร  ในทางทจุ รติ   บางทชี าวบา้ นทำ� ไมเ่ ปน็ ไร  แตถ่ า้ พระท�ำเข้าถอื เป็นทุจริต อย่าง  ปริกถา  พูดอ้อมๆ  เพ่ือจะให้เขาให้ของแก่ตัว ชาวบ้านท�ำได้  แต่พระพูดไม่ได้  อันน้ีเป็น  อาชีวปาริสุทธิศีล พูดไม่ได้  เช่นว่า  อีกไม่ก่ีเดือนออกพรรษา  ก็จะทอดกฐินแล้ว ชาวบ้านชักชวนกันไปทอดกฐินได้  นาย  ก.  นาย  ข.  นาย  ค. เป็นประธาน  เป็นเจ้าภาพชักชวนคนนั้นคนน้ีไปทอดกฐิน  ทำ� ได้ แต่พระไปชักชวนคนไปทอดกฐิน  ไปบอกว่า  “วัดอาตมายังไม่มี คนทอดกฐนิ ”  พูดแคน่ กี้ ไ็ มไ่ ด ้ กฐินนนั้ เสยี หมดเลย  ไม่เปน็ กฐิน คนไม่ไปทอดกฐินก็ไม่เห็นเป็นอะไร  พระพุทธเจ้าไม่ได้ บัญญัติเอาไว้ว่า  ไม่ทอดกฐินแล้วเป็นอาบัติ  ไม่มีคนทอดกฐิน ก็แล้วไป  สบายดีด้วย  ถ้าไม่คิดว่าการทอดกฐินนั้นเป็นช่องทาง

อ. วศิน อนิ ทสระ ท่ีจะหาเงินทองอะไรมากมาย  ไม่ทอดก็ไม่ทอด  ไม่เห็นเป็นไร รักษาอาชีวะให้บริสุทธิ์เอาไว้ดีกว่า  ชาวบ้านก็เหมือนกัน  รักษา อาชีพให้บริสุทธ์ิเอาไว้  อยู่จนๆ  หน่อยก็ไม่เป็นไร  สบายใจดี  ได้ บริโภคส่ิงทไี่ ด้มาดว้ ยความบรสิ ุทธ์ิ ความเศรา้ หมอง - ผ่องแผว้ ของศลี 33 ศลี เศรา้ หมองไป  เพราะขาดบา้ ง  ทะลบุ า้ ง  ดา่ งบา้ ง  พรอ้ ย บ้าง  ศีลจะผ่องแผ้ว  เพราะไม่ขาด  ไม่ทะลุ  ไม่ด่างพร้อย ศีลเป็นไท  ไม่เป็นทาส  วิญญูชนสรรเสริญ  ตัณหาและทิฏฐิ  ไม่เกาะเก่ียว  และเป็นไปเพ่ือสมาธิ  น่ีเป็นพระพุทธพจน์ใน สาราณียธรรมสูตร  ไม่ขาด  ไม่ทะลุ  ไม่ด่าง  ไม่พร้อย  เป็นไท วิญญูชนสรรเสริญ  ตัณหาและทิฏฐิ  ไม่ลูบคล�ำ  ไม่จับต้อง  และ เปน็ ไปเพอ่ื สมาธิ ศลี ขาด ศีลทะลุ ศีลด่าง ศลี พร้อย ศลี ขาด คอื  ลว่ งศลี พรอ้ มดว้ ยองคข์ าดหมด เชน่  ปาณาตบิ าต มีองค์  ๕  คือ  (๑)  สัตว์มีชีวิต  (๒)  รู้ว่าสัตว์มีชีวิต  (๓)  จิตคิด จะฆา่   (๔)  พยายามในการฆา่   (๕)  สตั วต์ ายดว้ ยความพยายามนน้ั อยา่ งนเี้ รยี กวา่   ศลี ขาด  หรอื วา่ บาดเจบ็ สาหสั  แลว้ ตายในกาลตอ่ มา ในระยะเวลาอันส้ัน  เห็นสุนัขเข้ามา  ใช้ไม้ปาสุนัขถึงบาดเจ็บ ศลี ทะล ุ ถา้ ปาแตไ่ มถ่ กู   ศลี ไมข่ าด  ไมท่ ะล ุ แตศ่ ลี ดา่ งศลี พรอ้ ยนนั้ เชน่ วา่   มเี จตนาในการทคี่ ดิ จะฆา่   แตไ่ มล่ งมอื ท�ำ  ศลี ปาณาตบิ าต ไม่ขาด  แต่พร้อยน้ันคือ  ไมผ่ ่องแผ้ว

ปสัญศมีลญาธาิ ส่วนศีลกรรมบถ  ฝ่ายมโนกรรม  ข้อไม่พยาบาทขาดไป เพราะว่าคิดในการท่ีจะเบียดเบียน  ศีลกรรมบถนี่  เพียงแต่คิด ก็ขาดแล้ว  คิดในการพยาบาทปองร้ายผู้อื่น  เจตนาศีล  คือ  ศีล ทางกาย  ทางวาจา  ไม่ขาด  แตเ่ จตสิกศีล  คอื ศลี ทางใจขาด ในเร่ืองเจตนาศีล  กับเจตสิกศีล  ศีลผ่องแผ้ว  นอกจาก ไม่ด่าง  ไม่พร้อย  ไม่ขาด  ไม่ทะลุแล้ว  ก็ยังต้องมีองค์คุณอีก ๔  อย่าง  คือ  (๑)  เป็นไท  ไม่เป็นทาส  (๒)  วิญญูชนสรรเสริญ วิญญูชน  คือคนมีความรู้ดี  และมีศีลธรรมดี  (๓)  ตัณหาและ ทิฏฐิไม่เกาะเก่ียว  คือไม่ได้รักษาศีลเพราะตัณหาและมิจฉาทิฏฐิ (๔)  เปน็ ไปเพ่ือสมาธ ิ เปน็ เบ้อื งตน้ ของสมาธิ 34 คำ� วา่   เปน็ ไท  ไมเ่ ปน็ ทาส  ไมเ่ ปน็ ศลี ธรรมอยา่ งทาส  ภาษา ปรชั ญาตะวนั ตก  เรยี กวา่   Slave  Morality  แตศ่ ลี ธรรมอยา่ งไท หรืออย่างนาย  เรียกว่า  Master  Morality  ศีลธรรมอย่างทาส นั้น  คือเพยี งแต่ว่า ถือสืบๆ  กันมา  ไม่ร้จู ดุ ประสงค์  งมงาย  เป็น สีลัพพตปรามาส  ลูบคล�ำ  ถืออย่างงมงาย  ส่วนศีลหรือธรรมะ ที่เป็นอย่างนาย  เป็น  Master  Morality  ผู้ถือเป็นคนเข้มแข็ง เป็นตัวของตัวเอง  รู้เป้าหมาย  วินิจฉัย  พิจารณา  ตกลงใจด้วย เหตุผล  และสติปัญญา  เป็นศีลที่สามารถรักษาตนได้  ไม่ใช่คน รักษาศีลอย่างเดียว  ไม่เกี่ยวเกาะด้วยตัณหาและทิฏฐิ  คือไม่ใช่ รักษาศีล  เพราะตัณหาและทิฏฐิเป็นตัวชักน�ำ  แต่ให้เหตุผลและ สติปัญญาเป็นตัวชักน�ำ  เม่ือเห็นความผ่องแผ้วแห่งศีลของตน แล้ว  จิตก็จะเป็นสมาธิได้เร็ว  ศีลน้ันเป็นไปเพ่ือสมาธิ  ท่ีเรียกว่า สมาธิสังวัตตนกิ า

อ. วศนิ อินทสระ โทษของความเปน็ ผ้ทู ศุ ีล 35 ทุศีล  แปลว่า  ศีลไม่ดี  ศีลช่ัว  เป็นคนที่มีศีลที่เศร้าหมอง หรอื ไมม่ ศี ลี   หรอื ศลี ขาด  ศลี ทะล ุ ศลี ดา่ ง  ศลี พรอ้ ย  อะไรทำ� นองน้ี โทษของความเป็นผู้ทุศีล  จะกล่าวโดยยึดเอาพระพุทธพจน์เป็น แนวดังต่อไปนี้ ความเปน็ ผทู้ ศุ ลี จะไมเ่ ปน็ ทชี่ อบใจของเทวดา  พวกเทวดา รงั เกยี จบคุ คลเชน่ นน้ั   เทวดาชอบคนมศี ลี   ถา้ ทศุ ลี   ไมม่ ศี ลี   เทวดา ไมช่ อบ  เทวดารงั เกยี จ เคยมภี กิ ษรุ ปู หนงึ่ ไปยนื อยรู่ มิ สระนำ�้   สระนน้ั มดี อกบวั เยอะ กลน่ิ ดอกบวั กโ็ ชยมาเขา้ จมกู ทา่ น  ทา่ นกส็ ดู กลน่ิ ดอกบวั ดว้ ยความ ชื่นอกช่ืนใจ  เทวดาที่สถิตอยู่ท่ีต้นไม้ริมสระก็ทักท่านว่า  การท่ี ท่านพอใจในการสูดกล่ินดอกบัวน้ัน  ไม่ควรแก่ท่านผู้เป็นสมณะ ผู้เป็นพระภิกษุ  พระก็บอกว่า  “ข้าพเจ้าไม่ได้ขโมยกลิ่นดอกบัว กล่ินดอกบัวโชยมาเข้าจมูกข้าพเจ้าเอง  ข้าพเจ้าไม่ได้ขโมยกลิ่น ดอกบวั   ท�ำไมทา่ นจึงมาตอ่ วา่ ข้าพเจ้าท�ำนองนี”้ ขณะท่ีพระก�ำลังพูดอยู่น้ัน  มีคนๆ  หนึ่งเดินทางมา  และ ลงไปในสระ  ไปหักก้านบัว  กินเหง้าบัวไป  สูดดมดอกบัวไป  ทำ� ทกุ อยา่ ง  อาบนำ�้ อาบทา่ ในสระ  แถมเดด็ เอาดอกบวั ตดิ มอื ไปดว้ ย เทวดาไม่พูดอะไรสักค�ำ  พระท่านได้ทีก็บอกว่า  “นี่ไม่ยุติธรรม ทีข้าพเจ้ายืนอยู่เฉยๆ  กลิ่นดอกบัวเข้าจมูกข้าพเจ้า  สูดดมด้วย ความพอใจ  โดยไม่มีดอกบัวอยู่ในมือ  ท่านมากล่าวว่าไม่สมควร แกข่ า้ พเจา้   แตบ่ รุ ษุ ผนู้ นั้   ทำ� ทกุ อยา่ ง  หกั กา้ นบวั   กนิ เหงา้   สดู ดม ดอกบัว  แถมเอาดอกบัวติดมือไปอีก  ท่านไม่พูดสักค�ำ  ไม่เป็น ธรรมเสียเลย” 

ปสัญศมีลญาธาิ เทวดาก็บอกว่า  “ไม่เหมือนกัน  บุรุษผู้นั้นเป็นคนบาปอยู่ โดยปกต ิ เปรอะเปอ้ื นดว้ ยบาป  เหมอื นผา้ นงุ่ ของแมน่ มทเ่ี ลยี้ งเดก็ เต็มไปด้วยน้�ำมูกน้�ำลายของเด็ก  แต่ตัวท่านเองเป็นคนบริสุทธ์ิ สะอาด  ไม่มีมลทิน  ไม่มีความเศร้าหมอง  ท่านจะน�ำไปเทียบ กบั เขาไดอ้ ย่างไร” พอเทวดาพูดอย่างนั้น  พระก็รู้สึกปล้ืมใจว่า  ชีวิตของเรา บริสุทธ์ิดีจริง  ศีลของเราบริสุทธ์ิดีมาก  เทวดาไม่เห็นความ เศร้าหมองของศีลใดๆ  เลย  เพียงมาเห็นนิดเดียว  เรายืนสูดดม กล่ินดอกบัวอยู่ริมสระ  เทวดาก็ต�ำหนิแล้ว  เรามีศีลท่ีบริสุทธิ์ สะอาด  ไมม่ ขี อ้ ทน่ี า่ ต�ำหน ิ เกดิ ปลม้ื ปตี มิ าก  จงึ บอกแกเ่ ทวดาวา่ “ถ้าต่อไปนี้  ท่านเห็นข้าพเจ้าประพฤติมิชอบมิควร  ก็ให้ช่วย 36 เตือนขา้ พเจา้ ด้วย” เทวดาบอกว่า  “ข้าพเจ้า  ไม่ใช่ลูกจ้างของท่านน่ี  จะได้ เท่ียวตามดูท่านอยู่  อะไรควร  อะไรไม่ควร  ท่านรู้เองสิว่า  อะไร ควรเว้น  อะไรควรท�ำ  ท่านรู้เอาเองสิ  ข้าพเจ้าไม่ใช่ลูกจ้างของ ทา่ น” เรอื่ งจบเพยี งเท่าน้ี (๒)  คนทุศีลต้องเดือดร้อน  เพราะคนมีศีลเขายกย่อง เพราะตนเองรตู้ นเองดอี ยวู่ า่   เปน็ คนไมม่ ศี ลี ไมม่ ธี รรม  เวลามคี น มายกย่องก็เดือดร้อน  โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นพระภิกษุ  แล้ว พระด้วยกันยกย่อง  ต้องกราบต้องไหว้  ถ้ามีพรรษามากแล้ว พระผู้น้อยซ่ึงเป็นคนมีศีลมีธรรมต้องกราบต้องไหว้  คนซึ่งเป็น ผู้ไม่มีศีลจะเดือดร้อนหรือไม่เดือดร้อน  น้ันคือ  ถ้าเป็นคนมี หิรโิ อตตัปปะ  มคี วามละอาย  กต็ ้องเดือดรอ้ น  แตถ่ ้าเป็นคนไมม่ ี

อ. วศนิ อนิ ทสระ หริ โิ อตตปั ปะ  กอ็ าจจะดา้ นไป  ถา้ เปน็ คนมศี ลี   มธี รรม  เขาเคารพ 37 นับถือยกย่องก็ไม่เดือดร้อน  เพราะรู้สึกว่า  ความประพฤติ คุณธรรมของตน  สมควรได้รับการยกยอ่ ง  ไมเ่ ดอื ดรอ้ น (๓)  เป็นเยี่ยงอย่างทางไม่ดีแก่ผู้อ่ืน  เม่ือเป็นคนทุศีลแล้ว อยู่ได้อยู่ดี  มีความสุข  มีความพรั่งพร้อมไปด้วยลาภสักการะ ชอ่ื เสยี ง  ทง้ั ๆ  ทเ่ี ปน็ คนทศุ ลี   ไมม่ ศี ลี   ไมม่ ธี รรม  เชน่ วา่   คนนเ้ี ปน็ คนไม่มีศีล  ไม่มีธรรม  แต่ว่าอยู่ได้ดี  มีความสุข  มีลาภสักการะ มีช่ือเสียง  มียศถาบรรดาศักดิ์  คนอ่ืนก็เอาอย่างบ้าง  เพราะว่า ท�ำอย่างน้ันแล้ว  ไม่เห็นจะมีโทษอะไร  ถ้าเม่ือใครโกงแล้วร�่ำรวย คนอื่นก็จะโกงบ้าง  คอร์รัปชั่นบ้าง  เพราะเห็นเป็นตัวอย่างว่า คนนั้นโกงแล้ว  ร�่ำรวย  แต่ว่าบางทีโดยมาก  คนโกงแม้จะ รำ�่ รวยบา้ ง  แตจ่ ะไมค่ อ่ ยมคี วามสขุ   ในบน้ั ปลายของชวี ติ ตอนทา้ ยๆ มักได้รับความทุกข์ยากล�ำบาก  มีตัวอย่างให้เห็นๆ  อยู่เยอะ เหมือนกนั ผมเองก็เชื่อในพระพุทธภาษิตที่ว่า  คนที่ท�ำความชั่ว หาความสขุ ไดย้ าก*  แมด้ เู หมอื นวา่ มคี วามสขุ   แตจ่ รงิ ๆ  แลว้ ไมม่ ี ความสขุ   รู้ตวั เองอยู่ (๔)  ท�ำให้ไทยธรรมของทายกไม่มีผลมาก  ถ้าผู้น้ันเป็น ภิกษุ  โดยเฉพาะอย่างย่ิง  ถ้าทายกเขาท�ำบุญเพ่ืออุทิศให้ผู้ตาย ก็ยิ่งจ�ำเป็นต้องท�ำกับภิกษุผู้มีศีลธรรมดี  มิเช่นน้ันแล้ว  อาจจะ ไม่ถงึ ผ้ตู าย * น  ห ิ ต ํ สุลภ ํ โหต ิ สขุ  ํ ทกุ ฺกฏการินา

ปสัญศมลีญาธาิ ดังมีเรื่องเล่าไว้  ในอรรถกถา  ทักขิณาวิภังคสูตร  ว่ามี พรานเน้ือคนหน่ึง  ท�ำบุญอุทิศให้แก่ผู้ตาย  ไปทำ� กับภิกษุที่ทุศีล ท�ำอยู่  ๓  คร้ัง  ผู้ตายไม่ได้รับ  อมนุษย์คือผู้ตายน่ันเอง  ที่เขาท�ำ อทุ ิศให้  รอ้ งข้ึน  บอกว่าคนทุศีลปล้นเขา  หมายความว่า  ทำ� บญุ แก่คนทุศีล  ในคนทุศีล  คนไม่มีศีล  พระที่ไม่มีศีล  ผู้ตายไม่ได้รับ อมนุษย์คือผู้ตายไปแล้ว  ซ่ึงรอรับส่วนบุญอยู่  ร้องขึ้นมาว่า  คน ทุศีลปล้นเขา อนั นนี้ า่ กลวั   ควรจะตอ้ งระวงั   ผทู้ รี่ บั บญุ รบั ทานของคฤหสั ถ์ ผู้ให้ทาน  ท�ำบุญอุทิศให้ผู้ตาย  ต้องเป็นผู้มีศีล  มีธรรม  มิเช่นน้ัน แล้ว  ผู้ตายไม่ได้รับ  มาร้องว่าผู้นั้นผู้น้ีซึ่งเป็นผู้ทุศีล  ปล้นเขา น่าระวังอย่างย่ิงทีเดียว  คล้ายๆ  เราส่งของไปให้ใครสักคน  แล้ว 38 บรุ ษุ ไปรษณยี เ์ อาเสยี เอง  แบบนใ้ี หไ้ ปเทา่ ไรกไ็ มถ่ งึ   เพราะฉะนนั้ ถา้ เปน็ ภกิ ษ ุ ท�ำใหไ้ ทยธรรมของทายกไมม่ ผี ลมาก  ถา้ ตอ้ งการให้ มผี ลมาก  ก็ต้องมศี ลี มธี รรม (๕)  ท�ำให้เป็นคนที่มีค่าน้อย  เรื่องนี้พระพุทธเจ้าได้ตรัส เปรียบเทียบภิกษุไว้กับผ้ากาสี  และ  ผ้าเปลือกไม้  ผ้าเปลือกไม้ ท้ังใหม่  ท้ังกลางเก่ากลางใหม่  และทั้งเก่า  เป็นผ้าที่สีไม่งาม สัมผัสหยาบ  มีราคาน้อย  เหมือนกับบุคคลท่ีทุศีล  ไม่มีศีล  ไม่มี ธรรม  เป็นคนมีสีไม่งาม  ความเป็นคนไม่มีศีลนั่นเอง  เป็นคน สีไม่งาม  เปรียบกับสีไม่งามของผ้า  สัมผัสหยาบ  คือ  ใครคบหา สมาคมเขา้   กไ็ มไ่ ดป้ ระโยชน ์ เหมอื นเรานงุ่ ผา้ บางผนื   จะคนั   ใส่ เสื้อบางตัวกค็ นั   ไมส่ บายตัว บางคน  เราไปคบเขา้ แลว้ ไมส่ บาย  เดอื ดรอ้ นนานาประการ เหมอื นกบั ผไู้ มม่ ศี ลี   ไมม่ ธี รรม  ใครไปคบหาสมาคมดว้ ยกเ็ ดอื ดรอ้ น

อ. วศนิ อนิ ทสระ สัมผัสหยาบ  มีค่าน้อย  ถ้าเป็นพระ  หมายความว่า  ท�ำปัจจัยท่ี ทายกถวายให้  ซ่ึงควรมีอานิสงส์มาก  ให้มีอานิสงส์น้อย  อันนี้ คือความเป็นผู้มีค่าน้อยหรือมีราคาน้อย  อันน้ีเก่ียวกับเรื่องการ เปรยี บเทยี บผ้ไู ม่มศี ลี   ไมม่ ธี รรม  กบั ผ้าเปลอื กไม้ ผมู้ ศี ีลมีธรรมเปรียบกบั ผ้ากาสี 39 พระพุทธเจ้าทรงเปรียบเทียบผู้มีศีล  มีธรรม  กับผ้ากาสี ผ้ากาสีมีลักษณะ  ๓  อย่าง  คือ  (๑)  มีสีงาม  (๒)  สัมผัสนิ่มดี (๓)  ราคามาก  ไม่ว่าจะเป็นผ้าใหม่  ผ้ากลางเก่ากลางใหม่  หรือ ผ้าเก่า  เมื่อผ้าเก่าแล้ว  เขาก็นิยมน�ำไปห่อรัตนะ  หรือห่อของ ท�ำนองเดียวกับภิกษุ  ไม่ว่าจะเป็นภิกษุใหม่  หรือปูนกลาง  หรือ เปน็ เถระ  ถา้ มลี กั ษณะ  ๓  อยา่ ง  กเ็ ปน็ เชน่ นน้ั   คอื   เปน็ ผมู้ ศี ลี ดี มีธรรมงาม  เรียกได้ว่า  เป็นคนมีศีลงาม  เป็นผู้ท่ีให้ประโยชน์สุข แก่ผู้ท่ีคบหาสมาคม  เทียบได้กับความมีสัมผัสน่ิม  เพราะท�ำให้ ปัจจยั ทีท่ ายกถวาย  มอี านสิ งส์มาก  อนั น้ีเป็นราคามากของภกิ ษุ ถ้าไม่ใช่ภิกษุ  เป็นคนธรรมดา  เป็นฆราวาสก็เหมือนกัน ในท�ำนองเดียวกัน  ใช้ได้ท้ังพระ  ทั้งฆราวาส  อย่างท่ีเคยเรียน แล้วว่า  เม่ือพระพุทธเจ้าตรัสถึงภิกษุนั้น  หมายถึงฆราวาสด้วย ในพระธรรมเทศนา  คือหมายถึง  ผู้ปฏิบัติธรรมทั้งหลายท้ังปวง แต่ถือเอาภิกษุเป็นประธานเท่าน้ันเอง  แต่กินความถึงคฤหัสถ์ ด้วย  เพราะฉะน้ัน  ถ้าอยากให้ตนเป็นคนมีค่ามาก  มีราคามาก มสี มั ผสั นม่ิ   เปน็ คนทม่ี สี งี าม  ควรเปน็ คนทมี่ ศี ลี มธี รรม  ใครคบหา สมาคมเข้ากไ็ ม่เดอื ดรอ้ น

ปสญั ศมีลญาธาิ (๖)  ความเปน็ ผ้หู วาดระแวงอยู่เปน็ นติ ย์  กเ็ พราะว่าตวั ไป ท�ำความผิดอะไรไว้  ก็เกรงว่า  จะมีผู้รู้ผู้เห็น  ต้องหวาดระแวง ไมเ่ หมือนคนทไ่ี ม่มีความผดิ   เขาอยสู่ บาย (๗)  หมดหวงั ในการบรรลคุ ณุ วเิ ศษ  มโี สดาปตั ตผิ ล  เปน็ ตน้ ถ้าเป็นคนทุศีล  ไม่มีศีลแล้ว  การท่ีจะหวังบรรลุคุณวิเศษ  มี โสดาปตั ติผล  เปน็ ต้น  เป็นอันหมดหวัง  พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า  มบี คุ คลอย ู่ ๓  จ�ำพวก พวกท่ ี ๑  เป็นคนมีหวัง พวกที่  ๒  เปน็ คนส้นิ หวัง พวกท ี่ ๓  เปน็ คนไม่หวงั 40 พระพุทธเจ้าทรงเปรียบเทียบดังน้ี  ภิกษุหรือใครก็ตาม  ท่ี เปน็ คนทศุ ลี ไรธ้ รรม  ไมม่ ศี ลี   ไมม่ ธี รรม  เปน็   ผหู้ มดหวงั   ในการ ทจ่ี ะบรรลุคุณวิเศษ  มโี สดาปัตติผล  เป็นตน้   เหมือนกับคนทเี่ กดิ ในตระกลู ตำ่�   จณั ฑาล  มคี วามเปน็ อยลู่ ำ� บาก  แรน้ แคน้   ซำ�้ รา่ งกาย ก็พิกลพิการ  เมื่อได้ข่าวว่า  ท่านผู้นั้นผู้นี้ได้อภิเษกเป็นพระราชา ก็เปน็ อนั ว่าหมดหวัง  ตนเองสนิ้ หวงั   ไมไ่ ดเ้ ลย  หมดหวงั ในความ ทจ่ี ะเปน็ อยา่ งนน้ั กบั เขาบา้ ง  ตง้ั ความหวงั ไวไ้ มไ่ ดเ้ ลย  เพราะความที่ ตนเกิดในตระกูลเช่นนั้น  โอกาสท่ีจะบรรลุคุณวิเศษ  มีโสดา- ปัตตผิ ล  เปน็ ตน้   ไม่มี  อนั นี้  เรียกวา่   เปน็ ผหู้ มดหวัง ผู้มีหวัง  คือ  ผู้มีศีลมีธรรมดี  เม่ือได้ข่าวว่า  ผู้นั้นผู้นี้ ได้บรรลุโสดาปตั ตผิ ล  กม็ คี วามหวงั ขน้ึ วา่   เรากเ็ ปน็ ผมู้ ศี ลี   มธี รรม เหมอื นกนั   พอมีหวงั ที่จะเปน็ เชน่ น้นั ได้  นก่ี เ็ ป็นผมู้ หี วัง

อ. วศิน อนิ ทสระ ประการสดุ ทา้ ยคอื เปน็   ผไู้ มห่ วงั   คอื ผทู้ หี่ วงั สง่ิ ใดไว ้ สงิ่ นน้ั 41 กไ็ ดบ้ รรลตุ ามความตอ้ งการแลว้   ไดส้ �ำเรจ็ ตามทตี่ นประสงคแ์ ลว้ เหมือนกับผู้ที่เกิดในราชตระกูล  แล้วได้รับการอภิเษกเป็น พระราชาเรยี บรอ้ ยแลว้   แมจ้ ะไดย้ นิ ขา่ ววา่   ผนู้ น้ั ผนู้ ไี้ ดม้ รุ ธาภเิ ษก เป็นพระราชาแล้ว  ก็ไม่ต้องหวัง  เพราะได้แล้ว  ภิกษุบางท่าน ทเ่ี ปน็ พระอรหนั ต ์ สน้ิ กเิ ลสแลว้   จะทราบวา่   ภกิ ษชุ อื่ โนน้ ไดเ้ ปน็ พระขีณาสพแล้ว  ก็ไม่ต้องหวังว่า  เมื่อไรเราจะเป็นเช่นน้ันบ้าง เพราะความหวงั ของทา่ นไดบ้ รรลุแลว้ อันน้ียกตัวอย่างพระพุทธภาษิตมาให้ฟัง  ผู้ที่ทุศีลน้ัน เป็นคนหมดหวังในการบรรลุคุณวิเศษ  มีโสดาปัตติผลเป็นต้น คนทบี่ รรลุคณุ วิเศษ  ตอ้ งเป็นคนมีศลี   มธี รรม (๘)  ต้องเสื่อมทรัพย์เป็นอันมาก  ทั้งทรัพย์ภายนอก  และ ทรพั ยภ์ ายใน  ในอานสิ งสข์ องศลี   มขี อ้ หนง่ึ วา่   สเี ลนะ  โภคสมั ปทา คือ  บุคคลจะสมบูรณ์ด้วยโภคะก็เพราะศีล  การไร้ศีล  ไร้ธรรม หรอื เปน็ คนทศุ ีล  กท็ ำ� ใหเ้ ป็นคนเสอ่ื มทรัพยเ์ ป็นอนั มาก มองเห็นได้ง่ายๆ  อย่างคนท่ีไม่อดกล้ัน  แล้วไปล่วงศีลข้อ ปาณาติบาต  ท�ำกรรมหนักๆ  เช่น  ไปฆ่าคน  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไปฆ่าคนดี  เม่ือฆ่าคนแล้ว  ตัวอยู่สบายหรือเปล่า  ต้องไปติดคุก หรือบางทีก็เป็นความ  ขึ้นโรงขึ้นศาล  สู้ความในศาล  ก็ต้องเสีย ทรัพย์เป็นอันมาก  ในการต่อสู้เพื่อให้หลุดรอดจากข้อกล่าวหา บางทกี ไ็ ปท�ำจรงิ   ถา้ แพค้ วามในศาลดว้ ยเหตทุ ต่ี วั ไปท�ำจรงิ   กไ็ ป ติดคุก  โอกาสที่จะหาทรัพย์ก็ไม่มี  ทรัพย์ใหม่ท่ีจะเกิดก็ไม่เกิด ทรพั ยเ์ กา่ ที่มอี ยกู่ จ็ ะหมดไป  เปน็ การเสอื่ มทรพั ย์ 

ปสัญศมลีญาธาิ บางทีคนไม่มีศีล  คนทุศีล  มักเป็นคนชอบการพนัน  ชอบ เสพอบายมุข  เท่ียวกลางคืน  เล่นการพนัน  คบคนช่ัวเป็นมิตร อะไรเหลา่ น ี้ เปน็ เหตทุ ำ� ใหเ้ สอ่ื มทรพั ยท์ ง้ั นน้ั เลย  ถา้ มศี ลี   มธี รรม สง่ิ เหลา่ นน้ั กไ็ มม่  ี ไมเ่ ทยี่ วกลางคนื   ไมเ่ ลน่ การพนนั   ไมค่ บคนชวั่ เปน็ มติ ร  ไมเ่ กยี จครา้ นทำ� การงาน  สนใจแตใ่ นสงิ่ ทด่ี ที งี่ าม  ทรพั ย์ ท่ียังไม่เกิดกเ็ กิดขึน้   ทรพั ย์ทม่ี ีอยกู่ ร็ ักษาไว้ได ้ และเจริญขนึ้ (๙)  ไมแ่ กลว้ กลา้ ในทปี่ ระชมุ   เปน็ ผเู้ กอ้ เขนิ   กลวั ความผดิ กลวั วา่   บคุ คลในทปี่ ระชมุ   จะทว้ งตงิ ขอ้ ผดิ พลาด  บกพรอ่ ง  กจ็ ะ ได้รับความอับอาย  เพราะไม่ค่อยแกล้วกล้าในที่ประชุม  อย่างท่ี ค�ำกล่าวกันว่า  เป็นคนที่มีความผิดติดตัว  หรือมีชนักติดหลังอยู่ ทำ� ใหเ้ ปน็ ผู้ไมแ่ กลว้ กล้าในทีป่ ระชุม  เปน็ ผู้เก้อเขนิ   ไมอ่ งอาจ 42 (๑๐)  ช่ือเสียงในทางไม่ดีขจรไป  ว่าเป็นผู้ไร้ศีล  ไร้ธรรม ไมเ่ ปน็ ทีน่ ิยมยกย่อง  ไม่เป็นที่ไว้วางใจของผูอ้ ื่น (๑๑)  ยอ่ มหลงทำ� กาลกริ ยิ า  คอื หลงตาย  หมายถงึ วา่   ตาย ด้วยความทุรนทุราย  ด้วยความรู้สึกไม่สงบ  จิตใจว้าวุ่น  คิดถึง ความชั่วของตัว  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  เวลามีกรรมนิมิต  หรือ คตนิ ิมิตมาปรากฏ คนกอ่ นทจ่ี ะตาย  ทา่ นบอกวา่   ลมื ตาเหน็ ในโลกน ี้ หลบั ตา เห็นโลกหน้า  เม่ือท�ำกรรมชั่วไว้มาก  ก็จะปรากฏเห็นภาพแห่ง กรรมชว่ั ทตี่ วั เคยทำ� เอาไว ้ มาปรากฏใหเ้ หน็ ในมโนทวาร  คอื ในใจ จะรู้สึกสะดุ้งหวาดกลัว  ไม่มีความสุข  ตายอย่างไม่สงบสุข  พอ หลบั ตาลงกเ็ หน็ โลกหนา้  ทต่ี วั จะตอ้ งไปตกอบาย ทคุ ต ิ วนิ บิ าต นรก คือไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน  ก็จะเห็นสภาพเช่นนั้นในโลกหน้า มาปรากฏในจติ ใจของตน  ท�ำใหห้ วาดกลวั   ไมม่ คี วามสขุ   เพราะ

อ. วศิน อนิ ทสระ ฉะนน้ั   คนทที่ ศุ ลี   มคี วามชว่ั มาก  กม็ กั หลงทำ� กาลกริ ยิ า  หลงตาย (๑๒) หลงั จากตายแลว้  จะเขา้ ถงึ อบาย ทคุ ต ิ วนิ บิ าต นรก คืออาจจะเป็นนรกก็ได้  สัตว์เดรัจฉานก็ได้  เปรตก็ได้  หรือ เป็นอสุรกาย  อย่างใดอย่างหน่ึง  ส�ำหรับสุคติ  โลกสวรรค์น้ัน เป็นอันไม่มี โทษของความเป็นผู้ทศุ ลี   ทั้ง  ๑๒  ประการน้ ี รวบรวมมา จากคัมภีร์  อังคุตตรนิกาย  พระไตรปิฎกเล่ม  ๒๒  หน้า  ๒๘๑ และ  จาก  คัมภรี ์วสิ ุทธิมรรค  สลี นิทเทส อานิสงส์ของศลี 43 อานิสงส์ของความเป็นผู้มีศีล  โดยย่อ  คือ  ศีลมีความ ไม่เดือดร้อนใจเป็นอานิสงส์  คือ  สิ่งส�ำคัญท่ีพระพุทธเจ้าท่านได้ ตรัสบอกเอาไว้ว่า  ศีลนั้นมีความไม่เดือดร้อนใจเป็นอานิสงส์ มีความเย็นใจ  เพราะไม่ได้เห็นโทษเศร้าหมองใดๆ  ของตน คล้ายๆ  กบั คนทไ่ี ดอ้ าบนำ้�   ชำ� ระลา้ งรา่ งกายสะอาดเรยี บรอ้ ยแลว้ บริโภคอาหารท่ีประณีต  เป็นท่ีพอใจ  ได้นั่งพักใต้ร่มไม้ใหญ่ ริมลำ� ธาร  มีน้ำ� ใสสะอาด ในชาดกบางแห่ง  เช่น  ตุณฑีลชาดก  กล่าวไว้ว่า  ห้วงน�้ำ  คือพระธรรม  เป็นน้�ำท่ีใสสะอาด  ไม่มีโคลนตม  เพราะฉะน้ัน เปรียบบาปเหมือนเหงื่อไคล  เป็นส่ิงที่ท�ำให้ร่างกายเหนอะหนะ ไม่สบาย  ส่ิงท่ีจะช�ำระเหง่ือไคล  ก็คือ  พระธรรม  หรือศีลธรรม เปน็ เหมอื นนำ้� ทใ่ี สสะอาด  ไมม่ โี คลนตม  ใชส้ ำ� หรบั ชำ� ระเหงอ่ื ไคล 

ปสัญศมลีญาธาิ ศีลเปรียบอีกอย่างหนึ่ง  ก็เหมือนเคร่ืองลูบไล้  คือ  เครื่อง หอม  มีกลนิ่ หอมไมจ่ างหาย (จากพระไตรปฎิ ก  เลม่   ๒๗  ตุณทีลชาดก ๒๗/๒๐๑  อรรถกถา  เลม่   ๕  หนา้   ๗๘) ต่อไป  มีข้อความวา่   กล่ินดอกไม้  ไม่หอมหวนทวนลม  แต่กลิ่นศีลของผู้มีศีล  หอมไปได้  ท้ังตามลมและทวนลม  หอมไปทุกทิศ  กลิ่นศีล จึงยอดเย่ยี มกว่ากลิ่นอยา่ งอืน่ (พระไตรปฎิ ก  เลม่   ๒๕  หนา้   ๒๒) 44 มอี านสิ งสข์ องศลี ทพ่ี ระผมู้ พี ระภาคตรสั ไวอ้ กี หลายปรยิ าย จะน�ำมากล่าวในทนี่ ส้ี กั   ๕  ข้อ  คือ (๑)  ผู้มีศีลย่อมได้โภคทรัพย์เป็นอันมาก  อันน้ีก็ตรงกับ ข้อความที่พระท่านให้ศีล  เวลาให้ศีลแล้วจบลง  ก็แสดงอานิสงส์ ของศีลว่า  สีเลนโภคสัมปทา  บุคคลจะพร่ังพร้อมด้วยโภคะ ก็เพราะศีล  โภคะมี  ๒  อย่าง  คือ  อามิสโภคะ  หมายความถึง ทรพั ยส์ นิ  สมบตั ภิ ายนอก และอกี อนั หนงึ่ คอื  ธรรมโภคะ หมายถงึ อรยิ ทรพั ย ์ หรอื   โภคะคอื ธรรม  อามสิ โภคะ  กบั   ธรรมโภคะ  คน มีศีลก็สามารถจะได้โภคะท้ัง  ๒  อย่างนี้  ได้ธรรมโภคะ  ซ่ึงมีศีล เปน็ พนื้ ฐาน  เปน็ เหตใุ หไ้ ดธ้ รรม  ไดธ้ รรมแลว้   กร็ กั ษาศลี ใหม้ นั่ คง ตอ่ ไป  ไดส้ งิ่ ทอ่ี าศยั ซงึ่ กนั และกนั   เปน็ เหตเุ ปน็ ผลของกนั และกนั เพราะฉะน้ัน  เราจึงเรียกรวมว่า  ศีลธรรม  ท�ำให้เป็นผู้มีโภคะ ได้พูดไว้บ้างแล้ว  เม่ือเว้นอบายมุขแล้ว  มีสัมมาอาชีวะ  ซ่ึงเป็น

อ. วศนิ อนิ ทสระ ศีลในองค์มรรค  มีสัมมาอาชีวะ  มีความขยันหม่ันเพียร  ท่ีจะ 45 ท�ำมาหากิน  ในทางท่ีสุจริต  สามารถท่ีจะสร้างเนื้อสร้างตัวได้ ท�ำใหเ้ ปน็ คนทมี่ ีโภคะ  ทง้ั ภายในและภายนอก (๒)  ชอื่ เสยี งทางดยี อ่ มฟงุ้ ขจรไป  ความดเี ปน็ สง่ิ ทปี่ ดิ ไมไ่ ด้ ปดิ ไมม่ ดิ   ถงึ เราจะพยายามปดิ ไมใ่ หใ้ ครร ู้ ไมใ่ หใ้ ครเหน็   ไมโ่ ออ้ วด กเ็ หมอื นกบั การเอากระดาษมาปดิ ไฟ  ปดิ ไมไ่ ด ้ แสงไฟมนั ออกมา ไมเ่ ทา่ ไรคนเขากร็  ู้ ปากตอ่ ปาก  ใครเปน็ คนด ี มศี ลี มธี รรม  เออ้ื เฟอ้ื เผอ่ื แผ ่ มจี ติ ใจออ่ นโยน  เมตตาปราณ ี อนั นเ้ี ปน็ ขอ้ ท ่ี ๒  ชอื่ เสยี ง ในทางดี  ย่อมฟุ้งขจรไปว่าเป็นคนมีศีลธรรม  มีคนมาเคารพ กราบไหว้  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  เป็นพระภิกษุสงฆ์ด้วย  ยิ่งเห็น อานสิ งส์อนั นีช้ ดั เจนข้ึน (๓)  จะเปน็ คนแกลว้ กลา้ อาจหาญในทปี่ ระชมุ   ตรงกนั ขา้ ม กบั การเปน็ ผทู้ ศุ ลี   แกลว้ กลา้ อาจหาญในทปี่ ระชมุ   ไมต่ อ้ งกลวั วา่ ใครจะตอ้ งทักท้วงในเร่ืองความผิด (๔)  เมอ่ื จะตาย  ยอ่ มมสี ตสิ มั ปชญั ญะ  ไมห่ ลงตาย  เพราะ ได้คิดถึงแต่ความดีที่ตนได้ทำ�   มีจิตใจแช่มชื่น  แจ่มใส  ตายอย่าง มีความสขุ   นกึ ถึงแตค่ วามดีของตนท่ีได้กระทำ� ไว้ (๕)  เม่ือตายแล้ว  ย่อมจะเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์  ในระดับ ต่างๆ  ช้ันต่างๆ  ตามคุณความดีท่ีได้ส่ังสมเอาไว้  จะเป็นสวรรค์ ๖  ชน้ั   หรอื ชนั้ ใดชน้ั หนงึ่   หรอื เปน็ พรหมโลก  กแ็ ลว้ แตค่ ณุ ธรรม อน่ื ๆ  จะไดม้ าประคบั ประคองใหเ้ ปน็ ไปในสคุ ติ ด้วยเหตุดังกล่าวมานี้  ท่านจึงสอนให้รักษาศีล  ด้วย ความเคารพในศีล  เม่ือรักษาศีลดีแล้ว  ก็จะเป็นผู้มีศีลประจ�ำใจ

ปสัญศมลีญาธาิ ประจ�ำตน  ศีลก็จะกลับมารักษาบุคคลผู้นั้น  คล้ายกับเราได้ปลูก ต้นไม้ด้วยความรักต้นไม้  รักษาต้นไม้ด้วยดี  เมื่อต้นไม้เติบโตขึ้น กจ็ ะหวนมารกั ษาผ้ปู ลกู ต้นไมน้ ั่นเอง กล่าวโดยเฉพาะบรรพชิต  หรือผู้บวช  เป็นผู้มีศีล  เวลา เขา้ สตู่ ระกลู   คอื ไปคบหาสมาคมกบั ชาวบา้ น  ทำ� ใหช้ าวบา้ นในทนี่ นั้ ในตระกลู นน้ั ไดบ้ ญุ มาก  ดว้ ยฐานะ  ๕  อยา่ ง  คอื   เมอ่ื ไดเ้ หน็ ภกิ ษุ เช่นน้ันแล้ว  ชาวบ้านมีจิตใจเลื่อมใสในพระภิกษุนั้น  หรือใน บรรพชิตน้นั   ๑.  การที่มีจิตเลื่อมใสน้ี  เป็นส่ิงหนึ่ง  หรือเป็นปฏิปทาให้ ได้สวรรค์ 46 ๒.  มนุษย์ทั้งหลายย่อมจะอภิวาท  กราบไหว้  ให้อาสนะ ที่น่ัง  อันน้ีก็เป็นปฏิปทา  ที่ท�ำให้ผู้ปฏิบัติกับภิกษุเช่นนั้น  ได้ เกิดในตระกูลสงู ๓.  เขาสามารถจะก�ำจัดมลทิน  คือ  ความตระหนี่  และ บริจาคทาน  เปน็ ปฏิปทาใหม้ ีศกั ดิ์ใหญ่ ๔.  เม่ือเป็นเช่นนั้น  ก็ได้แบ่งปันทรัพย์ให้  ก�ำจัดความ ตระหนี่  แล้วแบ่งปันทรัพย์ให้ตามสมควร  อันน้ีเป็นปฏิปทา  ท่ี จะให้ไดโ้ ภคะมาก ๕.  ชาวบา้ น  มนษุ ยท์ งั้ หลาย  ยอ่ มเลอื่ มใสพระภกิ ษเุ ชน่ นน้ั น้ีเปน็ ปฏิปทาให้มีปญั ญามาก (อานิสงส์  ๕  ประการ  ตามทีก่ ลา่ วมานี้  ไดม้ าจากพระไตรปิฎก  เล่ม  ๒๒ องั คุตตรนิกาย  ปญั จกนบิ าต  หนา้   ๒๗๑)

อ. วศิน อินทสระ นอกจากน้ีแล้ว  พระพุทธเจ้ายังได้ตรัสเอาไว้อีกว่า  ใคร ก็ตาม  ปรารถนาความสุข  ๓  อย่าง  ก็พึงเป็นผู้รักษาศีลเถิด ความสขุ   ๓  อยา่ ง  คอื ปสสํ ํ  ความสรรเสริญ วติ ฺตลาภ ํ ลาภทเี่ ป็นที่พอใจ เปจจฺ   สคเฺ ค  ปโมทนํ  ล่วงลบั ไปแลว้   ไดบ้ ันเทงิ ในสวรรค์ ๓  อย่างนี้  ผู้มีปัญญา  สีลํ  รกฺเขยฺย  เมธาวี  ปตฺถยาโน  47 ตโย  สุเข  ผู้ปรารถนาความสรรเสริญหน่ึง  ปรารถนาให้ได้สิ่ง อันน่าปลื้มใจหน่ึง  ล่วงลับไปแล้วบันเทิงในสวรรค์หนึ่ง  พึงรักษา ศลี เถดิ   (จาก  คมั ภรี ์อติ ิวุตตกะ  พระไตรปิฎกเลม่   ๒๕  หน้า  ๒๘๒) สุขสมุทยั ยังมีข้อความที่น่าสนใจอีกตอนหน่ึง  พระพุทธเจ้าตรัส ถึงสุขสมุทัย  คือเหตุเกิดแห่งความสุข  พวกเรามักจะได้ยิน ทกุ ขสมทุ ยั   กบั ทกุ ขนโิ รธ  และ  ทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา  ขอ้ ปฏบิ ตั ิ ให้ถึงความดับทุกข์  ในที่น้ีพระพุทธองค์ทรงแสดงถึง  สุขสมุทัย เหตเุ กดิ แหง่ ความสขุ   ๓  อยา่ ง  โดยพระพทุ ธดำ� รสั ทวี่ า่   ปญุ ฺ เมว โส  สกิ เขยย  ควรศกึ ษาเรอ่ื งบญุ   ซงึ่ มผี ลเลศิ   และมสี ขุ เปน็ กำ� ไร*  * อายตคคฺ สํ ขุ ทุ รฺ ยํ

ปสญั ศมลีญาธาิ และตรัสว่า  ทานญฺจ  สมจริยญฺจ  เมตฺตจิตฺตํ  จ  ภาวเย พงึ ใหท้ านประพฤตสิ มจรยิ า  (สมจรยิ า  หมายถงึ   สจุ รติ )  วสิ มจรยิ า คอื   ทจุ รติ   อบรมเมตตาจิต ถา้ จะถอดความชดั ๆ  ใหเ้ หน็ กนั งา่ ยๆ  กค็ อื   ทาน  ศลี   และ ภาวนา  คือ  เมตตาจิต  น่ันเอง  เอเต  ธมฺเม  ภาวยิตฺวา  บุคคล อบรมธรรม  ๓  อยา่ งน ้ี แลว้ เปน็ สมทุ ยั แหง่ ความสขุ   เปน็ บอ่ เกดิ แหง่ ความสขุ   ทำ� ใหเ้ กดิ ความสขุ   อพยฺ าปชฌฺ  ํ สขุ  ํ โลเก  ปณฑฺ โิ ต อุปปชฺชติ  เม่ือเป็นเช่นน้ี  ผู้เป็นบัณฑิตเช่นน้ัน  ย่อมถึงโลกท่ี ไมม่ กี ารเบยี ดเบยี น  โลกทมี่ คี วามสขุ   อนั น ี้ เปน็ อานสิ งสอ์ ยา่ งหนงึ่ ของศีลเหมือนกัน  เพราะสมจริยา  ก็คือศีลน่ันเอง  ทาน  ศีล ภาวนา  นัน่ เอง  ซ่งึ เปน็ บญุ กิรยิ าวัตถ ุ ๓  ข้อ  โดยย่อ 48

กลิ่นดอกไม้ ไม่หอมหวนทวนลม แต่กลิ่นศีลของผู้มีศีล  หอมไปได ้ ทง้ั ตามลมและทวนลม หอมไปทกุ ทศิ  กลน่ิ ศลี จงึ ยอดเย่ียมกว่ากลิน่ อย่างอ่นื (พระไตรปิฎก เลม่  ๒๕ หนา้  ๒๒)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook