Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปิยฉัตร การบรรจง 6140308110 ข้อสอบ

ปิยฉัตร การบรรจง 6140308110 ข้อสอบ

Published by piyachat.ngo, 2021-09-29 18:13:06

Description: ปิยฉัตร การบรรจง 6140308110 ข้อสอบ

Search

Read the Text Version

รายงาน ขอ้ สอบ Take Home การจดั การความร้เู พื่อการพฒั นาสงั คม จดั ทาโดย นางสาว ปิ ยฉัตร การบรรจง 6140308110 เสนอ ผศ.ดร. กรกพร ฉิมพลี รายงานฉบบั นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การจดั การความรเู้ พื่อการพฒั นา สงั คม (219331) สาขาวิชาการพฒั นาสงั คม มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา ภาคการเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564

ก คำนำ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหน่งึ ของรายวชิ า การจดั การความรเู้ พ่ือการพฒั นาสังคม โดยมีจุดประสงคเ์ พ่ือ ศึกษาความรู้ท่ีได้จากการเรียนการสอนในรายวิชา การจัดการความรู้เพ่ือการพัฒนาสังคม ท้ังน้ีรายงานนี้มี เน้ือหาประกอบไปด้วย กระบวนการเกิดความรู้ กระบวนการสร้างความรู้ ความแตกต่างการจัดการความรู้ ระหว่างกระบวนการการจัดการความรทู้ ่ปี ระยกุ ต์ใชใ้ นภาคองค์กรและกระบวนการการจดั การความร้ใู นชมุ ชน ตลอดจนการประยุกต์ใช้ในสาขาการพัฒนาสังคม ผู้จัดทาได้ทารายงานเรื่องนี้ เน่ืองจาก ผศ.ดร. กรกพร ฉิมพลี ได้ให้นักศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการ จัดการความรู้ และเป็นผลคะแนนสอบ หวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน ไม่มากก็น้อย หากมี ข้อเสนอแนะประการใดผูจ้ ัดทาขอรบั ด้วยความขอบพระคณุ เปน็ อย่างย่ิง นางสาว ปยิ ฉัตร การบรรจง ผู้จดั ทา

ข สำรบญั หนา้ เนือ้ หา คานา ก สารบัญ ข กระบวนการเกิดความรู้ 1 1.1 ยกตวั อยา่ ง การจดั การความรสู้ กู่ ารสร้างนวัตกรรมของร้าน PP Bakery 2 กระบวนการสรา้ งความรู้ 3 2.1 การสรา้ งความรู้จาก SECI Model ของกลุ่มเด็กเยาวชนบ้านดอน 4 ความแตกต่างการจัดการความร้รู ะหว่างกระบวนการการจัดการความรทู้ ่ีประยุกต์ใช้ในภาคองค์กรและ กระบวนการการจัดการความรู้ในชมุ ชน 5 ในฐานะทที่ า่ นเป็นนักพฒั นาสงั คม จงอธิบายแนวทางการจัดการความร้เู พ่ือการพฒั นาบัณฑติ สาขาการพฒั นา สงั คมในอนาคต ว่าควรมรี ปู แบบ แนวทางเป็นอย่างไรที่จะสง่ ผลใหบ้ ัณฑิตสาขาการพฒั นาสงั คม เป็นบัณฑิตที่ มีคณุ ภาพ 6 อ้างองิ 7

1 กระบวนกำรเกิดควำมรู้ กระบวนการเกดิ ความรู้ ความรเู้ กดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไรน้นั ไดม้ ีนักวชิ าการ KM ชาวญีป่ ุ่น นามวา่ Hideo Yamazaki ได้ใหน้ ิยามความรใู้ นรูปแบบของ ปริ ามดิ ซ่งึ ถูกเรียกวา่ “ปิรามดิ แห่งความรู้” ภาพท่ี 1 ปิรามดิ แหง่ ความรู้ ทม่ี า : บุญดี บญุ ญากิจ และคณะ (2547:14) จากภาพท่ี 1 แสดงให้เห็นว่า ความรูม้ ี 4 ประเภท และมพี ฒั นาการตามลาดับเป็น 4 ขน้ั เรียงจากต่าไปสงู คือ ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้และ ภูมปิ ัญญา ซ่ึงแต่ละระดับมีความแตกต่างกัน แต่มีความสมั พนั ธ์เกี่ยวเนอ่ื งเป็น ฐานของกันและกัน ดงั นี้ 1. ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงเก่ียวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ได้จากการสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น โดยยังไม่ผ่าน กระบวนการวเิ คราะห์ หรอื ทเี รยี กวา่ ขอ้ มลู ดิบ 2. สารสนเทศ (Information) คอื ข้อมูลท่ผี า่ นกระบวนการวิเคราะห์แล้ว เพื่อนาไปใช้ประโยชน์เกยี่ วกับ เร่ือใดเรอ่ื งหน่ึง 3. ความรู้ (Knowledge) คอื สารสนเทศท่ีผ่านกรบวนการการคิดเปรียบเทียบ เชอื่ มโยงกันกบั ความรอู้ ื่น จนเกดิ เป็นความเข้าใจ สามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งได้ 4. ภมู ปิ ญั ญา (Wisdom) คือ การประยกุ ต์ใชค้ วามรู้เพ่ือการแกป้ ัญหาหรือพัฒนาการทางาน หรอื บางคน จะเรียกว่า ปัญญาปฏบิ ตั ิ จากภูมปิ ัญญา (Wisdom) เมื่อนาไปใช้แกป้ ัญหาหรือพัฒนางานจะทาให้เกิด การยกระดบั ของ Wisdom ให้กลายเป็น Innovation หรือนวัตกรรมในการทางานใหส้ าเร็จ

2 1.1 ยกตวั อยำ่ ง กำรจัดกำรควำมรสู้ กู่ ำรสรำ้ งนวตั กรรมของร้ำน PP Bakery ขอ้ มูล ร้าน PP Bakery ขายเค้กวนั เกดิ และเคก้ ทานเล่น เปดิ ร้านตั้งแต่ 9.00 – 16.00 น. มีพนักงาน ดูแลร้าน 2 คน จานวนลูกค้าทเ่ี ข้ามาซื้อเคก้ ต่อวัน ประมาณวันละ 10 คน ทางร้านมีการสารวจการมาซื้อเค้ก ของลูกค้า 1 เดอื นที่ผ่านมา สำรสนเทศ เม่ือนาข้อมูลมาวิเคราะห์ พบว่า ลกู ค้าส่วนใหญจ่ ะซื้อเคก้ ช็อกโกแลตลาวา และตามด้วย เค้กสตอเบอร์ร่ี และสว่ นนอ้ ยจะส่ังเค้กส้มและอน่ื ๆ ทาให้เค้กเหลือขายไม่หมด และลูกคา้ มกั สอบถามเสมอว่ามี โปรโมช่ันอะไรมัย้ บางท่านก็ติวา่ รอนาน และเวลาท่ีลูกค้าเข้ามาซ้ือเค้กจะเป็นช่วงเย็นๆ เม่ือข้อมลู นี้ผ่านการ วิเคราะหเ์ ป็นสารสนเทศได้กลายเปน็ ความร้ทู จ่ี ะนาไปใช้ประโยชน์ตอ่ การพฒั นารา้ นตอ่ ไป ควำมรู้ หลงั จากวิเคราะห์ข้อมลู เปน็ สารสนเทศแล้วทาให้เกดิ ความรู้และภูมปิ ัญญา เพ่ือคดิ สร้างสรรค์ นวัตกรรมในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาร้าน เจ้าของร้านได้ตัดสินใจปรับเปล่ียนระบบของร้าน มีการทาเค้ก ชอ็ กโกแลตลาวาเพิ่มข้ึน จากวันละ 10 ช้ิน เป็นวนั ละ 20 ชิ้น เคก้ สตอเบอร์ร่ี 15 ช้ิน และเค้กสม้ 10 ช้ิน เค้ก รสชาติอื่นๆ อย่างละ 10 ชิ้น และมกี ารจัดโปรโมชัน่ วันเกิด ลด 50% มโี ปรโมชั่น 1แถม 1 จัดเดือนละ2 ครั้ง และเซ็ตจับคู่ คละรสชาติที่ราคาถูกลง 20% การจัดโปโมชั่นทาให้ลูกค้าพ่ึงพอใจมากและร้านก็เริ่มมีลูกค้า ประจาเพิ่มข้ึน และเค้กทุกรสชาติก็ขายออกไม่เหลือทิ้ง เจ้าของร้านมีการจ้างพนักงานเพ่ิมอีก 1 คน เพื่อ ให้บริการเร็วขึ้น จนมีลูกค้ามาชื่นชมในการให้บริการท่ีรวดเร็วไม่รอนาน มีการขยายเวลาปิดร้าน จาก 16.00 น. เปน็ 18.00 น. ทาใหร้ า้ น PP Bakery เปน็ ที่รู้จกั มากขึ้นลกู ค้าเพม่ิ ขึน้ จากการบอกเล่าปากต่อปากของลกู ค้า ประจาท่ีช่วยโปรโมทร้าน และการที่เจ้าของร้านปรับเปล่ียนระบบของร้าน ถือว่าเป็นความรู้ท่ีได้จากการนา สารสนเทศมาใช้ ภูมิปัญญำ หลังจากประสบความสาเร็จในการเปิดร้าน Bakery แล้ว เจ้าของร้านได้วิเคราะห์ พฤติกรรมของลูกคา้ ประจาและลูกค้ากลุ่มใหม่ๆทม่ี าซือ้ เค้กที่ร้าน พบวา่ การทร่ี ้านมีการปรบั เปลี่ยนตามคาติ ชมและมกี ารจัดโปโมชั่นเร่ือยๆ ทาให้ลูกค้าท่ีเป็นลูกค้าประจาพ่ึงพอใจและยังมาซ้ือเค้กท่ีร้านประจา สาหรับ ลูกค้าประจาเจ้าของร้านก็จะมีสิทธิพิเศษให้เสมอเพ่ือสร้างความประทับใจให้กับลูกค้าและเป็นการดึงลูกค้า ประจาไว้ สว่ นลูกค้ากลุ่มใหมๆ่ จะเป็นลูกค้าท่ีมาจากรีวิว อาจจะมาจากตา่ งจังหวัด เพอ่ื มาเท่ียวและมาชิมเค้ก ตามรีวิว เจ้าของรา้ นจึงมีการต่อเติม ขยายร้านใหใ้ หญ่ขน้ึ เพ่อื ลองรับลกู ค้าท่ีมามากข้ึน รับพนักงานเพิ่มอีก 2 คน และทาเค้กเพิ่มข้ึนเพื่อให้เพียงพอต่อลูกค้าที่มาซ้ือเค้กที่ร้าน และยังคงมีโปรโมชั่นต่างๆ เพ่ือเอาใจลูกค้า และมีกระดานความคดิ เหน็ เพอ่ื ใหล้ ูกค้าไดต้ ิชมรา้ น และบอกเลา่ ความประทับใจ สร้างเพจของรา้ นข้ึนมาเพ่ือ อัพเดตข้อมูลต่างๆ และเป็นช่องทางโปรโมทร้านอีกด้วย และเป็นท่ีน่ายินดีเป็นอย่างมากเน่ืองจากร้าน PP Bakery มีลูกค้าเยอะและบริการดีเค้กอรอ่ ย จนทาให้ร้าน PP Bakery ติดอนั ดบั 1 ใน 10 ร้านเค้กที่นา่ ไปลอง ชมิ มากท่ีสุด การท่ีเจ้าของร้าน นาความรู้เรอื่ งพฤติกรรมลูกค้าทม่ี าซ้ือเค้กท่ีรา้ น จนทาใหป้ ระสบความสาเร็จ นั้น ทาใหเ้ จ้าของรา้ นเกิดภูมปิ ัญญาหรือภูมิปฏิบัตวิ ่า พฤติกรรมของลูกค้าที่มาซ้ือเคก้ ท่ีร้านเป็นส่ิงสาคญั ท่ีจะ นามาวิเคราะห์และใช้ เช่น การจัดโปโมชั่นทโ่ี ดนใจลกู ค้า และการใหบ้ รกิ ารที่รวดเรว็ และดี เป็นตน้

3 สรุป ตัวอย่างนี้แสดงถึงการจัดการความรู้ที่นาข้อมูล สารสนเทศ และความร้มู าใช้ ทาให้เกิดภูมิปัญญา ใน การสร้างนวัตกรรม ซึ่งสามรถนามาประยุกต์ใช้กับเรื่องอื่นๆ ต่อไปได้อย่างไม่มีท่ีส้ินสุด แต่ในปัจจุบันการมี ขอ้ มูลเพยี งอย่างเดียว ไมใ่ ช่จดุ แข็งอีกต่อไป ส่ิงทีเ่ หนอื กวา่ ขอ้ มูล คอื การจดั การความรู้ ดว้ ยการแปลงขอ้ มูลให้ เป็นสารสนเทศและความรู้ เพ่อื ใชค้ วามรู้ทีไ่ ดท้ าใหเ้ กิดภมู ิปัญญาและสร้างนวตั กรรม กระบวนกำรสรำ้ งควำมรู้ กระบวนการสร้างความรูห้ รือโมเดลเซกิ (SECI Model) เสนอโดย โนนากะ กับ ทาเคอุชิ (Nonaka และ Takeuchi,1995) คือ แผนภาพแสดงความสมั พันธก์ ารหลอมรวมความรใู้ นองคก์ รระหว่างความร้ฝู ังลกึ (Tacit Knowledge) กบั ความร้ชู ัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ใน 4 กระบวนการ เพ่ือยกระดบั ความรู้ให้สงู ขนึ้ อย่าง ตอ่ เนือ่ งเป็นวัฏจกั ร เรมิ่ จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Socialization) การสกัดความรู้ออกจากตัวคน (Externalization) การรวบรวมความรู้ (Combination) และการผนกึ ฝงั ความรู้ (Internalization) และวน กลับมาเริ่มตน้ ทาซ้าทีก่ ระบวนการแรก เพ่อื พฒั นาการจัดการความรู้ให้เปน็ งานประจาท่ยี ั่งยนื ภาพท่ี 2 โมเดลเซกิ (SECI Model) โนนากะ กับ ทาเคอุชิ (Nonaka และ Takeuchi, 1995) ที่มา : Nonaka’s SECI Model (1995) 1. กำรแลกเปล่ียนเรียนร(ู้ Socialization)S:Tacit to Tacit อธิบายความสัมพันธ์ทางสังคมในการสง่ ต่อระหว่างความรู้ฝงั ลึก (Tacit knowledge) ดว้ ยกัน เปน็ การแบ่งปันประสบการณ์แบบเผชิญหนา้ ระหว่างผู้รู้ เช่น การประชุม การระดมสมอง ทมี่ าจากความรู้ การ

4 เรียนรู้ และประสบการณข์ องแตล่ ะบุคคล เฉพาะเรื่อง เฉพาะพนื้ ที่ แล้วนามาแบง่ ปนั แลกเปลีย่ นเรยี นรูใ้ น สภาพแวดล้อมเดยี วกัน ท่ีมใิ ช่เป็นเพยี งการอา่ นหนงั สอื คู่มอื หรอื ตารา 2. กำรสกัดควำมรู้ออกจำกตัวคน(Externalization)E:Tacit to Explicit อธบิ ายความสมั พันธก์ บั ภายนอกในการสง่ ต่อระหวา่ งความรูฝ้ ังลกึ กบั ความรชู้ ัดแจง้ อาจเป็นการ นาเสนอในเวทวี ิชาการ หรือบทความตพี มิ พ์ เป็นการพฒั นาองคค์ วามรู้ทถี่ กู ฝังอยใู่ นความรูฝ้ งั ลกึ ให้สื่อสาร ออกไปภายนอกเป็นแนวคดิ แผนภาพ แผนภมู ิ เอกสารทส่ี นบั สนนุ ให้เกิดการส่ือสารระหว่างผู้เรยี นรู้ด้วยกนั ท่ี เขา้ ใจได้ง่าย ซ่งึ ความรฝู้ งั ลึกจะถกู พัฒนาใหต้ กผลึกและถกู กลัน่ กรอง แลว้ นาไปสกู่ ารแบง่ ปัน เปลย่ี นเปน็ ฐานความรใู้ หม่ท่ถี กู นาไปใช้สร้างผลติ ภัณฑใ์ หม่ในกระบวนการใหม่ 3. กำรรวบรวมควำมรู้(Combination)C:Explicit to Explicit อธบิ ายความสมั พันธ์การรวมกันของความรชู้ ดั แจง้ (Explicit knowledge)ท่ผี า่ นการจดั ระบบ และ บรู ณาการความร้ทู ี่ตา่ งรปู แบบเข้าดว้ ยกนั เชน่ นาความรูไ้ ปสรา้ งตน้ แบบใหม่ สร้างสรรค์งานใหม่ ได้ความรู้ ใหม่ โดยความรูช้ ัดแจ้งไดจ้ ากการรวบรวมความรู้ภายในหรือภายนอกองค์กร แล้วนามารวมกนั ปรบั ปรงุ หรอื ผา่ นกระบวนการท่ีทาใหเ้ กดิ ความรใู้ หม่ แลว้ ความรู้ใหมจ่ ะถูกเผยแพรแ่ กส่ มาชกิ ในองค์กร 4. กำรผนึกฝังควำมรู้ (Internalization) I : Explicit to Tacit อธบิ ายความสมั พนั ธภ์ ายในทม่ี ีการส่งตอ่ ความรชู้ ัดแจ้ง (Explicit knowledge) สู่ความรฝู้ งั ลกึ (Tacit knowledge) แลว้ มีการนาไปใชใ้ นระดบั บุคคล ครอบคลมุ การเรยี นรแู้ ละลงมอื ทา ซึ่งความรู้ชัดแจง้ ถกู เปล่ยี นเปน็ ความร้ฝู งั ลกึ ในระดบั บุคคลแล้วกลายเปน็ ทรัพย์สนิ ขององคก์ ร 2.1 กำรสร้ำงควำมรู้จำก SECI Model ของกลุ่มเด็กเยำวชนบ้ำนดอน การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ (Socialization) S : Tacit to Tacit กลุม่ เดก็ เยาวชนในบ้านดอนไดร้ ับการบอก เล่าประวตั ิ วธิ ีการทา ขนมหูชา้ งท่เี ป็นขนมประจาบา้ นดอน จากคนเฒา่ คนแก่ในหมูบ่ ้าน และยงั ได้ฝกึ ทาขนมหู ชา้ งแบบดง้ั เดิมจากแมๆ่ ในชมุ ชน การสกัดความรู้ออกจากตัวคน (Externalization) E : Tacit to Explicit กลุ่มเด็กเยาวชนมีความ สนใจจึงได้ จดบันทึกประวัติของขนมหชู ้าง และวธิ กี ารทาขนมหชู า้ ง และไดน้ าขอ้ มูลทีไ่ ด้เรยี นรู้มาและจากทไี่ ด้ ฟงั จากผเู้ ฒา่ ผู้แก่ในหมู่บ้าน พร้อมได้ลงมอื ทา มาออกแบบเป็นโปสเตอร์ส่ือสาร ประวัติขนมหูช้าง และวิธีการ ทาขนมหชู า้ ง พร้อมโพสต์ลงเพจของกลุ่มเพอื่ แชรเ์ รือ่ งราวดีๆ และมกี ารเขียนลง Blog ดว้ ย การรวบรวมความรู้ (Combination) C : Explicit to Explicit หลงั จากท่ีไดแ้ ชร์เร่อื งราวขนมหูช้างไป แล้ว จึงจัดตง้ั กลมุ่ ชอ่ื ว่า แกง๊ หูช้าง ข้นึ มา ขนมหูช้างท่ีเดมิ ทมี แี ตร่ สชาตดิ ้งั เดิม ทาจากแป้งข้าวเหนียว มสี ีขาว แกง๊ หชู ้างเกิดไอเดยี ใหม่เน่อื งจากไดไ้ ปดกู ารทาขนมปงั เลอคา่ จากกลุ่มเพอ่ื น ที่ ไดน้ าเผอื ก ฟังทอง มาแปรรูปทาเป็นขนมปงั กลุ่มหูชา้ งจึงอยากทาขนมหชู ้างในรปู แบบใหม่ มรี สชาติ และมี สีสัน ในดนู ่ากินมากข้ึน จึงมีการทดลองทาขนมหชู า้ งแบบใหม่ วา่ สามารถใช้วตั ถดุ ิบใดมาทาไดบ้ ้าง มกี ารดู วิธีการทาขนมต่างๆเพอ่ื เปน็ แนวทางคอ่ ยๆปรบั ให้เข้ากับสูตรเดิมท่ีเคยฝกึ มา จนทาสาเร็จขนมหูชา้ งรูปแบบ ใหม่ ทีม่ รี สชาตมิ นั มว่ ง สีม่วง และฟงั ทอง สเี หลอื ง จากนัน้ แกง๊ หชู ้างได้นาขนมหูชา้ งแบบใหมน่ ไี้ ปให้แม่ๆท่ีช่วย

5 ฝึกการทาขนมหชู ้างใหก้ บั เด็กเยาวชนบ้านดอนไดช้ ิม และได้นาสูตรการทาแบบใหม่มาให้กับแม่ๆ เพ่อื ทจ่ี ะได้ สอนให้กับเดก็ เยาวชนบ้านดอนต่อไป การผนึกฝังความรู้ (Internalization) I : Explicit to Tacit แกง๊ หชู ้างและแม่ๆ ในบา้ นดอนได้จดั ต้ัง ศนู ย์ ขนมหชู ้าง ขน้ึ ในชมุ ชนเปิดเป็นห้องเรยี นชมุ ชนุ เพอ่ื สอนการทาขนมหชู า้ งให้กบั เด็กเยาวชนในหมู่บา้ น และพืน้ ที่อื่นทส่ี นใจมาเรยี นรู้การทาขนมหูช้าง โดยมี แกง๊ หูช้าง เปน็ คนสอนการทาขนมหูชา้ งแบบใหม่ และได้ มกี ารจดั ทาเป็นคู่มือห้องเรียนขนมหูช้าง และมกี ารถ่ายถอดความรู้เปน็ รนุ่ ต่อไป ควำมแตกต่ำงกำรจัดกำรควำมรู้ระหวำ่ งกระบวนกำรกำรจดั กำรควำมรทู้ ปี่ ระยุกตใ์ ช้ในภำคองค์กรและ กระบวนกำรกำรจัดกำรควำมร้ใู นชุมชน การจัดการความรู้ภาคองค์กร การจดั การความรู้ของภาคองค์กรจะมีความเป็นระบบ เพ่ือส่งเสรมิ ให้ บุคลากรเรียนรู้ได้จริงและต่อเน่ือง หากองค์กรใดมี การจัดการความรู้โดยไม่มีการสร้างบรรยากาศแห่งการ เรยี นรู้ใหเ้ กดิ ขึ้นภายในองค์กร กน็ ับเป็นการลงทุนทีส่ ูญเปล่าได้เช่นกัน อยา่ งไรก็ตามการบริหารจัดการความรู้ มีความซับซ้อนมากกว่าการพัฒนาบุคลากรด้วยการฝึกอบรม เพราะเป็นกระบวนการที่ต้องดาเนินการต่อ ภายหลังจากทีบ่ ุคลากรมีความรู้ ความชานาญแล้ว องค์กรจะทาอยา่ งไรให้บุคลากรเหล่าน้นั ยนิ ดีถ่ายทอด และ แลกเปลย่ี นความรกู้ ับผู้อนื่ และในข้นั ตอนสดุ ทา้ ยองค์กรจะต้องหาเทคนคิ การจัดเก็บความรู้เฉพาะไวก้ บั องค์กร อย่างมีระบบ เพ่อื ที่จะนาออกมาใช้ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ การจัดการความรู้ของชุมชน ผู้นาชุมชนและคนในชุมชนมองปัญหาของชุมชนตนเอง และร่วมกันหา แนวทางแกไ้ ข หมนั่ ศึกษาหาข้อมูล เรียนรู้ แลกเปล่ียนความรูซ้ ึ่งกันและกันและนาความรู้ท่ไี ด้ ไปปรบั ใชใ้ นการ พฒั นาหมู่บ้าน ผนู้ าชมุ ชนและคนในชมุ ชนสามารถจัดการความรู้ รว่ มกนั นั่นคือ การเอาความรู้ที่ได้มาจากการ ปฏิบัติ และความรู้จากผู้อื่นมา แลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ ัน การถอดบทเรียนและการจัดการความรจู้ ึงเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาคนและชุมนุม อย่างไรก็ตาม ปัญหาสาคัญในการจัดการความรู้ในชุมชน นั่นคือ เรามักปกปิด ปญั หา เพราะมองวา่ เปน็ เรื่องสว่ นตัว ไม่ควรกา้ วก่าย หรือมักบิดเบอื น เพอ่ื สร้างภาพวา่ ชุมชน หรือตัวเราไม่มี ปัญหาส่ิงเหล่านี้ จึงทาใหไ้ ม่มกี ระบวนการ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และขาดวงจรยกระดบั ความรู้ สรุป การจดั การในภาคองค์กรจะมกี ารจดั การความรู้ท่ีเป็นระบบ มุ่งเนน้ พฒั นาตัวบุคคลใหม้ ีประสิทธิภาพ ในการทางานเพื่อพัฒนาองค์กรและมีเครื่องมือต่างๆในการพัฒนา และมีการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบ ทาให้ สามารถนามาสื่อสารและพัฒนาต่อได้ง่าย ส่วน การจัดกรความรู้ของชุมชนจะไม่ได้เป็นระบบเหมือนองค์กร เน้นการมีส่วนรว่ มและใช้ความรจู้ ากการปฏบิ ัติและเรียนรู้มาเรือ่ ยๆ และมีปญั หาเน่ืองจากชุมชนไม่ได้เข้าใจใน หลักการ หรือคุ่นชิดกบั การทากระบวนการ

6 ในฐำนะทีท่ ำ่ นเป็นนกั พฒั นำสงั คม จงอธิบำยแนวทำงกำรจัดกำรควำมร้เู พื่อกำรพฒั นำบณั ฑติ สำขำกำร พฒั นำสงั คมในอนำคต วำ่ ควรมีรูปแบบ แนวทำงเป็นอยำ่ งไรทีจ่ ะส่งผลให้บณั ฑติ สำขำกำรพัฒนำสงั คม เปน็ บัณฑติ ทีม่ ีคุณภำพ สาขาการพฒั นาสังคม มกี ารจดั การความร้อู ยแู่ ล้วซง่ึ มักถูกสอดแทรกลงไปในรายวชิ าต่างๆ ที่เหน็ ได้ ชัดสาขาเรามีการจดั สมั นาแลกเปลย่ี นความร้กู ันอยู่ทกุ ปี แตก่ ค็ งยังไมถ่ งึ ขั้นการนาพามาสกู่ ารสร้างนวตั กรรมได้ จงึ มีความคิดเหน็ ว่า ทุนเดมิ ของสาขาท่ีมีการจดั โครงการ มกี ารแลกเปลย่ี นกนั อยแู่ ล้ว เพียงแต่เรายังคงขาด ความระเอียดออ่ นในการออกแบบเครือ่ งมอื เพื่อนามาใช้ในการจัดการความรใู้ หม้ นั เกิดผลลพั ธ์ทจี่ ะส่งผลทาให้ เกดิ นวตั กรรม สร้างองค์ความรูเ้ พ่ือพฒั นานกั ศึกษาในสาขาการพฒั นาสังคม ถึงจะได้เรยี นรู้เคร่ืองมอื ตา่ งๆใน รายวิชาที่อาจารย์สอน นักศึกษามักนาเครอื่ งมือตา่ งๆในการจัดการความรู้ไปใชก้ ับผ้อู ื่น แตน่ อ้ ยมากทจ่ี ะนา เครื่องมือมาใช้กับตัวนกั ศกึ ษาเอง เครือ่ งมือตา่ ง ๆ ในการจัดการความรู้ เช่น การทบทวนหลังปฏิบัติการหรอื การถอดบทเรียน (AAR) การเรียนรู้ร่วมกนั หลงั งานสาเร็จ (Retrospect) เรือ่ งเล่าเร้าพลัง (Springboard Storytelling) บทเรยี นจากความผิดพลาด (Lesson Learning) ถ้าในอนาคต ก็อยากจะเพิม่ เติมแนวทางในการ พัฒนานกั ศกึ ษาสาขาการพฒั นาสังคม ในเรือ่ งของการจดั การความรูเ้ คร่ืองมือตา่ งๆ มาปรับใช้กับตัวนักศึกษา มากขึ้น เพ่ือทตี่ ัวนักศึกษาจะไดพ้ ฒั นาตวั เองแลละสามารถสร้างนวตั กรรมใหเ้ กิดแก่สาขาการพฒั นาสงั คม

7 อ้ำงองิ http://welcome2km.blogspot.com/p/seci-model-nonaka-takeuchi1995-tacit.html https://chumchon.cdd.go.th/wp- content/uploads/sites/106/2017/04/170420161504_KM_Book_final-16-05-2559.pdf bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/jan_mar_07/pdf/Excutive_121-124.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook