<,-«■'^-ar'\"ร!/ 'เ ^9/^A' fs'lft3^■iS' ฝ- G'l ,^';'I.j ,พ^—,.# \\F'■'i ■^ ร®?^^ /A/i^(D9 r?tf^
นิทานชาดก lau ๕ พระธรรบเทศนาของ พระกาวนาวิรัยคุณ (เผด็จ กตฺตชีโว) รองเจาอาวาสวัดพ่ระธรรมกาย จ-เโเๅมธานี ขอมอบเป็นธรรมบรรณาการ
นิทานขาดก เล่ม ๕ พระธรรมเทศนาของ พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว) รองเจ้าอาวาลวัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี จัดพิมพ์และพิมพ์โดย (เฟิini ^fra ©oiir/®๙-๒๑ ถนนนเรศ แขวงลี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ๑0๕:00 โทร.๒๓๓0๓0๒-๕:โทรสาร ๒๓๙๕:๙(£๕: จัดจำหน่ายโดย บรน้ท่ บเอ็นแก บุเกส์ จำ กัด (ะ;๖ ถนนลี่พระยา แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ๑0๕:00 โทร.๒๓๕:0๓(£0-๑ โทรลาร ๒๓๙(ร:0๙๕: ธนาณัติสั่งจ่าย ''บริษัท ปีเอ็นเค ปัคส์ จำ กัด\"ป.ณ.กลาง ลิขสิทธิ้เปีนของมูลนิธิธรรมกาย ISBN 974-89321-4-1 ราคา G/O บาท 008-2-0142-3000
m-
คำ ปรารภ คนในโลกนี้อยากทำดี อยากเป็นคนดีทุกคน แต่เพราะเหตุ ที่ไม่มีต้นแบบดีๆ เป็นแบบอย่าง จึงต่างคิดหามาตรฐานทำความดี ต่างๆ กันไป ที่พอมี{โญญาก็ทำดีถูกวิธีไต้สร้างสมความดีเป็นบารมี เพิ่มพูนติดตัวไป ไม่เสียทีที่ไต้เกิดมาเป็นคน แต่ที่มีป'ญญาน้อย เห็นผิดเป็นชอบก็หลงทาง ขาดทุนไปชาติหนึ่ง ต้วยเหตุนี้เราจึงควรศึกษาต้นแบบการทำความดีจาก \"ชาดก\" แม้ว่ามีบางเรื่องที่เป็นนิทานพื้นบ้านปนเปเข้ามา แต่กระนั้นก็ดีเรา ก็น่าจะศึกษาชาดกไนต้านที่เป็นวัฒนธรรมชาวพุทธ แทนที่จะตั้งข้อ กังขาไนเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด เมื่อเดีอนมิถุนายน พ.ศ. ๒&•๒๙ ระหว่างที่เดินทางไปยุโรป และประเทศอังกฤษ อาตมภาพไต้มีโอกาสพบปะ สนทนากับ อาจารย์ทางปรัชญาไนมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และเศมบริดจ์ หลายท่านศาสตราจารย์ท่านหนึ่งไดีไห้ข้อคิดว่า ท่านไต้ทราบข่าวว่าขณะนี้พระภิกษุไทยแสะพุทธศาสนิก-ชน ชาวไทยไม่สนไจชาดก เนึ่องจากเพราะไต้พบว่า บางเรื่องมีนิทาน พื้นบ้านมาปะปนอยู่ต้วย เตี้ยวนี้Iศรพูดถึงชาดกทำไห้รู้สึกว่าเป็น เรื่องครั๋าครึ งมงาย ดังนั้นท่านจึงขอฝากเตือนใจว่า คนที่คิดอย่างนี้นั้นแหละ งมงาย เพราะถ้าเราเรียนแต่ทฤษฏีล้วนๆ เราก็ได้แต่ท่องจำเป็น เพียงความรู้ดิบ ความรู้เกิดจากการจำนั้นไม่สามารถนำมาใช้งาน
อย่าว่าแต่จะไปสอนลูกหลานเลย แม้แต่จะนำมาสอนตัวเองก็ไม่ได้ ความรู้ทางทฤษฏีเช่นนี ผู้เป็นครูบาอาจารย์ ต้องลองแล้วลองอีก กว่าจะไต้ความรู้สุกๆ ขึน้ มา ก็ผ่านการลองชนิดผิดๆ ถูกๆ มาเสีย มากต่อมาก แต่ล้ามีเรื่องราวประกอบ ก็จะมองเห็นวิธีการนำ ทฤษฏีมาใช่เปลี่ยนจากนามธรรมเป็นรูปธรรม ไต้ชัดเจนขึ้น ท่านศาสตราจารย่ได้ยกตัวอย่างถึงนิทานอีสป ซึ่งเป็นเรื่อง ไม่จริง ก็ยังเอามาสอนคนไต้ ส่วนนิทานชาดกเป็นวัฒนธรรมขาว พุทธเป็นแบบแผนในการทำความดี เป็นเครื่องยืนยัน การเวียนว่าย ตายเกิด ชาวพุทธเองยังเมินไม่เอาใจใส่ใยดี เป็นการดูถูกคำสอน ของพระสัมมาล้มพุทธเล้า และดูถูกตัวเอง ดังนั้นอาตมภาพจึงใคร่ขอให้เราลองพิจารณาความหมาย และคุณค่าของนิทานชาดก ซึ่งเป็นสมบัติทางป๋'ญญาอันลํ้าค่าของ ชาวพุทธ ใหถี่ถ้วนและรอบคอบ นิทาน แปลว่า เหตุเป็นเครื่องมอบใหซึ่งผล, มูลเค้า, เรื่อง เดิม, สมุฏฐาน ชาดก แปลว่า ประวัติการทำความดีของพระสัมมาล้มพุทธเจ้า ที่มีมาในชาติก่อนๆ นิทานชาดก มิใช่เรื่องที่แต่งขึ้นเพื่อสอนคุณธรรม แต่นิทาน ชาดก คือ เรื่องในอดีตชาติของพระสัมมาล้มพุทธเจ้า ที่พระองค์ ทรงแสดงแก่พระภิกษุในโอกาสต่าง ๆ บางครั้งก็เพื่อแสดงภูมิหสัง ของผู้ที่พระองค้ค้องการแสดงธรรมให้ฟัง บางครั้งก็เพื่ออธิบาย เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เมื่ออ่านนิทานชาดก นอกจากจะใค้ทราบเหตุการณ์ต่าง ๆ
แล้วเรายังได้ทราบอุปนิสัยใจคอของบุคคล ในแง่มุมที่เราอาจนึกไม' ถึงว่าจะมีหรือเป็นไปได้อีกด้วย ไม่เพียงแต่เท่านี้ เรายังทราบอีกว่า ทำ ไมเขาจึงเป็นเซ่นนั้น และพระพุทธองคได้ทรงซ่วยเหลือเขา อย่างไรบ้าง ในวัฏสงสารอันยาวนานนับภพนับชาติไม่ถ้วนนี้ พระพุทธ- องค์ เมื่อครั้งดำรงพระชนม์เป็นพระโพธิสัตว์ ได้เวียนว่ายตาย เกิดเป็นมนุษย์บ้าง พลาดพลั้งไปเป็นสัตว์เดียรัจฉานบ้าง แต่ก็ ได้ประกอบคุณงามความดีมาทุกภพทุกชาติ จนกระทั่งได้มาเป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในพระชาติสุดท้าย ผู้ที่อ่านหรือฟังนิทานชาดก จึงควรอ่านหรือฟังด้วยความ พิจารณา และในที่สุด นำ หสักธรรมที่ไดํไปใช้เป็นคุณประโยชน์แก่ ตนเองและผู้อี่น จึงจะถือว่าถูกด้อง ส่วนความสนุกสนานเพลิดเพลิน นั้น ใหถือว่าเป็นเพียงผลพลอยได้เท่านั้น จึงจะนับว่าได้ประโยชน์ จากนิทานชาดกที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไว่ให้แล้วอย่างแท้จริง ๑ ม 1ปี๕๓๑
คำ น่า ในระหว่างปีพุทธศักราช ๒(รr๒๗ ถึงต้นปี ๒๕rfefะ หลวงพ่อ ทัตตซีใว ไต้นำ นิทานชาดก มาแสดงพระธรรมเทศนาทุกบ่าย วันอาทิตย์ ติดต่อกันเป็นเวลากว่า ๑ ปี การเล่านิทานซาดกของ หลวงพ่อมิไต้เป็นเพียงการเล่าเรื่องสู่กันฟังอย่างเดียวเท่านั้น แต่ ท่านไต้อธิบายสรุบ่ และวิเคราะห์ชาดกเรื่องนั้นๆ ทั้งยังไห้ข้อคิด จากชาดกอันเป็นบ่ระโยชน์ต่อผู้ฟังอย่างยิ่ง ท่าไห้การฟังพระธรรม เทศนาเป็นเรื่องที่ต้องติดตามฟัง ติดต่อกันทุกสับ่ดาห์ ผู้ฟังต่าง จดบันทึกเอาไว้เพี่อจะไต้อ่านอีกไนภายหลัง อาทิตย่ไดที่มิไดีไบ่วัด ทำ ไห้ต้องพลาดเรื่องชาดกก็จะต้องติดตามขออ่านจากบันทึก ของ กัลยาณมิตรที่ไต้บันทึกไว้ กาลเวลาผ่านไบ่ ผู้ที่เคยฟังนิทานชาดก ยังคงระลึกถึงเรื่องราว ที่สนุกสนานของชาดก แม้จะไต้มิการนำนิทานชาดกหลายเรื่องมา เรียบเรียงไหม' ลำ หรับนักอ่านรุ่นเยาว์ แต่หลายคนยังคงระลึกถึง ต้นเรี่อง ที่หลวงพ่อไต้แลดงพระธรรมเทศนาไว้ นิทานชาดก ที่บริษัท กราพีคอาร์ต 28 จำ กัด ไต้รับอนุญาต ไห้นำมาจัดพิมใว์ไนครั้งนี้ เป็นการรวมหัวข้อนิทานชาดก ที่หลวงพ่อ เทศน์ทั้งหมด เรียงลำดับไนอรรถกถา จากวรรค ๑ ถึงวรรค ๗ และ เพี่อความเหมาะลมไนการจัดพิมพ์ จึงไต้แยกพิมพ์เป็น ๗ เล่ม บริษัท กราพิคอาร์ต 28 จำ กัด ขอกราบขอบพระคุณหลวงพ่อ ทัตตชีใว ที่ไต้อนุญาตไห้จัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ขึ้น
นทานซาดก เล่ม ๕ โลฝ็กชาดก ๑0 กโปตกชาดก ๒ เวฬุกชาดก ๓ มกสชาดก ๔๗ ๔๓ โรหิณีชาดก อารามทูสกชาดก ^๘ ๗๗ วารุณีชาดก ๔๔ เวทัพพชาดก ๙๗ นักชัดตชาดก ทุมเมธชาดก วิธีสืกสมาธิ
ใลสกชาดก ชาดกว่าด้วยโทษของความอิจฉาริษยา สฉๆนทีดรสซๆดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สๆเฬดุทีดรสซๆดก ครํ้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล ณ ชนบทแควันโกศส มีหมู่บ้าน ชาวประมงประมาณหนึ่งพันครอบครัว อาศัยอยู่ด้วยความผาลุก ตลอดมา ครั้นต่อมา หญิงคนหนึ่งในหมู่บ้านได้ตงครรภ์ นับตั้งแต่ นั้นมา ทุกครอบครัวต่างก็ทำมาหากินผืเดเคือง ลำ บากมากขึนตาม ลำ ดับ ชํ้ายังมีภัยพิปติเกิดขึ้นอยู่เนือง ๆเซ่น ถูกไฟไหม้บ้านถึง ๗ ครั้ง ถูกทางการปรับถึง ๗ หน
นิทานชาดกเล่มห้า ๑® ซาวประมงทั้งหลายจึงประชุมกันเพื่อหาทางแก้ไข ในที่สุด จึงเห็นพ้องต้องกันว่า คงจะต้องมีบุคคลที่เป็นกาลกิณีอยู่ในหมู่บ้าน อย่างแน่นอน จึงช่วยกันค้นหาผู้ที่เป็นกาลกิณีนน โดยแน่งกัน ออกเป็น ๒ กลุ่ม กลุ่มละ ๕๐๐ ครอบครัว กลุ่มครอบครัวที่หญิง มีครรภ์ผู้นี้ไปอยู่ ก็ทำ มาหากินไมขึ้น ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งที่แยกออกไป กลับเจริญขึ้น พวกที่แย่ลง ก็แน่งกันออกเป็น ๒ กลุ่มอีกครั้ง แยกกัน โดยทำนองนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั้งเหลือครอบครัวของหญิงมีครรภ์ เพียงครอบครัวเดียว ซาวบ้านทั้งหลายจึงพากันข้บไล่ครอบครัว ของนางออกจากหมู่บ้านไป เพราะถือว่าเป็นกาลกิณี ครอบครัว ของนางจึงมีความเป็นอยู่ยากแค้น แสนสาหัสขึ้นไปอีก หญิงนนเมื่อคลอดบุตรแล้ว ก็พยายามอดทนเลี้ยงลูก จน เติบโตวิ่งเล่นได้ แต่ครอบครัวของนางต้องอยู่อย่างอดอยากยากแค้น ยิ่งนัก ในที่สุดวันหนึ่งนางจึงพูดกับลูกขายว่า \"ลุกเอ๋ย... เจ้าจงไปหากินเอาเองเถอะนะ พ่อ แม่เลี้ยงเจ้า ต่อไปไม่ไหวแล้ว\" พร้อมกันนนก็เอาซามดินเผาใบหนึ่งยัดใส'มือลูก แล้วหนีไป อยู่เลียที่อื่น ตั้งแต่นนมา เด็กคนนี้ก็ต้องร่อนเร่ไปเรื่อย ๆ มีควๆม อดอยากหิวโหยตลอดเวลา ไม่เคยได็กินอาหารเป็นมื้อลักครั้ง ได้แต่ เก็บเศษขนมที่เขาทำหกหล่นหรือสาดทิ้งมากิน ตกคํ่าก็อาศัยนอน ตามศาลาวัดบ้าง ขายคาบ้าน หรือตามใต้สะพานบ้าง นํ้าท่าไม่เคย ได้อาบ ร่างกายซูบผอมสกปรก มีสภาพเหมือนปีศาจคลุกฝ่น เป็น เช่นนี้จนอายุได้ประมาณ ๗ ขวบ วันหนึ่ง ขณะที่พระสารืบุตรกำลังบิณฑบาตอยู่ในนคร-
นิทานชาดกเล่มห้า สาวัตถี ได้เห็นเด็กนั้น กำ ลังเก็บเมล็ดข้าวที่เขาสาดทิ้งจากการล้าง หม้อล้างชามมากินทีละเม็ด ท่านรูสึกสงสารยิ่งนัก จึงเข้าไปสอบถาม แล้วพามายังเซตวันมหาวิหาร ให้บรรพชาเป็นสามเณร ทำ ให้เด็กนั้น มีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น ครั้นเมื่ออายุครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์ ก็อุปสมบท เป็นพระภิกษุได้รับฉายาว่า โร)สกฟิร}สะ ถึงแม้ว่าจะบวชเป็นพระภิกษุแล้วก็ตาม แต่ท่านใลสกติสสะ ไม่เคยได้ฉันเต็มอิมเลย ได้ฉันเพียงแค'พอประทังชีวิตไปวันหนึ่ง ๆ เท่านั้น เพราะเมื่อใครใส่บาตรให้ท่านเพียงทัพพีเดียว คนอื่น ๆ ทีจะใส่ให้อีก ก็จะเห็นเสมีอนว่าบาตรนันมีอาหารเต็มจนล้นขอบ บาตรแล้ว จึงใส่ให้องค์อื่นแทน แม้กระนั้นก็ตาม ท่านก็มีความเพียร ในการปฎิบติธรรมเป็นเลิศ ในที'สุด ก็สามารถทำใจหยุดนึ่งที่ศูนย์ กลางกาย เข้าถึงธรรมกายอรหัต หมดกิเลสเป็นพระอรหันต์ได้ แต่ อย่างไรก็ตามท่านก็ยังคงมีลาภน้อย ไม่ได้ฉันเต็มอิ่มอยู่ตามเคย ร่างกายจึงทรุดโทรมตลอดมา จนกระทังใกล้วันเข้านิพพานเต็มที วันหนึง พระสารีบุตรเถระทราบว่า ใกล้เวลาที่พระใลสก- ติสสเถระจะเข้านิพพานแล้ว จึงคิดจะอนุเคราะ'เปี,ห้ท่านได้ฉัน อาหารเต็มอิ่มลักมื้อหนึ่ง จึงพาท่านไปบิณฑบาตด้วย แต่ปรากฏว่า เมื่อพาท่านไปด้วย พระสารีบุตรกลับไม่ได้อะไรเลย แม้เพียงการ ยกมีอไหว้จากชาวบ้าน ท่านเห็นเซ่นนั้น จึงให้พระใลสกติสส เถระ กลับไปรอที่หอฉันก่อน แล้วท่านก็ย้อนกลับไปบิณฑบาตใหม่ คราวนี้ ชาวบ้านทิ้งหลายต่างพากันนิมนต์ท่าน ใ'ห้นั่งในที่อันควร แล้วถวาย ภัตตาหารมากมาย
นิทานชาดกเล่มห้า ๑๓ พระลารีบุตรจึงให้คนนำอาหารไปถวายพระโลลกติสสะ แต่คนนำอาหารไปนํ้นกลับลืมไปว่าจะนำไปให้ใคร จึงกินเลียเอง เมื่อพระสารีบุตรกลับมาถึงวัด ทราบว่าท่านยังไม่ได้ฉัน จึงสลดใจ ยิ่งนัก แต่เห็นว่ายังพอมีเวสาอยู่ จึงเดินเข้าไปในพระราชวัง พระเจ้า ปเสนทิใกศลทรงรับสั่งให้นำบาตรมา แต่ทรงเห็นว่าไม'ใช่เวลาถวาย ของคาวแล้ว จึงถวายของหวานให้ sr อย่าง คือ เนยใส เนยข้น นํ้าผึ้ง และนํ้าอ้อย พระสารีบุตรนำของหวานที่ได้กลับไปที่หอฉัน จึงเรียก พระใสสกดิสสเถระให้มาฉัน แต่พระใสสกติสสะเสึกเกรงใจ จะ ไม่ฉัน พระสารีบุตรจึงคะยั้นคะยอให้ฉันแล้วยืนถือบาตรไว้ เพราะ เกรงว่าหากท่านปล่อยบาตรออกจากมือเมื่อไร อาหารในบาตร ก็จะหายไปหมดเมื่อนั้น พระใสสกติสสะจึงนั่งฉันของหวานนั้น จนอิ่มเป็นครั้งแรกในชีวิต หลังจากนั้นท่านก็นิพพานในวันนั้นเอง พระลัมมาลัมพุทธเจ้าทรงสั่งให้ ปลงสรีระ ของท่าน แล้ว เก็บพระธาตุไวิในเจดีย์ ต่อมา พระภิกษุทงหสายสนทนากันในธรรมสภา ถึงพระ- ใสลกติสสะเถระว่า ท่านเป็นผู้มืสาภน้อย มืความเป็นอยู่อด ๆอยาก ๆ อย่างนั้น แต่ก็ยังบรรลุพระอริยธรรมได้ ช่างน่าอัศจรรย์ยิ่งนัก พระลัมมาลัมพุทธเจ้าเสด็จไปยังธรรมสภา ทรงทราบข้อ สนทนานั้นแล้ว จึงทรงระสึกชาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณ แล้ว ตรัสว่า
®®■ นิทานชาดกเล่มห้า \"ดูก่อนภิกษุทงหลาย โลสกติสตะเถระผู้นี้มืลาภน้อย เพราะ เคยประกอบกรรมทำลายลาภของผู้อื่น และการที่ได้อริยธรรม ก็ด้วยผลบุญ ที่บำ เพ็ญเพียรภาวนามาตีแล้วในอดีตชาตินั่นเอง\" จากนน พระพุทธองค์ทรงนำ โรฟิกขๆดก มาตรัสเล่า ดังนี้ เนอฬๆชๆดก ในอดีตกาลนานมาแล้ว สมยพระสัมมาส้มพุทธเจ้าทรง พระนามว่า กั๙๙'ปะ มีภิกษุเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง มีความประพฤติ เรียบร้อย ศีลาจารวัตรงดงาม บำ เพ็ญวิปัสสนาอยู่เป็นนิจ จึงเป็นที่ เคารพ เลื่อมใสของชาวบ้าน ในละแวกนี้นยิ่งนัก อีกทงกุฎมพีเศรษฐี ผู้หนึ่ง ก็ได้ปวารณาตนเป็น'อุปัฏฐาก บำ รุงด้วย พุปัจพ อย่าง สมบูรณ์ตลอดมา อยู่มาวันหนึ่ง มีพระอรหันต์รูปหนึ่งมาบิณฑบาตในหมู'บ้าน นี้น เมื่อกุฏมพี^เห็นท่าน ก็บังเกิดความศรัทธาเลื่อมใส จึงนิมนต์ ให้ท่านใป'พกผ่อนยังวัดที่ตนเป็นอุปัฏฐากอยู่ พระอรหันต์อาคันตุกะ จึงตรงไปพบพระภิกษุเจ้าอาวาสที่ วัดประ'จำหมู่บ้าน สนทนากันตามสมควร แล้วจึงฃอเ'ข้า'พักอาศัยด้วย เมื่อได้เสนาสนะแล้วก็นั่งเจริญภาวนา มีความสุขอยู่ในฌานสมาบํติ ครั้นถึงเวลาเย็น กุฏมพีเศรษฐีพร้อมด้วยบริวารก็ถือดอกไม้ และนำม้นสำหรับใส'ตะเกียงไปวัด เมื่อกราบพระภิกษุเจ้าอาวาส แล้วจึงเข้าไปกราบพระอรหันต์อาศันตุกะ แล้วนั่งพังธรรมจากท่าน
นิทานชาดกเล่มห้า ๑๕ จนมืดคํ่า เมื่อจะกลับก็ได้อาราธนา ทั้งพระภิกษุเจ้าอาวาสและ พระอาคันตุกะไปรับบิณฑบาตในวันรุ่งขึ้น ภิกษุเจ้าอาวาสเห็นกุฎมพีเอาใจใส่พระเถระอาคันตุกะมาก จึงบังเกิดความริษยา ไม่ต้องการให้ท่านอยู่ร่วมวัดด้วย เวลาที่ท่าน มาพบ ก็แสดงท่าที รังเกียจ ไม่ยอมพูดจาด้วย ฝ่ายพระอาคันตุกะ เป็นพระอรหันต์ ทราบวาระจิตของ' พระภิกษุเจ้าอาวาสเป็นอย่างดี จึงได้แต่รำพึงว่า \"....พระเถระนี้ไม่รู้ว่า เราเป็นผูไม่ติดในตระกูล ในลาภ หรือหม่คณะ จึงเกิดความติดริษยาเรา....\" แต่ท่านก็มิได้กล่าวกระไร ได้แต่นั่งเจริญภาวนา มืความสุข อยู่ในฌานสมาปติของท่านได้ ครั้นวันรุ่งขึ้น ก่อนที่จะออกไปรับบิณฑบาต พระภิกษุ เจ้าอาวาสคิดว่า ถ้าเรานิมนต์พระรูปนี้ไปพร้อมกัน เศรษฐีกัจะไม่สนใจ เรา ต้องหาทางทำให้เศรษฐีเห็นความไมด๊ของพระรูปนี้จะไต้หมด ความเลื่อมใส แล้วหันมาเลื่อมใสเราเหมือนก่อน....\" คิดคังนี้แล้ว จึงเดินไปที่หอระฆัง จะไซไม้เคาะก็กลัวเสียง จะดังเดี๋ยวพระอาคันตุกะจะไดียิน จึงใช้หลังเล็บเคาะระฆัง จากนั้น ก็เดินไปที่ประตูกุฏิ เอาเล็บเคาะเบา ๆ แล้วรีบเดินไปบ้านกุฏมพึ เคนรั่ษฐ^ีท^ันท^ี เศรษฐีนิมนต์พระภิกษุเจ้าอาวาสนั่งบนอาสนะที่จ้ดไว้ แล้ว ถามถึงพระอาคันตกะ ภิกษเจ้าอาวาสจึงตอบว่า
พ'
นิทานชาดกเล่มห้า <5)๗ \"อาตมาตีระฆังก็แล้ว เคาะประตูก็แล้ว ยังไม่เห็นท่านตื่นเลย เมื่อวาน คงจะฉันอาหารเสียจนอิ่มเกินไป วันนเลยเอาแต่นอน ลุกไม'ขึ้น พระขึ้เกิยจเช่นนี้คุณโยมเคารพนับถืออยู่ได้อย่างไร\" กุฎมพีเศรษฐี จึงนิมนต์พระภิกษุเจ้าอาวาส ฉันข้าวปายาส ทีปรุงอย่างดี จนอิ่มแล้ว จึงนำบาตรมารมด้วยของหอม แล้วบรรจุ ข้าวปายาสลงไป จนเต็มบาตร แล้วกล่าวว่า \"พระคุณเล้าขอรับ พระอาคันตกะท่านคงจะเหน็ดเหมื่อย เมื่อยล้าจากการเตีนทางเมื่อวานนี้จึงเผลอหลับไป ขอพระคุณเล้า ได้โปรดนำข้าวปายาสของข้าพเล้านี้ไปถวายท่านด้วยเกิด\" พระภิกษุเจ้าอาวาสรับบาตรมาถือไว่ไม'กล้าปฏิเสธ ได้แต่ คิดว่า \"...ล้าพระอาคันตุกะได้ลิ้มรสข้าวปายาสนี้แล้ว ต่อไป แม้เราจะฉุดลากให้ออกจากวัดก็คงจะไม่ไปเป็นแป เราด้องเอา ข้าวปายาสปีไปลิ้งเสีย แต่เอ.... ล้าเราเทลงบนพื้นดิน ฝูงลุนัข ฝูงกา ก็จะมาแย่งกินกัน เครษ^เข้า ความก็จะแตก... ล้าเราเทลงในนี้า เนยใสก็จะลอยเป็นมันบนผิวนี้า คนก็จะสงลัย จะไปพื้งที่ไหน ตีหนอ....\" พอดีในระหว่างทาง ท่านบังเอิญเห็นกองไฟที่เขาสุมทิ้งไว้ ในนากองหนึ่ง ท่านจึงเอาข้าวปายาสเทลงในกองไฟ กลบด้วย เถ้าถ่านจนมิดชิด แล้วจึงกลับว้ด ขณะทีเดินผ่านกุฏิพระอาคันตุกะ จึงแอบย่องเข้าไปดูว่า ท่านกำลังทำอะไรอยู่ แต่ไม่เห็นพระเถระอยู่ในกุฏิ จึงฉุกคิดขึ้นว่า
(ร)๘ นิทานชาดกเล่มห้า \".....พระเถระรูปนี้คงจะเป็นพระอรหันต์รู้วาระจิตของเรา จึงหลีกไปบิณฑบาตที่อื่นเสียแล้ว\" ทันใดนั้นเอง ความเสียใจ อย่างใหfyหลวงก็บังเกิดแก่พระภิกษุเจ้าอาวาส นับแต่นั้นเป็นต้นมา ภิกษุเจ้าอาวาสก็โศกเศร้าเสียใจในการ กระทำของตนอย่างสุดแสนที่จะประมาณ ท่านไม'อาจจะฉัน ไม'อาจ จะจำวัด ไต้แต่นั่งเหม่อลอยครุ่นคิด จนร่างกายซูบผอม และถึงแก่ มรณภาพในที่สุด ในขณะที่มรณภาพนั้น จิตใจของท่านทุกข์ระทม เศร้าหมอง อยู่ในกรรมชั่วของตน เมื่อมรณภาพแล้วจึงตกนรกหมกไหม้อยู่ หลายแสนปี เมื่อพ้นจากนรกแล้ว เศษกรรมยังนำใหใปเกิดเป็นยักษ์ อีกถึง ๕๐๐ ชาติ ตลอดเวลาที่เป็นยักษ์ ก็ไม'เคยไดกินอาหารอิ่มท้อง เลยสักมื้อเดียว จนถึงวันสุด.ท้ายของชาติทีเกิดเป็นยักษ์ จึงไต้กิน อาหารอิ่มท้องเป็นมื้อแรกและเป็นมือสุดท้าย คือ ไดกินรกของหญิง ที่เขานำมาทิ้ง หลังจากคลอดลูกแล้ว จากนั้นก็ไปเกิดเป็นสุนัขอยู่อีก ๕๐๐ ชาติ ตลอดเวลาที่เป็นสุนัข ก็ไม'เคยกินอิ่มท้องเช่นเดียวกัน จะไดกินอิ่มก็ในชาติสุดท้ายและมื้อสุดท้าย อาหารมือนั้นเป็นอาเจียน ของมนุษย์ เมื่อพ้นเวรจากสุนัข ก็ไปเกิดเป็นลูกคนยากจนครอบครัว หนึ่งในแคว้นกาสี มืชื่อว่า เป้ตตฟ้นทุกะ นับตงแต่วันที่เขาเกิดมา ตระกูลนีก็ยากจนลงไปอีก แต่ละวัน ที่ฝานไป มิตตพินทุกะเติบใตขึน ครอบครัวกลับยิงทรุดหนักลงไปอีก เป็นลำดับ แม้ปลายข้าวก็แทบจะหากินไม'ไต้ เมื่อพ่อแม่เห็นว่า มิตตพินทุกะเติบโตพอวิงเล่นไปมาไต้แล้ว จึงขับไล่ไสล่งให้ออก
นิทานชาดกเล่มใh จากบ้าน ด้วยเห็นว่าเป็นกาลกิณี มิตตพินทุกะจึงเที่ยวร่อนเร่ พเนจรไปเรื่อย จนกระทั่งไปถึงเมืองพาราณลี ขอทานเขากินไปวันๆ ครื่งนํ้น ^จบุญชาวเมืองพาราณสี ได้จัดทุนการศึกษา ให้เด็กยากจนได้มืโอกาสศึกษาเล่าเรียน มิตตพินทุกะจึงได้รับ ความอุปการะให้เรียนศึลปศาสตร์ไนสำนักของอาจารย์ทิศาปาโมกข์ ผู้หนึ่ง ชึ่งมืลูกศึษย์อยู่ถึง (Sroo คน แต่ด้วยความมืนิสัยเกะกะเกเร หยาบคาย ดื้อรน ไม'ฬงใคร จึงมืเรื่องทะเลาะวิวาทกับศิษย์อื่น ๆ เป็นประจำ แม้อาจารย์จะว่ากล่าวตักเตือนอย่างไร ก็ไม่เชื่อฟัง ศิลปวิทยาการใด ๆ ก็ไม'ยอมศึกษาเล่าเรียน อยู่มาวันหนึ่ง มิตตพินทุกะทะเลาะวิวาทกับศิษย์อื่น ๆอีก จึงถูกอาจารย์ว่ากล่าวอย่างรุนแรง มิตตพินทุกะไม'พอใจมาก จึง หนีออกจากสำนักเที่ยวระเหเร่ร่อนไปจนถึงหมู'บ้านชายแดนแห่งหนึ่ง อาตัยแรงกายรับจ้างเขาทำงานเลี้ยงชีวิตไปวันหนึ่ง ๆ ต่อมาก็ไปได้ หญิงยากจนในหมู'บ้านนั้นเป็นภรรยา ชาวบ้านมีความสงสารจึง ช่วยกันปลูกกระท่อมให้อยู่ใกล้ทางเข้าหมู'บ้าน และให้แจ้งเรื่องราว ต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามา ให้คนในหมู'บ้านทราบด้วย มิตตพินทุกะจึง อยู่กับภรรยาในหมู'บ้านนั้น จนมืลูก ๒ คน ตั้งแต่มิตตพินทุกะมาอยู่ที่หมู'บ้านนี้ มีชาวบ้านถูกราชทัณฑ์ ถึง ๗ ครั้ง เกิดไฟไหม้บ้าน ๗ ครั้ง ปอนํ้าพัง ๗ ครั้ง ชึ่งแต่ก่อน ไม'เคยมีเรื่องเดือดร้อนเช่นนี้เกิดขึ้นเลย ทั่งการทำมาหากินก็ลำบาก ยากแค้นลงอย่างเห็นได้ซัด ชาวบ้านทั่งหลายจึงปรึกษากัน ในที่สุด ต่างลงความเห็นว่า มิตตพินทุกะเป็นคนกาลกิณี จึงพากันทุบตืซับไล่
๒0 นิทานชาดกเล่มห้า ให้ออกไปจากหมู่บ้าน มิตตพินทุกะจึงพาภรรยาและลูกทั้ง ๒ คน หนีกระเซอะกระเชิงไปอย่างไม'มีจุดหมายปลายทาง ระหว่างที่เร่ร่อน อยู่นั้น ก็หลงเข้าไปในเขตที่อมนุษย์ยึดครองอยู่ ภรรยาและลูกของ มิตตพินทุกะ ถูกพวกอมนุษย์จับกิน แต่ตัวเขาเองหนีรอดไปใด้ วันหนึ่ง มิตตพินทุกะซัดเซพเนจรไปจนถึงเมีองท่าแห่งหนึ่ง ซื่อ คัมภีระ พอดีเป็นวันที่เขาจะปล่อยเรือออกทะเล มิตตพินทุกะ จึงสมัครเป็นกรรมกรในเรือ เมื่อเรือสินค้าแล่นไปได้ ๗ วัน ถึงกลาง ทะเลพอดี ก็หยุดขึ้นมาเฉย ๆเหมือนมีใครมาฉุดเอาไว้ ทั้ง ๆ ที่คลื่นลม ก็สมํ่าเสมอ นายเรือและลูกเรือต่างพยายามหาสาเหตุ ก็ไม่พบ ความผิดปกติใด ๆ ในที่ลุดจึงลงความเห็นว่า อาจจะมีบุคคลเป็น กาลกิณีอยู่ในเรือนี้ จึงให้จับสลากกัน ปรากฏว่ามิตตพินทุกะจับ สลากได้ แต่เพื่อให้แน่ใจว่าไม่เป็นความบังเอิญ จึงได้จับสลากขึ้น มาอีก ก็ปรากฏว่า มิตตพินทุกะจับไดีอีก แบ้ครั้งที่ ๓ ครั้งที่ ar จนกระทั้งครั้งที่ ๗ มิดตพินทุกะก็จับสลากได้ทุกครั้ง ชาวเรือทั้งหลาย จึงมั่นใจว่า มิตตพินทุกะเป็นบุคคลกาลกิณีแน่นอน จึงช่วยกันจับ แล้วปล่อยลอยแพ เมื่อมิตตพินทุกะถูกปล่อยพ้นจากเรือเท่านั้น เรือก็แล่นต่อไปได้ทันที มิตตพินทุกะลอยแพอยู่กลางทะเล ไม่มีอาหาร ไม่มีนำดื่ม ไม'มีที่กำบังแดด ได้รับความลำบากมาก แต่ด้วยผลบุญที่เคยรักษาศีล มาแล้ว ในสมัยพระกัสสปะสัมมาส้มพุทธเจ้า ทำ ให้แพนั้นลอยไปถึง แดนของ เจมานิกเปรต ซึ่งเป็นที่อยู่ของเทพธิดาเปรต เทพธิดาเปรต เหล่านั้นจะเสวยสุขอยู่ในวิมาน ๗ วัน แล้วด้องไปรับทุกข์เป็นเปรต ๗ วัน สลับกันไป
นิทานชาดกเล่มห้า ๒® มิตตพินทุกะเสวยสุขอยู่กับเทพธิดา นาง ในวิมานแก้วผลึก เป็นเวลาถึง ๗ วัน คทเวันที่ ๗ เทพธิดาเหล่านั้น จึงลังมิตตพินทุกะว่า \"ท่านจงรอพวกฉันอยู่ที่นี่ อย่าไปไหนนะ\" แต่มิตตพินทุกะเป็นคนดือรน ไม'เชื่อฟังใคร เมื่อเทพธิดา ทง <r นางไปแล้ว เขาจึงนอนลอยแพต่อไปอีก จนกระทังไปพบ เทพธิดา นางไนวิมานเงิน ได้เลวยสุขอันประณีตยิ่งขึน กับเทพธิดา ซึ่งเป็นเวมานิกเปรตเหล่านั้น จนครบ ๗ วัน ถึงเวลาที่พวกนางจะไป รับทุกข์ จึงบอกไหมิตตพินทุกะอยู่รอนาง แล้วจากไป แต่มิตตพินทุกะ ไม่เชื่อฟัง คงลอยแพต่อไปอีก มิตตพินทุกะได้พบเทพธิดา ๑๖ นาง ไนวิมานแก้วมณี ได้ เลวยสุขอันประณีตยิ่งขึ้น แต่เหตุการณ์กลับเป็นไปเช่นเดิม จนกระทั่ง มิตตพินทุกะได้ลอยแพไปพบกับเทพธิดาถึง ๓๒ นาง ไนวิมานทอง แม้ว่าจะได้เลวยสุขอันประณีตเพียงได มิตตพินทุกะก็ไม่เชื่อฟังคำ ของนางเทพธิดาเหล่านั้นเลย เมื่อพวกนางจากไป มิตตพินทุกะ จึงลอยแพต่อไปอีก แต่คราวนี้ ไม่ได้พบเทพธิดาเหมือนเคย แต่กลับ ไปพบเกาะแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่อยู่ของยักษ์ มิตตพินทุกะมองเห็น เฌ่แพะตัวหนึ่ง ซึ่งเป็นนางยักษ์แปลงตัวมา ด้วยความหิวจัด หลังจาก ที่ลอยทะเลมาเป็นเวลานานเขาจึงกระโดดจับแพะ หวังจะเอามา เป็นอาหาร จึงถูกแม่แพะดืดกระเด็นข้ามทะเล ไปตกอยู่ข้างคูเมือง พาราณลี ไนขณะนั้นเอง คนเลี้ยงแพะของพระราชานำแพะมาเลี้ยง พร้อมกับช่วยกันชุ่มจับโจรที่ขโมยแพะไป มิตตพินทุกะเห็นแพะ เหล่านั้น ก็คิดด้วยความโง่เขลาเบาปัญญาว่า
๒๒ นิทานชาดกเล่มห้า \"เราจับแม่แพะทีเกาะกลางทะเล แล้วถูกมันดีดกระเด็น มาตกที่นี่ ถ้าเราจับแม่แพะที'นี่ มันคงจะดีดเรากระเด็นกลับไปยัง วิมานที'เกาะทะเลโน้น แน่ ๆ\" คิดดังนันแล้ว มิตตพินทุกะจึงกระโดดจับขาแม่แพะตัวหนึ่ง แม่แพะตกใจจึงส่งเลียงร้องตังลัน คนเลียงแพะไดยิน จึงกรูกันเข้ามา จับตัวมิตตพินทุกะไว้ บ้างก็เตะ ต่อย ทุบตี \"เร็ว ๆ พวกเรา เล้าหัวขโมยกำลังขโมยแพะอีกแล้ว\" \"ปีแน่ะ ขโมยดีนัก ต้องใหัมันเจ็บตัวซะบ้าง\" \"เอาเลยพวกเรา มันทำใหัเราเดีอดร้อนนัก\" แม้มิตตพินทุกะจะพยายามอธิบาย แต่ก็ไม่มีโอกาสเลย ไนที่สุดจึงถูกซ้อมเลียสะบักสะบอม มิตตพินทุกะถูกรุมทำร้าย ถูกกส่าวหาว่าเป็นขโมย บวกกับ ความหิวโหยที่อดอาหารมานาน จึงหมดเรี่ยวแรงจะขัดขืน ปล่อยไห้ คนเลียงแพะมัดมือฉุดลากมาตามทาง ไบหน้าที่บวมปูดนั้น ดูโศกเศร้า น่าสงสาร ไนขณะนั้น อาจารย์ทิศาปาโมกข์พร้อมด้วยศิษย์ <iroo คน กำ ลังเดินไปอาบนํ้า เหินมิตตพินทุกะถูกจับตัวอยู่ ก็จำ ได้ จึงเดิน เข้าไปกล่าวว่า \"ท่านทั้งหลาย ในฐานะที'เขาเป็นศิษย์ของเรา ขอใหัเรา น่าตัวเขาไปอบรมสั่งสอนเถิด\"
นิทานชาดกเล่มห้า ๒๓ ด้วยความเคารพนับถืออาจารย์ทิศาปาโมกข์ คนเหล่านั้น จึงยินยอมมอบตัวมิตตพินทุกะให้ หลังจากที่อาจารย์ทิศาปาโมกข์ สอบถามความเป็นไปของเขาแล้ว จึงกล่าวว่า \"บุคคลใด เมื่อท่านผู้หวังดีเอ็นดูจะเกื้อกูลสั่งสอน ก็มิได้ กระทำตามที่ท่านสอน บุคคลผู้นนย่อมเศร้าโคกอยู่เป็นนิตย์เหมือน มิตตพินทุกะจับขาแพะแล้ว เศร้าโคกลำบากอยู่ ฉะนั้น\" 'ป§ะชุมปีๆดก ครั้นพระลัมมาลัมพุทธเจ้าตรัสชาดกจบลงแล้ว ทรงประชุม ซาดกว่า ได้มาเป็นพระโลสกติสสะ รรตตพินทุกะ อาจารย์พิฟึา'นาโมกข์ ได้มาเป็นพระองค์เอง ปีอคดจากปีๆดก ๑. ผู้ที่อิจฉาริษายาความดีของบุคคลอื่น จะส่งผลไห้ตนเอง เกิดเป็นคนที่ไม่มีอำนาจวาสนา ๒. ผู้ที่ทำ ลายลาภของ^น ย่อมเกิดเป็นคนอดอยาก ยาก แค้น ยิ่งทำลายลาภของผู้ที่มีคุณธรรมสูงเพียงไร ก็ยิ่งได้รับผลกรรม หนักขึ้นเพียงนั้น ๓. ผู้ที่ดื้อรั้น ไม่เชื่อฬงคำสั่งสอนตักเตือนของผู้ที่ปรารถนาดี ย่อมได้รับความเดือดร้อนไนที่สุด
๒<r นิทานชาดกเล่มห้า Ol. ตามธรรมดาของผู้ทีจะสำเร็จมรรคผลนิพพาน เป็น พระอรหันต์ในภพชาตินั้น ๆ เแงใครก็ไม่อาจทำลายได้ เพราะอำนาจ บุญทีได้เคยสร้างสมมาดี ไนอดีต คอยด้มครองอยู่ แต่ถึงกระนั้น ก็ยังคงด้องรับผลของกรรมชั่วไนอดีตที่ตนได้สร้างไว้ อรบๆยฟั'ฬท์ (โลสกชาดก อ่านว่า ใล-ละ-กะ-ชา-ดก) บรรพขๆ การบวชเป็นสามเณร บอฃอเระ จัดการกับศพ เช่น เผาศพ พระรๆดุ เจ้าอาวา๙ กระดูกของพระอรหันต์ กุฎุมพี พระที่มีตำแหน่งเป็นผู้ปกครองวัด วดุป้จจ้น ผู้อุปถัมภ์บำรุงพระภิกษุสามเณร ปัจจัย ar หมายถึง เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของ อาดันดุภะ พระภิกษุ ar อย่าง คือ จ้าวัต จีวร (เครื่องนุ่งห่ม) ราซดัผ.พ์ บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา) แขกผู้มาหา นอน (ไซ้เฉพาะพระภิกษุ) โทษหลวง
นิทานชาดกเล่มห้า ๒^ เวมานิกเ'ปรต เปรตซึ่งมีวิมานอาศัย เปรตจำพวกนี้เมื่อครั้งที่ เป็นมนุษย์ เคยทำทั้งกรรมดีและกรรมชั่วมาอย่าง มาก ผลกรรมนั้นจึงทำให้ต้องมาเสวยสุขและทุกข์ สลับกันไป 'พระคาดา\"ประจำชาตก ใย อตฺถากามสส หิตานุกมปิใน ใอวซชมาใน น กใรติ สาสนํ อชาย ปาทํ ใอลุพภ มิตฺตใก วิย ใสจติ บุคคลใด เมื่อท่านผู้หวังดีเอ็นดูจะเกื้อกูลสั่งสอน ก็มิไต้กระทำตามที่ท่านสอน บุคคลนั้นย่อมเศร้าใศกเป็นนิตย์ เหมือนมิตตพินทุกะ จับชาแพะแล้วเศร้าใศกลำบากอยู่ ฉะนั้น
กโปตกซาดก ชาดกว่าด้วยความเป็นผ้มีใจโลเล สฉานที่ดรสซๆดก เซตวันมหาวิหาร นครลาวัตถี สาเทดุที่ฅรสร!ๆดก ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล มีพระภิกษุรูปหนึ่งมีนิสัยโลเล บางครั้งก็ตั้งใจประพฤติปฎิปติธรรมอย่างเคร่งครัด บางครั้งก็เบื่อหน่าย เลิกทำความเพียร ปฎิปติธรรมไม่ลมํ่าเลมอ จึงไม'ลามารถบรรลุ ธรรมใด ๆ
นิทานชาดกเล่มห้า ๒๗ เพื่อนพระภิกษุเห็นเช่นนี้ จึงพาท่านมาเฝัาพระสัมมา- ล้มพุทธเจ้า เมื่อพระพุทธองค์ทรงซักถามท่านก็ยอมรับ พระล้มมา- ล้มพุทธเจ้าจึงทรงระลึกชาติหนหล้งของภิกษุรูปนี้ด้วยบุพเพนิวาสา นุสติญาณแล้วตรัสว่า \"เมื่อชาติก่อนเธอต้องสิ้นชีวิตเพราะความโลเลของเธอเอง มิหนำฃํ้ายังเป็นเหตุให้บัณฑิตผู้หนึ่งต้องพลัดพรากจากที่อยู่อาศัย อีกต้วย\" ตรัสตังนี้แล้วจึงทรงนำ กโ'ปตกชาดก มาตรัสเล่าตังนี้ เนอ'ฬๆซๆดก ในอดีตกาล เมื่อครั้งพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบติกรุง พาราณลี ในสมัยนั้น ชาวเมืองนิยมแขวนกระเซ้าหญ้าไว้ในที่ต่าง ๆ เพื่อให้เป็นที่อาศัยของนกทงหลาย นกพิราบตัวหนึ่งอาศัยอยู่ในกระเซ้าหญ้า ที่พ่อครัวของเศรษฐี ผู้หนึ่งแขวนไว้ในโรงครัว ทุก ๆ เซ้านกพิราบจะบินออกไปหากิน ครั้นตกเย็นก็บินกล้บมานอนในกระเซ้าหญ้านั้นอย่างเป็นสุขตลอดมา อยู่มาวันหนึ่ง กาตัวหนึ่งบินผ่านโรงครัว ได้กลิ่นหอมตลบ อบอวลของอาหาร ทงรสเปรั้ยว รสเค็ม ทงกลิ่นปลา กลิ่นเนี้อ ที่ พ่อครัวกำล้งปรุงอยู่จึงอยากลิ้มลองรสอาหารนั้น มันจึงบนมาเกาะ อยู่บนกิ่งไมืใกล้ๆ พร้อมนั้งหาอุบายที่จะเซ้าไปในโรงครัว จนกระทั่ง เย็น กาเห็นนกพิราบบินเซ้ารังในโรงครัวมันจึงนึกกระหยิ่มใจว่า
๒^;^ นิทานชาดกเล่มห้า \"ได้การละ เราจะใด้เจ้านกพิราบนี่แหละเป็นลื่อนำเราเข้าไป ในครัว\" เช้าตรู่วันรุ่งขึ้น กาดำเนินการตามแผนทันที มันบินมาคอย ดักนกพิราบที่หน้าโรงครัวแล้วบินติดตามนกพิราบออกไปหากินด้วย นกพิราบรูลกผิดสังเกตจึงถามขีนว่า \"เจ้ามาคอยปีนตามหน้าตามหลังเราอยู่ทำไม\" กาแสร้งตอบเอาใจเพื่อตีสนิทว่า \"ข้าพเจ้าถูกใจในกิริยาทำทางของท่าน อยากจะขออยู่รับใข้ ใกล้ๆจ้ะ\" นกพิราบแคลงใจ จึงถามต่อใปว่า \"เจ้ากับเรากินอาหารต่างกัน เจ้ากินอาหารที่มีเลือดปีเนื้อ ส่วนเรากินเมล็ดพืช จะไปด้วยกันได้อย่างไร\" กาหัวไวรีบตอบทันทีว่า \"ก็กินอาหารไม่เหปีอนกันนํะซิจ้ะจึงไปด้วยกันได้ เพราะ จะได้ใม่แย่งกันกิน เข้าปีดข้าพเจ้าจะปีนออกไปพร้อมๆ กับท่าน แล้วต่างแยกกันไปหากิน ถึงเวลาเย็นก็ปีนกลับรังพร้อม ๆ กันไงล'ะ\" เมื่อกายืนยันเช่นนั้นนกพิราบก็ไม'ว่ากระไร แต่ก็ไม่ไว่ใจ ในความตะกละตะกลาม ดันเป็นนิสัยของพวกกา จึงเตือนกาใว้ก่อนว่า
๓๐ นิทานชาดกเล่มห้า \"ถ้าเจ้าอยู่กับเราล่ะก็ อย่าไดใปลักอาหารในครัวกินล่ะ มิฉะนํ้นจะพากันเดือดร้อน\" เมื่อการับคำแล้วต่างก็แยกกันไปหากิน กาบินไปคุ้ยเขี่ยจิกกินหนอนในกองขีวัวจนอิ่ม แล้วบินกลับ ไปคอยนกพิราบใกล้ๆ โรงครัว เมื่อนกพิราบกลับจากหากินก็เป็น เวลาเย็นมาก กาก็แสร้งพดเตือนว่า \"ท่านไม'ควรเถลไถลหากินจนคํ่ามืดเกินเวลาเช่นนี้\" แล้วบินเข้าไปที่โรงครัวพร้อมกับนกพิราบ พ่อครัวเห็นว่ากาเป็นเพื่อนกับนกพิราบก็ไว่ใจ จึงหากระเข้า หญ้ามาแขวนให้กาอีกกระเข้าหนึ่ง นับแต่นั้นมา นกทงสองตัวก็บิน ไปหากินแล้วกลับรังพร้อม ๆ กันทุกวันเสมอ อยู่มาวันหนึ่ง มีคนนำปลาและเนื้อเป็นจำนวนมากมาฝาก ท่านเศรษฐี พ่อครัวก็นำมาแขวนไว่ในโรงครัว กาเห็นแล้วนํ้าลายสอ จึงคิดหาทางจะกินให็ได้ รุ่งเข้าถึงเวลาออกหากิน กาแกล้งทำเป็นปวดท้อง บินไม่ไหว นกพิราบรู้ท้นจึงพูดตรง ๆ ว่า \"เจ้ากาเอ๋ย เรารู้หรอกนะว่าพวกกาเช่นเจ้า จะไม่มืโรค ปวดท้องมารบกวนเลย เพราะธรรมชาติของกาย่อมหิวอยู่ทุกเวลา เจ้าคงอยากจะกินปลาและเมือในครัวละซิ อย่าเลยน่ะมันเป็นอาหาร ของมนุษย์เขา เราออกไปหากินด้วยกันเถอะ\"
นิทานชาดกเล่มห้า ๓๑ แต่กาไม่ยอมไป นกพิราบจึงเตือนชํ้าอีกว่า \"ถ้าเจ้าเห็นแก'ความอยาก เจ้าจะต้องได้รับกรรมตามสนอง แน่\" ว่าแล้วก็บินร่อนออกไปหากินตามลำพัง ฝ่ายพ่อครัวได้ลงมือประกอบอาหารมากมายหลายชนิด ด้วยปลาและเนึ๋อที่ได้มา เมื่อปรุงอวหารเสเจแล้ว จึงใส่หม้อนึ่ง ตั้งไพ่ไว้บ้าง หมักไว้บ้าง โดยเอาฝาปีดแง้ม ๆไว้พอให้อากาศถ่ายเท ได้ แล้วเอากระซอนครอบทับอีกชนหนึ่งเพื่อกันแมลงวัน จากนน จึงเดินออกไปนอกโรงครัวเพื่อรับลมให้หายเหนื่อย กาเห็นเป็นโอกาสเหมาะ จึงลงจากกระเช้าไปแอบอยู่ใกล้ๆ กระชอน แต่เคราะห์ร้ายปีกไปกระทบถูกกระชอนเสียงดัง \"แกรัก\" พ่อครัวได้ยินก็สงสัยจึงกลับเช้ามาดูเห็นกากำลังขยับปีก จะบินหนีก็โมโหสุดขีด คิดว่า กาใจชั่วอุตส่าห์ให้ที่อยู่แล้วยังเนรคุณ จะเอามันไว้ทำไม จึงปีดประดูต้อนจับกาจนได้ \"ชะ..ชะ..เจ้ากาเนรคุณ มาอาคัยแล้วยังคิดไม่ชื่อ หนอยแน่ะ คิดจะกินเนื้อที่ข้าหมักไว้ทอดให้ท่านเศรษฐีดีละ ข้าจะจับเจ้ามา หมักดูห้างว่าจะน่ากินไหม\" จากนั้นพ่อครัวก็จับกาถอนขนจนหมดตัว เอาขิงสด เกลือป่น เนยเปรียว คลุกเคล้ากันแล้วทาที่ตัวกา แล้วโยนลงกระเช้าของมัน ครั้นตกเย็นนกพิราบบินกลับจากหากิน เห็นกาไม่มืขน ตัว เกลืยงเป็นมัน นอนหายใจแขม่ว ๆ ด้วยความเจ็บปวดแสนสาหัส V กำ ลังจะขาดใจตาย จึงพูดขีนว่า
๓๒ นิทานชาดกเล่มห้า \"เจ้าได้รับความทุกขํใหญ'หลวงเข่นนี้ เพราะนิสัยโลเล ทำ ดีไม่ได้ตลอด เอาแต่ความโลภเป็นที่ตง ไม่เชื่อฟังเรา\" - แล้วกล่าวสุภาษิตว่า \"^ดบุคคลกล่าวสอนอยู่ ไม่ทำตามคำสอนของผู้ปรารถนา ประโยชน์ ผู้อบุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกื้อกูล ผู้นี้นย่อมถึงความ ฉิบหาย เศร้าโคกอยู่ เหมือนกาไม่เชื่อฟังคำของนกพิราบ ตกอยู่ใน เงื้อมมือของข้าคึกฉะนี้น\" ครั้นแล้วนกพิราบก็คิดว่า ตนคงจะอยู่ที่โรงครัวต่อไปอีกไม่ได้ เพราะกาทำให้เขาไม่ไว้วางใจเสียแล้ว อันตรายอาจจะมาถึงตัวเมือไร ก็ได้ จึงบินไปหาที่อยู่ใหม่ ล่วนกาก็นอนตายอยู่ในกระเซ้านั้นเอง 1]9ะซุมซๆดก เมื่อพระสัมมาส้มพุทธเจ้าตรัส กโ*ปตกชาดก จบลงแล้ว พระพุทธองค์ทรงแสดงอริยสัจ cr โดยอเนกปริยาย ภิกษุผู้Iลเล สามารถน้อมนำใจไปตามพระธรรมเทศนา ยังใจให้หยุดนิ่งตั้งมั่น อยู่ในศูนย์กลางกาย เซ้าถึงพระธรรมกายไปตามลำตับ จนได้ลำแจ เป็นพระอนาคามื ณ ที่นั้นเอง จากนั้นพระสัมมาส้มพุทธเจ้าทรงประชุมชาดกว่า กา ได้มาเป็นภิกษุผู้โลเลในครั้งนี้ นกฟึราบ ได้มาเป็นพระองค์เอง
นิทานชาดกเล่มน้า ๓๓ ฟ้อดดจๆกซาดก ๑. ต้อง'ฝืกตนให้เป็นคนหนักแน่น ไม่เป็นคนเอาแต่ใจตัวเอง เมื่อตั้งใจจะทำความดีอะใรแล้ว ต้องตั้งใจทำให้จริง ไม'โลเล กลับไป กลับมา มิฉะนั้นจะเป็นคนที่ทำอะไรไม่สำแจเลยลักอย่าง ๒. คนเราเมื่อมีเพื่อนดี หรือมีกัลยาณมิตรแล้ว ควรรับฟัง ตรืกตรองปฎิบติตามคำแนะนำอันดีของเพื่อน ๓. เมื่อพิจารณาตัวเอง เวามีข้อบกพร่องอะไรหรือมีนิลัย ที่ไม่ดีอะไร ควรรืบแกั1ข ปรับปรุงตนเองเสียทันที เพราะนิลัยเหล่านี้ สามารถติดตัวข้ามภพข้ามชาติไต้ ar. ผู้ประทุษร้ายต่อผู้มีพระคุณ ถือว่าเลวอย่างหาที่เปรียบ ไม่ไต้ ไม่ควรคบหาต้วย อร'นๆยฟ้ฬท' (กโปตกชาดก อ่านว่า กะ-โป-ตะ-กะ-ซา-ดก) กโ'ปต นกพิราบ โอเอ ไม่แน่นอน เน9คุผ „.
GOCa: นิทานชาดกเล่มห้า พ§ะคาดา'ประจำชาดก โย อตุถกามลุล หิตๆนุกมฺปิใน โอวซชมาโน น กโรติ ลาสนํ กโปตกสส วจนํ อกตุวา อมิตุตหตุถตุถคโตว เสติ ผู้ใดบุคคลกล่าวลอนอยู่ ไม่ทำตามคำลอนของผู้'ปรารถนาประโยชน์ ผู้อนุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกือทูล ผู้นั้นย่อมถึงความฉิบหายเศร้าโศกอยู่ เหมือนกาไม่เชื่อฟังคำของนกพิราบ ตกอยู่ในเงื้อมมือของข้าศึก ฉะนั้น
เวฬุกซาดก ชาดกแสดงโทษของการเป็นผู้ดื้อดึง ว่ายากสอนยาก สถานที่ดรัฟึฃๆดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สๆเฬดุที่ตรสซาดก คเงหนึ่งในสมัยพุทธกาล มีภิกษุรูปหนึ่งมีนิสัยดื้อรน เอา แต่ใจตัวเอง ว่ายากสอนยาก เพื่อนภิกษุจะว่ากล่าวตักเตือนอย่างไร ก็ใม่เชื่อฬง
๓๖ นิทานชาดกเล่มห้า พระสัมมาส้มพุทธเจ้า จึงทรงสอบถามภิกษุรูปนน เมื่อ ได้ความตามจริงแล้วจึงทรงตักเตือนแล้วทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาสา นุสติญาณ แล้วตรัสว่า \"ดูก่อนภิกษุ มิใช่แต่บัดนี้เท่านนที่เธอเป็นผู้ว่ายากสอนยาก แมิในชาติก่อน เธอก็มีนิสัยเช่นนี้ ไม่ยอมเชื่อฟังคำตักเตือนของ บัณฑิต จึงถูกงูกัดตาย\" จากนั้นพระพุทธองค์ทรงนำ เวซเกชาตก มาตรัสเล่าตังนี้ เนอทาชาดก ในอดีตกาล ณ กรุงพาราณสี มีบุตรเศรษฐีผู้หนึ่ง มีความรู้ ความสามารถดีมาก ครั้นต่อมาเมื่อบิดามารดาสิ้นชีวิตลง ชายหนุ่ม ได้พิจารณาเห็นว่า พ่อ แม่ ปู ย่า ตา ทวด ของตน ต่างก็ครอบครอง ทรัพย์สินสมปติของตระกูล สืบต่อกันมาหลายชั่วคนแล้ว แต่ในที่สุด ก็ด้องตายจากสิงเหล่านั้นไป ไม่มีใครสามารถนำทรัพย์สมปติอันมีค่า นั้นติดตัวไปได้เลย แม้สักชิ้นเดียว เมื่อพิจารณาตังนี้ จึงนำทรัพย์สมปติทงหลายออกแจกจ่าย ทำ ทานจนหมดสิ้น แล้วออกบวชเป็นฤๅษี ประพฤติพรหมจรรย์ อยู่ในป่าหิมพานค์ จนสำเร็จฌานโลกีย์ บรรสุอภิญญา ๕ สมาปติ และมีผู้เลื่อมใสออกบวชเป็นศิษย์ถึง <$roo คน อยู่มาวันหนึ่ง มีลูกงูพิษตัวหนึ่งเลื้อยผ่านอาศรมที่พักของ ศิษย์ผู้หนึ่ง พันทีที่เห็นลูกงูพิษ ศิษย์ผู้นั้นก็บังเกิดความรักลูกงูขึนมา จับใจ จึงจับมันใส่ในกระบอกไมใผ่ ทำ ผ่าปีดเรียบร้อย เมื่อถึงเวลา
นิทานชาดกเล่มห้า ๓๗ ก็นำ อาหารมาปัอน ให้ความรักความเอาใจใส่ราวกับมันเป็นลูก ของตน จนงูนั้นเซื่อง นำ มาพันแขนพันคอได้ เพื่อนร่วมสำนัก อาจารย์ต่างเรียกงูพิษนั้นว่า ••เว'พุกะ\" เพราะว่ามันอาพัยอยู่ใน กระบอกไมั!ผ่ เมื่อฤๅษีอาจารย์ทราบว่าสืษย์ของตนนำงูพิษมาเลียงไว้ จึงเรียกมาสอบถามแล้วเตือนว่า \"ขึ้นชื่อว่างูพิษ ย่อมไว่ใจไม่ได้ มันอาจแว้งกัดเธอเข้าสัก วันหนึ่ง จงปล่อยมันไปเสียเถอะอย่าเลียงมันไว้เลย\" แต่ศิษย์นั้นกลับตอบอาจารย์ว่า \"กระผมรักเวฬุกะเหมือนลูก มันเชื่อง.น่ารักเหลือเกิน กระผมไม่อาจปล่อยมันไปหากินตามยถากรรมได้ ขอให้กระผม เลี้ยงมันไว้เถอะครับ\" ไม่ว่าอาจารย์จะพูดอย่างไร ศิษย์นั้นก็ใด้แย้งยืนยันตาม เหตุผลของต้ว ฤๅษีอาจารย์เห็นว่าลูกศิษย่ไม่เปลี่ยนใจแม่แล้ว จึง พูดทิ้งท้ายว่า \"ถ้าอย่างนั้นขอให้เธอระวังตัวให้ดีก็แล้วกัน วันหปีงเธอ อาจด้องตายเพราะลูกเวฬุกะของเธอ....\" จากนั้นมาอีก ๒-๓ วัน ฤๅษีทงหลายพากันไปหาผลไมซึ่ง มีอยู่มากมายในปาลีกไกลจากอาศรมแล้วพักอยู่สองลามวัน งูเวพักะ จึงถูกทิ้งไว้ที'อาศรมนั้นเอง เมื่อกลับจากหาผลไม้ ศิษย์ผู้นั้นรีบมาหาเวฬุกะทันที
4
นิทานชาดกเล่มห้า ๓๙ \"ลูกเอ๋ย หิวมํ้ย พ่อเอาของกินมาให้แล้ว....\" พูดพลางก็เอามือลอดเข้าไปในกระบอกไมใผ่ หมายจะอุ้ม ลูกงูน้อยใ'เ^นใจ แต่งู'พิษนํ้นกำลังโกรธเพราะอดอาหารมาหลายวัน จึงฉกเข้าที่มือ'ลันที ศิษย์'ลัวดื้อจึงถึงแก่ความตายอยู่ตรง'นนเอง ครั้นฤๅษีอาจารย์ทราบเรื่อง จึงให้ลูกศิษย์'ช่วยกันทำศพ แล้วสอนว่า \"ผู้ไดบุคคลกล่าวสอนอยู่ ไม่ทำตามคำสอนของผู้ปรารถนา ประโยชน์ ผู้อบุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกื้อกูล ผู้นั้นย่อมถึงความ พินาศ เหมือนบิดาของเวฬุกะนอนตายอยู่ ฉะนั้น\" 'ประชุมซๆดก เมื่อพระลัมมาลัมพุทธเจ้าตรัสเล่า เร'ชุกชาดก จบลงแล้ว ทรงประ'ธุมซาดกว่า สิษย์■พัวดื้อ ได้มาเป็นภิกษุผู้ว่ายาก ฤาษีบรวาร ได้มาเป็นพุทธบริษัท ฤาษีอาจารย์ ได้มาเป็นพระองค์เอง ฟ้อคิดจากชาดก ๑. โบราณว่าอย่าเลี้ยงงูพิษ เพราะมันอาจแว้งกัดเราได้ 'ทุกเมื่อ เช่นเดียวกับคนพาลซึ่งอาจทำร้ายผู้มืพระคุณได้ตลอดเวลา ๒. ไม่ควรเพิกเฉยต่อคำตักเตือนของผู้หวังดีที่มืประสบการณ์ มองเาง็นการณ์ไกล เช่น บิดามารดา หรือครบาอาจารย์
CeTo นิทานชาดกเล่มห้า อรบๆย เฑ์ (LQyfกชาดก อ่านว่า เว-ลุ-กะ-ชา-ดก) เวฬุ, เวฬุก ไ3Jใผ่ <ฬ9ะคๆดๆ'ประจํๆขๆดก โย อตฺถกามสส หิตานุกมฺปิใน โอวซฺชมาใน น กโรติ สาลนํ เอว' ใส นิหใต เสติ เวฬุกสส ยถา ปีตา ผู้!ดบุคคลกล่าวสอนอยู่ ไม'ทำตามคำสอนของผู้ปรารถนาประโยชน์ ผู้อนุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกื้อกูล ผู'้นั้นย่อมถึงความพินาศ เหมือนบิดาของเวฬุกะนอนตายอยู่ ฉะนั้น
มกสชาดก ชาดกว่าด้วยความบ้องตื้น สดๆนทีดร๙ซาดก หมู่บ้านแห่งหนึ่งในแคว้นมคธ สๆเ.ฬดุฬึ่ดรสซๆดก ครั้งหนึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พร้อมด้วยพระภิกษุหมู่หนึ่ง เสด็จเข้าไปในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในแคว้นมคธ ตลอดทางที่เสด็จผ่านนั้น พระองค์ทอดพระเนตรเห็นผู้ชายชาวบ้านทั้งหลาย ต่างนอนซมอยู่ ตามพื้นบ้าน บางคนกำสังพอกยา หรือให้ลูกให้ภรรยาทำแผลให้ แต่ละคนมีบาดแผลเหมือนถูกธนูบ้าง ถูกมีดบ้าง บางคนก็เขียวชํ้า เหมือนถกฟาดด้วยทํอนไม้ ดราวกับได้รับบาดเจ็บมาจากการรบทัพ จับสืก
csr๒ นิทานชาดกเล่มห้า มีชาวบ้านเพียงไมกื่หลังคาเรือนเท่านั้นที่มิได้มีบาดแผล หรือเจ็บป่วยเลย พวกเขาได้ชวนกันถวายทานแด่พระลัมมาลัมพุทธเจ้า และพระภิกษุ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับภัตตาหารแล้ว ได้ตรัสถาม ถึงความเจ็บป่วยของชาวบ้านเหล่านั้น อุบาสกนั้งหลายจึงกราบทูลว่า \"พวกเขาเข้าไปตัดไม้ไนปา ถูกฝูงยุงรุมกัดอยู่เสมอ จึง ขวนกันถืออาวุธเข้าไปไล่ฆ่ายุง แต่กลับเป็นว่าต่างคนต่างถูกอาวุธ ของพวกเดียวกันได้รับบาดเจ็บกลับมา พระพทธเจ้าข้า\" พระลัมมาลัมพทธเจ้าจึงตรัสว่า \"มิใช่แต'บัดนี้หรอกนะ ที่คนอ้นธพาลคิดว่าจะประหารยุง แต่กลับมาประหารกันเอง แม้เมื่อชาติก่อนนี้นก็เคยมืมาแล้ว\" ชาวบ้านเหล่านั้นจึงกราบทูลอาราธนาให้พระพุทธองค์ ทรงเล่าเรื่องราวแต่หนหลัง พระพุทธองค์จึงตรัสเล่า มกรซาดก ดังนี้ เนอฬๆซาดก ณ หมู่บ้านแห่งหนึ่งในเขตชนบทชายแดน แคว้นกาสี ชาย ชาวบ้านทุกคนมีฝืมือในการก่อสร้าง ทำ เครื่องเขียน และแกะสลักใบ้ เป็นอย่างมาก วันหนึ่ง ขณะที'ช่างไบ้ห้วล้านคนหนึ่งกำลังชะมักเขบ้น ถากไบ้อยู่นั้น ยุงดัวหนึ่งได้บินมาเกาะที'กลางหัวที'ล้านเลี่ยนราวกับ
นิทานขาดกเล่มห้า <r๓ กระโหลกทองแดงควํ่าของเขา แล้วใช้ปากอันแหลมคมชองมัน แทง ลงไปกลางหัวล้านนั้นทันที ช่างไม้หัวล้านสะดุ้งสุดตัวด้วยความตกใจ บวกกับความโกรธ ไนขณะมันทำไห้เขาเลึกว่าความเจ็บจีดนัน เป็นความเจ็บปวดที แสนสาหัสราวกับถูกหอกแหลม ๆปักลงมาเต็มที เขาจึงทนมังคอแข็ง ไม่ขยับตัวเพราะกลัวยุงจะบินหนีไปเสีย พลางร้องลังลูกชายซึงอยู่ ใกล้ๆ ว่า \"ลูกเอ๊ย...ไอ้ยุงวายร้ายมันกำลังเจาะกบาลพ่ออยู่ เจ็บยังกะ - ถูกหอกแทง เอ็งรีบมาจวกมันให้ตายทีเถอะ\" ลูกชายได้ฟังตังนั้น จึงบอกว่า \"พ่อนั่งนิ่งๆนะ เดี๋ยวฉันจะจวกมันให้ขาด๒ ท่อนเลย\" ว่าแล้ว ลูกชายก็คว้าขวานที่วางอยู่แถว ๆนั้น แล้วย่องเช้ามา ทางด้านหลัง ตาจ้องเขม็งไปที่ยุงที่เกาะนิ่งอยู่บนหัวล้านพ่อ แล้ว เ'งื้อขวานฟันฉัวะลงไปเต็มแรง พอสิ้นเสียงฉัวะ หัวล้านของช่างไมัก็แบะออกเป็น ๒ เสียง นั้งเลือดทงมันสมองกระเด็นแตกกระจาย ช่างไมัก็ตายคาที่อยู่ ตรงนั้นเอง ไนขณะนั้น มีพ่อด้าผู้หนิ่งกำลังหาซึอของอยู่แถวนั้น บังเอิญ แวะเช้าไปพักอยู่ไนโรงช่างของช่างไม้พอดี เมื่อเห็นลูกช่างไม้เงือ
m ร
นิทานชาดกเล่มห้า (ร:๕ ขวานขึ้นฟันหัวพ่อ ก็รีบร้องห้าม แต่ไม่ทันการ จึงได'แต่ยืนดูศพ ของช่างไม้ด้วยความสลดใจ แล้วรำพึงว่า \"มีคัตรูที่ปีปัญญา ยังดีเสียกว่ามีมิตรที่โง่เขลา ลูกโง่ของ ช่างไมีดีดว่าจะฆ่ายุง กลับปันหัวพ่อเสียเป็น ๒ เสี่ยง\" <ป§ะซุมซๆตก พระสัมมาล้มพุทธเจ้าทรงประชุมชาดกว่า พ่อคาหี่เห็นเหตุการณ์ ได้มาเป็นพระองค์เอง ฟ้อคดจากซๆดก ๑. การทีคนเราคิดจะฆ่า^น แต่แล้วกสับกลายเป็นการฆ่า ตัวเองนั้น แม่ในปัจจุบันก็มีเช่น การที่เราใช้ยาฆ่าแมลง ฉีด พ่น เพื่อฆ่ามด ยุง แมลงสาบ ตั๊กแตน หนอน ฯลฯ นั้น แม้จะฆ่าได้บ้าง แต่พิษของยาฆ่าแมลงที่ตกค้างอยู่ตามเสื้อผ้า บ้านเรือน ผัก ผลไม้ และยังคงล่งผลร้ายให้ตนได้รับสารพิษนั้นทีละเล็กทีละน้อย เป็น การฆ่าตัวตายผ่อนล่งโดยไม'รู้ตัว ๒. แม่ในเรื่องการหาเงินตราเช้าประเทศ นักการเมืองบาง ท่านเสนอให้นำอบายมุข เป็นด้นว่าปอนการพนัน หรือการบันเทิง เริงรมย์ มาเป็นเครื่องล่อซาวต่างชาติ โดยไม่คำนึงถึงว่าจะทำให้ คุณธรรมความดีของคนหายไปอย่างไรบ้าง นับเป็นความคิดที่บ้องตื้น ไร้ปัญญาอย่างยิ่ง
cfb นิทานชาดกเล่มห้า ๓. ผู้ทีจะใช้คนบ้องตืนทำงาน ควรระมัดระวังใหดีเพราะ เขาอาจจะทำความเสียหายร้ายแรงให้เกิดขึ้นเมื่อไรก็ได้ <r. คนทีมีศัตรูเป็นบัณฑิตนั้น ยังดีเสียกว่ามีคนโง'เป็นมิตร เพราะเขายังเกรงอาญาแผ่นดิน ไม่ถึงกับฆ่าคนได้ อร'นๆรเศั'พท์ (มกสชาดก อ่านว่า มะ-กะ-สะ-ชา-ดก) มกอ ยุง บ้องตึ้น มีความคิดอย่างโง'ๆ กมๆอ หัว, ศีรษะ จวก สับ, ฟัน, หรือ ดี^นโดยแรง IMSSคๆอๆ'ประจำอๆดก เสยโย อมิตฺโต มติยา อุเปโต น เตวว มิตโต มติวิปฺปหีโน กมสั วธิสฺสนฺติ หิ เอลมูโค ปุตุโต ปิตุ อพภิทา อุตฺตมงค\" มีศัตรูที่มีบ้ญญา ดีกว่ามีมิตรที่โง'เขลา ความโง่เขลาของลูกช่างไมัที่คิดจะฆ่ายุง กสับผ่าหัวพ่อตนเสีย ดังนี้
โรหิณีชาดก ซาดกว่าด้วยมิตรที่โง่เขลา สCเๆนทึ๋ดสั๙ซาดก เซตวันมหาวิหาร นครลาวัตถี สาเชเดุดึ่ตรดซาดก ในสมัยพุทธกาล ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีมีหญิงรับใด้ คนหนึ่งซื่อ โรหิณี นางได้ฆ่ามารดาตายด้วยสากตำข้าว เพราะ ความตั้งใจที่จะตีแมลงวันที่มารุมตอมมารดา
<r นิทานชาดกเล่มห้า เมื่อมารดาตาย นางเศร้าโศกเสียใจมาก บรรดาคนร้บใช้ ทั้งหลายจึงนำความที'เกิดขึ้นมาแจ้งแก่ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เมื่อท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีจัดการเรื่องศพมารดาของนาง โรหิณีแล้ว จึงไปที่เซตวันมหาวิหาร และกราบทูลเรื่องที่เกิดขึ้นให้ พระบรมศาสดาทรงทราบ พระพุทธองค์จึงทรงระลึกชาติด้วย บุพเพนิวาสานุสติญาณ แล้วตรัสว่า \"มิใช่แต่เพียงชาตินี้เท่านั้น ที่นางโรหิณีฆ่ามารดาของตน ด้วยสากตำข้าว เพราะความติดที่จะฆ่าแมลงว้นที่รุมตอมมารดา แม้ชาติก่อน นางก็ฆ่ามารดาตายด้วยสากตำข้าวเช่นกัน\" ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีจึงกราบทูลอาราธนาให้พระองค์ ทรงเล่าเรื่องในอดีต พระพุทธองค์จึงทรงนำ โรหิผ.ซๆดก มาตรัส เล่าด้งนี้ เนอฬๆซๆดก ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมปติกรุง พาราณสี เศรษฐีผู้หนึ่งมีสาวใซซื่อ นๆtiTswoi วันหนึ่งในฤดูร้อน มีแมลงวันชุกชุมมาก มารดาชองนาง โรหิณีซึ่งชรามากแล้ว หูตาฝัาฟาง งก ๆ เงิ่น ๆ ทำ อะไรไม่ค่อยได้ จึงหลบแมลงวันเช้าไปนอนอยู่ใน โรงกระเดื่อง บังเอิญแมลงวันยู่งหนึ่งบินตามเช้าไปด้วย มันรุมตอมแขนชา หน้าตา และเนี้อด้วชองนาง เมื่อบัดที่หนึ่งมันก็บินไปตอมอีกที่หนึ่ง
นิทานชาดกเล่มห้า (2:๙ ไล่ไม'ไป นางรำคาญมากจึงร้องเรียกนางโรหิณีให้มาช่วยปัด แมลงวันให้ \"อีหนูเอ๊ย!.... แมลงวันมันกวนแม่เหลือเกิน มัดไม่หวาด ไม่ไหว มาช่วยไล่มันไปทีเถอะ\" \"จ๊ะแม่' นางโรหิณีรับคำแล้วรีบไปหาเฌ่ทันที ครั้นเห็นแมลงวันทั้ง^ง กำ ลังรุมกัดรุมตอมแม่พึ่บพับอยู่อย่างนน จึงโกรธจัดคิดจะฟาด แมลงวันให้แหลกลาญ จึงฉวย สากตำข้าว ที่อยู่ใกล้มือหวดโครม ลงไป ปรากฏว่าแมลงวันล่วนหนึ่งตายคาที่แต่แม่ของนางก็ถึงกับชัก ตาตั้งตายไปเช่นกัน นางโรหิณีตกใจมาก ร้องตะโกนเลียงลั่น \"ช่วยด้วย ช่วยด้วย แม่ตายแล้ว โฮ... โฮ....\" คนรับใช้ทั้งหลายต่างวิ่งมาดู แต่ก็ช่วยเหลืออะใรไมได้เลียแล้ว จึงพากันชักถาม \"แม่แกเป็นอะไรไปหรือ โรหิณี...?\" \"ฉันหวดแมลงวันที่มันรุมตอมแม่....ฮือ....ฮือ.... คิดไม่ถึงว่า จะตีแม'ตายไปด้วย.....ฮือ....ฮือ. \" นางโรหิณีพูดพลางร้องไห้สะอึกสะอื้น เลียใจในความวู่วาม โง'เขลาของตน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106