การการจาแนกจานวนจรงิ จำนวนจรงิ (Real number) คอื จำนวนทีส่ ำมำรถเขียนแทนดว้ ยจดุ บนเสน้ จำนวนจริง ได้โดยจุด ๆ หนึ่งแทนไดเ้ พียง 1 จำนวน จำนวนจรงิ ประกอบดว้ ย เซตของจำนวนตรรกยะ และเซตของจำนวนอตรรกยะ ดังแผนผงั ของระบบจำนวนจริงดงั นี้ จำนวนจริง (R) จำนวนตรรกยะ (Q) จำนวนอตรรกยะ (Q) จำนวนเต็ม (I) ไมใ่ ช่จำนวนเต็ม จำนวนท่ถี อดรำกไมไ่ ด้ จำนวนท่ีเป็นเศษส่วน ( a ; b0 ) จำนวนเต็มลบ (I-) เศษส่วนแท้ b , ,e ... , -3, -2, -1 เศษส่วนเกิน ทศนิยมซำแบบไมร่ ู้จบ จำนวนเต็มศูนย์ (0) 1.214368... 0 จำนวนเต็มบวก (I+) เศษสว่ นจำนวนคละ 1, 2, 3, ... จำนวนทศนยิ มแบบรู้จบ 0.24 , 24.601 จำนวนทศนิยมไม่รจู้ บ 2.2222... , 3.548888...
การเท่ากนั ของจานวนจริงและสมบัติปดิ เน่ืองจำกจำนวนเดียวกันสำมำรถเขยี นด้วยสัญลักษณ์หลำกหลำย จงึ ใช้สญั ลกั ษณ์ = แทน กำรเทำ่ กนั หรือเปน็ สงิ่ เดียวกัน โดยมีสมบตั กิ ำรเทำ่ กัน ดงั นี้ กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจรงิ ใด ๆ 1. สมบตั ิกำรสะทอ้ น : ถ้ำ a เปน็ จำนวนจรงิ ใดๆ แล้ว a = a เช่น 2 = 2 2. สมบตั กิ ำรสมมำตร : ถ้ำ a = b แล้ว b = a เชน่ ถำ้ 4 =2 แล้ว 2= 4 3. สมบัติกำรถำ่ ยทอด : ถำ้ a = b และ b = c แลว้ a = c เชน่ ถำ้ x = 2y และ 2y = 5 แล้ว x = 5 4. สมบัตกิ ำรบวกดว้ ยจำนวนท่ีเท่ำกนั : ถำ้ a = b แล้ว a + c = b + c เชน่ ถำ้ x = 9 แล้ว x + 3 = 9 + 3 5. สมบัติกำรคณู ดว้ ยจำนวนที่เท่ำกนั : ถ้ำ a = b แล้ว ac = bc เชน่ ถ้ำ 9 = 3 แลว้ 4 9 = 4(3)
การสมบตั ิปดิ (closure property) บทนยิ ำม ถำ้ นำสมำชิกใดๆ ในเซตมำกระทำกนั แลว้ ผลลัพธ์ท่ไี ด้ทกุ คู่ เปน็ สมำชกิ ของเซตเดมิ เสมอ เรำเรยี กว่ำ เซตน้ันมีสมบตั ิปิด ภำยใตก้ ำรกระทำนั้น ถ้ำ a A , b A แล้ว (a # b) A เรำเรียกว่ำเซต A มสี มบัติปิดภำยใต้กำร #
สมบัตกิ ำรบวกในระบบจำนวนจรงิ กำหนดให้ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ สมบัติกำรบวก รปู แบบ 1. ปิดกำรบวก ถำ้ a และ b เปน็ จำนวนจรงิ แลว้ a+b เปน็ จำนวนจรงิ ด้วย 2. กำรสลบั ท่กี ำรบวก 3. กำรเปลีย่ นกล่มุ กำรบวก a+b = b+a 4. กำรมีเอกลักษณ์กำรบวก a+(b+c) = (a+b)+c 5. กำรมอี ินเวอรส์ กำรบวก มีจำนวนจรงิ 0 ซ่ึงทำให้ 0+a = a = a+0 สำหรับจำนวนจริง a ทกุ ตวั สำหรับ a แตล่ ะตัว จะมจี ำนวนจรงิ –a จำนวนเดียว ซ่งึ ทำให้ a+(–a) = 0 = (–a)+a
สมบัตกิ ำรคูณในระบบจำนวนจรงิ กำหนดให้ a, b, c เปน็ จำนวนจรงิ ใด ๆ สมบัติกำรคูณ รูปแบบ 1. ปิดกำรคูณ ถ้ำ a และ b เปน็ จำนวนจรงิ แลว้ ab เปน็ จำนวนจริงด้วย 2. กำรสลับทก่ี ำรคณู ab = ba 3. กำรเปลย่ี นกลมุ่ กำรคณู a(bc) = (ab)c 4. กำรมเี อกลักษณ์กำรคูณ มจี ำนวนจรงิ 1 ซ่งึ ทำให้ 1 a = a 1 สำหรบั จำนวนจรงิ a ทกุ ตวั 5. กำรมอี นิ เวอร์สกำรคณู สำหรับจำนวนจริง a แต่ละตัว และ a 0 จะมจี ำนวนจรงิ a-1 จำนวนเดยี วทีท่ ำให้ (a-1) a = 1 = a(a-1) 6. กำรแจกแจง a(b+c) = ab + ac (แจกแจงทำงซ้ำย) (b+c)a = ba + ca (แจกแจงทำงขวำ)
ระบบจำนวนจรงิ ประกอบด้วยเซตของจำนวนจริง R กบั กำรบวกและกำรคูณ ถำ้ a, b, c เป็นจำนวนจรงิ ใด ๆ สมบตั ิกำรบวกและกำรคณู ของระบบจำนวนจริงเป็นดงั นี้ สมบตั ิ กำรบวก กำรคูณ 1. ปดิ 2. กำรสลบั ที่ a+bR ab R 3. กำรเปล่ียนกลุ่ม 4. กำรมเี อกลักษณ์ a+b = b+a ab = ba 5. กำรมีอินเวอร์ส 6. กำรแจกแจง (a + b) + c = a + ( b + c) a(bc) = (ab)c a+0 = a = 0+a 1a = a = a1 (–a) + a = 0 = a + (–a) a (a-1) 1 = (a-1) a a (b + c) = ab + ac
ในระบบจำนวนจรงิ จะมีระบบยอ่ ย R+ ซ่งึ R+ R มสี มบตั ดิ งั นี้ 0 R+ และ ถำ้ a เป็นจำนวนจรงิ ใด ๆ ทีไ่ มเ่ ปน็ ศนู ย์ แลว้ a จะตอ้ งเปน็ ประกำรใดประกำรหนึง่ ตอ่ ไปน้เี ทำ่ น้นั คือ a R+ หรือ –a R+ ถ้ำ a , b R+ แลว้ a + b R+ ถ้ำ a , b R+ แลว้ ab R
ทฤษฎบี ทในระบบจานวนจริง จำกบทนิยำม กำรลบ กำรหำร และสมบัตเิ กยี่ วกบั กำรบวก กำรคูณ 11 ข้อ ใชใ้ นกำรพิสจู น์ ทฤษฎีบทต่อไปนไ้ี ด้ ทฤษฎีบทท่ี 1 (กฎกำรตดั ออกสำหรับกำรบวก) เมอ่ื a , b และ c เป็นจำนวนจริงใดๆ ถ้ำ a + c = b + c แลว้ a = b ถำ้ a + b = a + c แล้ว b = c ทฤษฎีบทท่ี 2 (กฎกำรตัดออกสำหรบั กำรคณู ) เม่ือ a , b และ c เปน็ จำนวนจรงิ ใด ๆ ถ้ำ ac = bc และ c 0 แล้ว a = b ถ้ำ ab = ac และ a 0 แล้ว b = c ทฤษฎบี ทที่ 3 เมอ่ื a เปน็ จำนวนจรงิ ใด ๆ a 0 = 0 ทฤษฎีบทท่ี 4 เม่อื a เปน็ จำนวนจรงิ ใด ๆ (–1) a = –a
ทฤษฎบี ทท่ี 5 เมอื่ a และ b เปน็ จำนวนจรงิ ใด ๆ ทฤษฎีบทที่ 6 ถำ้ ab = 0 แล้ว a = 0 หรือ b = 0 ทฤษฎีบทท่ี 7 เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจรงิ ใด ๆ ทฤษฎบี ทที่ 8 1. a(– b) = –ab 2. (–a)b = –ab 3. (–a)(–b) = ab เม่ือ a และ b เป็นจำนวนจรงิ ใด ๆ 1. a(b – c) = ab – ac 2. (a – b)c = ac – bc 3. (–a)(–b) = ab ถ้ำ a 0 จะได้ a-1 0
ทฤษฎีบทที่ 9 a , b , c , d เป็นจำนวนจรงิ เมื่อ b , c , d 0 a b −1 c b= a c d 1. c bc 5. = 2. a = ac 6. a = ac b bc b b c 3. a + c = ad + bc 7. a = ad b d bd b bc c 4. a c ac d b d bd =
การแกส้ มการของพหนุ ามดกี รีสอง กำรแกส้ มกำร หรอื กำรหำคำตอบของสมกำรกำลงั สองตวั แปรเดยี ว หมำยถงึ กำรหำคำตอบของสมกำรทเี่ ขียนในรูป ax2 + bx + c = 0 เม่ือ a, b และ c เปน็ คำ่ คงตวั และ a 0 ทำได้โดยอำศัยควำมรูเ้ กยี่ วกับจำนวนจริงดังนี้ ถ้ำ a และ b เป็นจำนวนจริง และ ab = 0 แลว้ a หรือ b อยำ่ งน้อยหนึง่ ตวั ต้อง เป็นศนู ย์ ตวั อย่ำงท่ี 1 ถำ้ x (x – 2) = 0 วธิ ีทำ จะได้วำ่ x =0 หรือ x–2 = 0 ; x=2 ดังน้ัน 0 หรอื 2 เป็นคำตอบของสมกำร x (x – 2) = 0 ตวั อยำ่ งที่ 2 ถำ้ (x – 2) (x – 3) = 0 วิธที ำ จะไดว้ ่ำ x – 2 = 0 ; x=2 หรือ x – 3 = 0 ; x = 3 ดงั นัน้ 2 หรือ 3 เปน็ คำตอบของสมกำร (x – 2) (x – 3) = 0
ในกำรแกส้ มกำรกำลังสอง นอกจำกใช้วธิ แี ยกตัวประกอบดงั ทไ่ี ด้กลำ่ ว มำแล้ว ยังสำมำรถใชส้ ูตรเพ่ือหำคำตอบของสมกำรกำลังสอง โดยหำคำ่ x จำกสมกำร จำก ax2 + bx +c =0 เม่อื a0 x2 + b x + c = 0 คูณดว้ ย 1 ทัง้ สองขำ้ งของสมกำร a a a x2 + b x = − c คูณด้วย −c ทัง้ สองข้ำงของสมกำร a a a ทำสมกำรข้ำงตน้ ใหอ้ ยใู่ นรปู กำลงั สองสมบรู ณ์ โดยบวกดว้ ย b2 ทัง้ สองข้ำงของสมกำร 4a2 b b2 c b2 จะได้ x2 + a x + 4a2 = − a + 4a2 เนอ่ื งจำก x + b 2 = x + b x + b = x2 + b x + b2 2a 2a 2a a 4a2
ดงั นั้น x + b 2 = − c + b2 2a a 4a2 x + b 2 = b2 − 4ac 2a 4a2 x + b = b2 − 4ac 2a 4a2 x + b = b2 − 4ac 2a 2a x = − b b2 − 4ac 2a 2a x = −b b2 − 4ac 2a
จะได้ x = −b b2 − 4ac เมื่อ b2 −4ac 0 2a ข้อสงั เกต ในกำรหำคำตอบของสมกำร ax2 + bx +c =0 โดยใชส้ ตู ร x = −b b2 − 4ac 2a นั้น ค่ำของ x จะเปน็ จริง เมื่อ b2 −4ac 0 ฉะน้นั จะใช้สูตรเพ่ือหำคำตอบทเ่ี ป็นจำนวนจรงิ ของสมกำร เมอื่ b2 −4ac 0 เทำ่ นนั้
สมบตั ิการไมเ่ ทา่ กนั สมบัติของจำนวนจรงิ ตำมข้อ 12 เป็นพน้ื ฐำนในกำรใหค้ วำมหมำย “มำกกว่ำ” “น้อยกว่ำ” และเป็นพ้นื ฐำนสรำ้ งแนวทำงในกำรแกอ้ สมกำร ถำ้ a เป็นจำนวนจริงใด ๆ ขอ้ ใดข้อหนึง่ และเพยี งขอ้ เดียวจะตอ้ งเปน็ จรงิ คือ 1. a = 0 2. a R+ 3. –a R+ นิยำม เรยี ก a ว่ำ จำนวนจริงศูนย์ ก็ตอ่ เมอื่ a = 0 เรยี ก a วำ่ จำนวนจริงบวก กต็ ่อเมอื่ a R+ เรียก a ว่ำ จำนวนจรงิ ลบ ก็ต่อเม่อื –a R+ ถำ้ a, b เปน็ จำนวนจรงิ ใด ๆ ข้อใดข้อหน่งึ และเพยี งข้อเดียวจะตอ้ งเป็นจริง คือ 1. a – b=0 2. a – bR+ 3. – (a – b)R+ นิยำม เรยี ก a เทำ่ กบั b กต็ อ่ เมื่อ a – b = 0 (a=b) เรียก a มำกกวำ่ b ก็ตอ่ เมือ่ a – b R+ (a>b) เรียก a นอ้ ยกวำ่ b กต็ อ่ เม่อื b – a R+ (a<b)
สมบตั ไิ ตรวภิ าคของสองจานวน (Trichotomy property) ถ้ำ a และ b เปน็ จำนวนสองจำนวนใด ๆ แล้ว ขอ้ ตอ่ ไปนข้ี ้อใดข้อหน่ึงและ เพียงข้อเดยี วเท่ำนน้ั ทจ่ี ะต้องเปน็ จรงิ (1) a = b (2) a > b (3) a < b ทฤษฎบี ทของการไมเ่ ทา่ กันบางประการ ทฤษฎีบท สมบตั ิกำรถ่ำยทอด ถ้ำ a > b และ b > c แล้ว a > c ทฤษฎีบท สมบตั กิ ำรบวกดว้ ยจำนวนทีเ่ ทำ่ กัน ถำ้ a > b แล้ว a + c > b + c เมอ่ื c เปน็ จำนวนจริงใด ๆ
ทฤษฎบี ท จำนวนบวกและจำนวนลบเปรยี บเทยี บกบั 0 ทฤษฎีบท 1. a เปน็ จำนวนจรงิ บวก ก็ตอ่ เม่อื a > 0 ทฤษฎีบท 2. a เป็นจำนวนจริงลบ ก็ต่อเมอ่ื a < 0 ทฤษฎบี ท สมบัติกำรคูณด้วยจำนวนเท่ำกนั ทไ่ี มเ่ ปน็ ศูนย์ 1. ถ้ำ a > b และ c > 0 แลว้ ac > bc 2. ถำ้ a > b และ c < 0 แล้ว ac < bc สมบัติกำรตดั ออกสำหรับกำรบวก ถำ้ a + c > b + c แลว้ a > b สมบตั ิกำรตดั ออกสำหรบั กำรคณู 1. ถำ้ ac > bc และ c > 0 แล้ว a > b 2. ถ้ำ ac > bc และ c < 0 แลว้ a < b
ทฤษฎีบท ถ้ำ r และ s เปน็ จำนวนจริง และ r < s บทนยิ ำม จะมีจำนวนตรรกยะ c ซง่ึ r < c < s ab หมำยถึง a < b หรือ a = b ab หมำยถึง a > b หรือ a = b a<b<c หมำยถงึ a < b และ b < c abc หมำยถึง a b และ b c a<bc หมำยถงึ a < b และ b c ab<c หมำยถงึ a b และ b < c
ช่วง (Interval) เมือ่ เอกภพสมั พัทธ์เป็นจำนวนจรงิ และ a < b แลว้ 1. ช่วงเปิด ( a , b) หมำยถงึ { x a < x < b } – a b 2. ชว่ งปิด [ a , b ] หมำยถึง { x a x b } – a b 3. ชว่ งครึง่ เปิด [ a , b) หมำยถงึ { x a x < b } – a b 4. ช่วงครึ่งเปดิ ( a , b] หมำยถงึ { x a < x b } – ab
5. ช่วง ( a , ) หมำยถงึ { x x > a } – a 6. ช่วง [a , ) หมำยถึง { x x a } – a 7. ชว่ ง (– , a) หมำยถงึ { x x < a } – a 8. ชว่ ง (–, a] หมำยถงึ { x x a } – a
การแก้อสมการตวั แปรเดียวดีกรไี มเ่ กินสอง อสมกำร หมำยถึง ประโยคท่มี ีเครอ่ื งหมำย หรอื หรือ หรอื หรอื กำรแกอ้ สมกำร หมำยถึง กำรหำค่ำของตัวแปรในอสมกำรทที่ ำใหอ้ สมกำรเปน็ จรงิ หลักกำรแก้อสมกำร ใชส้ มบตั ิกำรไมเ่ ทำ่ กัน และมีขอ้ พึงระวังดงั นี้ 1. กำรคูณหรอื กำรหำรดว้ ยจำนวนลบ ถ้ำ a b และ c 0 แล้ว ac bc ถ้ำ a b และ c 0 แล้ว ac bc ดงั น้นั ไม่มกี ำรคณู หรอื กำรหำรด้วยตัวแปรที่ไมท่ รำบคำ่ บวกหรือลบแน่นอน 2. กำรยกกำลงั สองทังสองข้ำงต้องค่ำบวกทงั สองข้ำงหรอื ลบทงั สองข้ำง ถ้ำ a b 0 แล้ว a2 b2 ถ้ำ a b 0 แลว้ a2 b2
3. กำรกลับเศษเป็นสว่ น เน่อื งจำก ถำ้ a b 0 แลว้ 11 ab 11 ถ้ำ 0 a b แลว้ ab ถำ้ จำนวนบวก จำนวนลบ แลว้ 1 1 จำนวนบวก จำนวนลบ 4. อสมกำรไมม่ ีกำรถอดรำกที่สอง เชน่ ไม่ทำ x2 9 แล้ว x 3 ข้อพงึ ระวัง จำกตัวอยำ่ งที่ 4 ถ้ำตวั ประกอบมีสมั ประสิทธขิ์ องตัวแปรเปน็ ลบ ตอ้ ง ทำใหเ้ ปน็ บวก กอ่ น โดยคูณดว้ ย –1 พรอ้ มทังเปล่ยี นเครือ่ งหมำย เป็น หรือ เปน็
ค่าสมั บรู ณ์ จำกควำมหมำยในเชิงเรขำคณิต ค่ำสมั บรู ณข์ องจำนวนจริง x ใด ๆ เขียน แทนด้วยสญั ลกั ษณ์ | x | หมำยถงึ ระยะหำ่ งระหวำ่ งจดุ แทน 0 กับจุด แทน x บนเสน้ จำนวน บทนยิ ำม สำหรบั จำนวนจริง x ทกุ ตัว คำ่ สมั บรู ณ์ของ x ซึ่งเขยี นแทนด้วย | x | มีควำมหมำยดังน้ี x เมื่อ x 0 | x |= 0 เมื่อ x = 0 –x เมื่อ x 0 เชน่ x – 3 เมื่อ x 3 หรอื |x – 3| = 0 เมือ่ x = 3 x – 3 เมอ่ื x – 3 0 |x – 3| = 0 เมือ่ x – 3 = 0 –(x – 3) เมอ่ื x 3 –(x – 3) เมื่อ x – 3 0
อสมการคา่ สัมบูรณ์ อสมกำรค่ำสมั บรู ณ์ คือ อสมกำรท่ีตวั แปรตดิ อยูใ่ นรูปคำ่ สมั บูรณ์ กำรแกอ้ สมกำรคำ่ สัมบรู ณ์ สำมำรถทำได้โดยใชท้ ฤษฎบี ทตอ่ ไปน้ี ทฤษฎบี ท กำหนดให้ x เป็นจำนวนจรงิ และ a เปน็ จำนวนจริงบวก จะได้ว่ำ 1) x a ก็ต่อเม่ือ –a x a 2) x a ก็ตอ่ เม่ือ –a x a 3) x a ก็ตอ่ เม่ือ x –a หรอื x a 4) x a ก็ตอ่ เมื่อ x –a หรอื x a
การแยกตัวประกอบโดยใช้ทฤษฎบี ทเศษเหลอื ให้ p(x) แทนพหนุ ำมท่ีมตี วั แปรเปน็ x ดังน้ี p(x) = an xn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 ; an 0 เชน่ p(x) = 3x4 – 2x3 + x2 – x – 3 ทฤษฎีบทเศษเหลือ ( Remainder theorem ) 1. ถ้ำพหนุ ำม p(x) (x–c) เม่ือ cR แลว้ เศษของกำรหำรเท่ำกับ p(c) 2. ถ้ำพหุนำม p(x) (ax–b) เม่ือ a , bR และ a 0 b แล้ว เศษของกำรหำรเท่ำกับ p a
ตัวอย่ำงที่ 1 จงหำเศษของกำรหำร x4 – 2x2 + 3x – 1 ด้วย x+1 วิธีทำ ให้ p(x) = x4 – 2x2 + 3x – 1 โดยทฤษฎบี ทเศษเหลือ เมอ่ื หำร p(x) ด้วย x–c แล้วเศษของกำรหำรเทำ่ กับ p(c) จะได้วำ่ x–c = x+1 = ( x –(–1) ) นน่ั คือ c = –1 ดงั นนั้ เศษของกำรหำร p(x) ด้วย x+1 คือ p(–1) p(–1) = (–1)4 – 2(–1)2 + 3(–1) –1 = 1–2–3–1 = –5 นน่ั คือ เศษเหลือของกำรหำร p(x) ดว้ ย x+1 คอื –5
กำรหำรลงตวั และตวั ประกอบ ถ้ำพหนุ ำม p(x) หำรดว้ ย x–c แลว้ เศษ p(c) = 0 แสดงว่ำ 1. ( x–c ) หำรพหุนำม p(x) ได้ลงตัว 2. ( x–c ) เป็นตัวประกอบของ p(x) ทฤษฎีบทตวั ประกอบ 1. (x–c) เป็นตวั ประกอบตวั หนง่ึ ของพหุนำม p(x) ก็ตอ่ เม่อื p(c)=0 2. (ax–b), a 0 เปน็ ตวั ประกอบตัวหน่งึ ของพหุนำม p(x) ( )ก็ตอ่ เม่ือp b =0 a
การแยกตวั ประกอบโดยวิธีการหารสงั เคราะห์ ขน้ั ตอนวธิ กี ารหารสงั เคราะหด์ งั น้ี 1. นำสัมประสิทธ์ิของพหุนำมมำเรียงจำกดีกรีมำกไปหำนอ้ ย ถ้ำพจน์ใดไม่มี ใหเ้ ขียน สมั ประสิทธเ์ิ ปน็ 0 ดงั น้ี 4x3 + 13x2 + 4x – 11 เขียนไดด้ งั น้ี 4 13 4 –11 2x3 + 3x – 1 เขียนไดด้ ังน้ี 2 0 3 –1 2. ถำ้ x – c เปน็ ตวั หำร ให้นำ c ไปวำงไว้ข้ำหน้ำแถวที่ 1 เช่น ( 4x3 + 13x2 + 4x – 11 ) (x+2) จะได้ x+2 = x – (–2) น่ันคอื x = –2 เขยี นไดด้ ังนี้ –2 4 13 4 –11 แถวท่ี 1
3. ให้เขยี นสัมประสทิ ธ์ิของพหุนำมตัวแรกในแถวท่ี 3 เหมอื นกบั ตวั เลขตัวแรกใน แถวที่ 1 แลว้ นำตวั หำร คอื c ไปคณู กับตัวเลขตวั แรกในแถวท่ี 3 นำผลไปเขียนลงใน ตำแหน่งที่ 2 ของแถวท่ี 2 ต่อจำกนัน้ ให้นำตวั เลขในตำแหนง่ ที่ 2 ของแถวที่ 1 และ 2 มำบวกกนั นำผลทไ่ี ด้ไปเขียนไวใ้ นแถวท่ี 3 ในตำแหนง่ เดยี วกนั เชน่ –2 4 13 + 4 –11 แถวที่ 1 –8 แถวท่ี 2 แถวที่ 3 45 (–8 มำจำก 4(–2) ) ( 5 มำจำก 13+(-8) )
4. ใหน้ ำตวั หำร คอื c ไปคณู กบั ตวั เลขในตำแหน่งที่ 2 แถวที่ 3 แล้วนำผลคูณไป วำงไว้ในตำแหนง่ ถดั ไปของแถวท่ี 2 นำผลมำบวกกนั แลว้ เขยี นลงไว้ในแถวท่ี 3 ใน ตำแหนง่ เดียวกัน ทำเช่นน้ไี ปเรอ่ื ย ๆ จนหมดทกุ ตวั ดงั น้ี –2 4 13 4 –11 + แถวที่ 1 –8 –10 12 แถวที่ 2 แถวที่ 3 4 5 –6 1 ผลหำร เศษ 5. ตัวเลขในแถวท่ี 3 คอื สมั ประสทิ ธิข์ องผลหำรทม่ี ีดีกรีของพหนุ ำมน้อยกวำ่ ตัว ต้ังอยู่ 1 และตัวสุดท้ำยคือ เศษ ดงั นี้ จำกแถวที่ 3 จะได้ผลหำร คือ 4x2+ 5x – 6 เศษ 1
ตัวอยำ่ งท่ี 1 จงแยกตวั ประกอบของ x4 – x3 – 7x2 + x + 6 วิธที ำ กำหนดให้ p(x) = x4 – x3 – 7x2 + x + 6 ตัวประกอบของ 6 คือ 1 , 2 , 3 , 6 พจิ ำรณำคำ่ x=1 จะได้ p(1) = 14 – 13 – 7(1)2 + 1 + 6 = 0 แสดงว่ำ (x–1) เปน็ ตัวประกอบหน่ึงของ p(x) จำกวธิ ีกำรหำรสงั เครำะห์ 1 1 –1 –7 1 6 + 1 0 –7 –6 1 0 –7 –6 0 ผลหำร เศษ นัน่ คือ จะได้ p(x) = (x–1)( x3–7x–6)
ให้ q(x) = x3 – 7x – 6 ตวั ประกอบของ –6 คือ 1 , 2 , 3 , 6 แทน x = –1 จะได้ q(x) = (–1)3 – 7(–1) – 6 = 0 แสดงวำ่ x + 1 เปน็ ตัวประกอบของ x3 – 7x – 6 จำกวิธีกำรหำรสงั เครำะห์ 1 1 0 –7 –6 + –1 1 6 1 –1 –6 0 ผลหำร เศษ จะได้ q(x) = x3 – 7x – 6 = (x+1)( x2– x – 6) = (x+1)(x–3)(x+2) สรุปไดว้ ำ่ p(x) = (x–1)(x+1)(x–3)(x+2) น่นั คอื ตัวประกอบของ x4 – x3 – 7x2 + x + 6 = (x–1)(x+1)(x–3)(x+2)
THE END...
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: