1 หลักสูตรการศึกษาตอ่ เนอื่ ง การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะอาชีพ การทาหมอนรองคอจากผ้าขาวมา้ จานวน 10 ช่วั โมง สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดเพชรบรู ณ์ สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
ก คานา ด้วย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเพชรบูรณ์เป็นหน่วย ส่งเสริมสนับสนุนในการจัดฝึกอบรมด้านอาชีพ หลักสูตรการทาหมอนรองคอจากผ้าขาวม้า รวมถึงการ สนับสนุน ประสานงานร่วมกับภาคีเครือข่ายในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการศึกษาอาชีพให้มีงานทาสร้าง รายได้ให้ตนเองและครอบครวั เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการดาเนินงานท่ีเน้นเรื่องการมีอาชีพเพ่ือการมีงาน ทามีรายได้ จึงได้คัดเลือกการทาหมอนรองคอจากผ้าขาวม้า เพ่ือพัฒนาและต่อยอดมาจัดทาเป็นหลักสูตรเพ่ือ เผยแพรใ่ ห้ประชาชนทัว่ ไปได้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปประกอบอาชีพต่อไปได้ ขอขอบคุณวิทยากรวิชาชีพ และคณะดาเนินงานการจัดการศึกษาต่อเน่ือง ท่ีได้ร่วมพัฒนาหลักสูตร และจัดทาแผนการเรียนรู้รวมท้ังส่ือต่าง ๆ ให้สาเร็จไปด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหลักสูตรเล่มนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อวิทยากรและผู้เรียนต่อไป สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั เพชรบูรณ์ มกราคม 2566
สารบญั ข คานา หนา้ ความรูเ้ กี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการทาหมอนรองคอจากผ้าขาวมา้ ก ความรู้พน้ื ฐานในการจัดการเรียนร้ตู ามหลักสูตรการทาหมอนรองคอจากผ้าขาวมา้ 1-6 หลักสตู รการทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวมา้ 7 ความเป็นมา จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 8 กลุม่ เปา้ หมาย 8 ระยะเวลา 8 เนอื้ หาหลักสตู ร 8 การจดั การเรยี นรู้ 8 ส่ือการเรียนรู้ 8 การวัดและประเมินผล 8 การจบหลกั สตู ร 9 เอกสารหลักฐานการศึกษา 9 การเทยี บโอนผลการเรยี น 9 10 แผนการจดั กระบวนการเรยี นรู้หลกั สูตรการทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวมา้ 10 ใบความรู้ ความเป็นมาของหมอนรองคอจากผ้าขาวม้า 11-12 ใบความรู้ วธิ ที าหมอนรองคอจากผา้ ขาวมา้ 13 ใบงาน แบบบนั ทึกการทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวม้า 14 ใบความรู้ ประโยชน์ของหมอนรองคอจากผา้ ขาวม้า 15 ใบความรู้ การคิดต้นทนุ กาไร 16 ใบงาน การคิดตน้ ทนุ กาไร 17 ใบความรู้ ช่องทางการตลาด 18 แบบวัดและประเมนิ ผลการทาหมอนรองคอจากผ้าขาวม้า 19-20 ใบงาน แบบประเมินผลงานผู้เรียน 22 22 บรรณานกุ รม 23 รายชื่อคณะผู้จัดทาหลักสูตร 24
1 หลักสูตรการทาหมอนรองคอจากผ้าขาวม้า จานวน 10 ชว่ั โมง ความรู้เกยี่ วกบั วัสดุ อุปกรณ์ ท่ใี ช้ในการทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวมา้ กอ่ นทีผ่ ู้เรียนจะเขา้ สู่การเร่มิ ต้นการทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวม้า ผู้เรียนควรเรยี นรเู้ กี่ยวกบั วัสดุและ อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการทาหมอนรองคอจากผ้าขาวมา้ ได้แก่ ผา้ ขาวม้า ผ้าฝ้ายดบิ ซปิ กระดุม ดา้ ย เข็ม กรรไกรตดั ผา้ กรรไกรตดั เศษด้าย สายวัด ทีจ่ าเป็นตอ้ งใช้ โดยมีวธิ ีการเลือกดงั น้ี ผา้ ขาวม้า ผา้ ขาวม้า มลี กั ษณะเปน็ ผ้ารูปส่เี หลย่ี มผืนผา้ ความกว้างประมาณ 2 ศอก ยาวประมาณ 3-4 ศอก เปน็ ผา้ สาหรับผู้ชายใช้นงุ่ แบบลาลอง ความกว้างจึงเทา่ กับระยะจากเอวถึงกลางหน้าแข้ง ความยาวเทา่ กบั ระยะพัน รอบตัวแล้วเหลือเศษอีกเล็กน้อย โดยมากทอเปน็ ลายตารางเล็กๆ นิยมใชด้ า้ ยหลายสี อย่างไรกต็ าม ผ้าสเี ดยี ว ทมี่ ขี นาดเทา่ กบั ผ้าขาวม้าลายตารางหมากรุกแบบน้ี หากนามาใชน้ ุง่ สาหรับผชู้ าย กน็ ิยมเรยี กผา้ ขาวม้าเช่นกนั ผา้ ขาวมา้ ในประเทศไทยมชี ่อื เรยี กแตกต่างกัน ข้นึ อยู่กบั ท้องถน่ิ ซึง่ คาว่าผ้าขาวมา้ เป็นภาษาทางภาคกลาง สว่ นในภาคอีสานบางแห่งเรยี กวา่ ผ้าแพร ซ่ึงมักจะได้จากการทอดว้ ยเคร่ืองทอผ้าท่เี รียกว่า กี่ และจะทอเปน็ ขนาดยาวประมาณ 20-30 เมตร ต่อการทอแตล่ ะคร้งั แล้วจงึ ตดั แบ่งออกเป็นผนื ผืนละ 1 วา หรอื ประมาณ 1 เมตรครึ่ง ดังน้นั บางท้องถ่ินจึงเรียกวา่ ผา้ แพรวา เรียกตามความยาวของผา้ แตล่ ะผนื สีและลวดลายของผ้าขาวม้าจะแตกตา่ งกันไปตามความนิยมของทอ้ งถนิ่ โดยทางภาคกลาง ผา้ ขาวม้า จะมลี วดลายเป็นตาลายสก๊อต และของภาคอีสานจะเปน็ แบบตาเลก็ ๆ
2 ผ้าฝ้ายดิบ เปน็ ผ้าทีถ่ ูกทอขน้ึ จากเม็ดฝา้ ย ลินิน รวมไปถึงการใส่โพลีเอสเตอร์ผสมลงไปในปัจจุบัน แต่ผ้าดิบจะไม่ ผ่านกระบวนการการฟอกสีใดๆ ผ้าด้ายดิบที่เอามาทาเป็นกระเป๋ามักมีราคาไม่แพงมากแต่สามารถนามาทาได้ หลายแบบ ตดั เยบ็ ได้ตามความตอ้ งการ สามารถยอมสีใหเ้ ป็นงานอาร์ท ทาผ้ามัดย้อมและอีกหลากหลายไอเดีย ท่เี ราจะสรรสรา้ งข้นึ สามารถเพ่มิ มูลค่าของผ้าดบิ ใหส้ ูงขน้ึ ได้ กระดุม หมายถึง วตั ถุทีเ่ ป็นช้นิ สว่ นเล็กๆ ลกั ษณะโคง้ มนหรือกลมแบนและอาจมลี วดลาย ใชส้ าหรับผูกตดิ เขา้ กับเสอ้ื ผา้ เพ่ือปกปิดหรือไม่ให้หลดุ ออกจากร่างกาย หรือเพื่อใชใ้ นการตกแต่งเสื้อผ้าเพียงเท่านน้ั ใชง้ านโดยการ กลัดเข้ากับรังดุมหรือหว่ งบนผา้ อกี ช้นิ หนึง่ จะทาใหป้ ลายผ้าที่มกี ระดุมกับรังดุมอยตู่ ิดกนั กระดุมสามารถผลติ ได้ด้วยวัสดุหลายชนิด ไมว่ า่ จะเป็นวัสดุจากธรรมชาติ อาทิ เขาสัตว์ กระดูก เปลอื กหอย ไม้ หรือวสั ดสุ ังเคราะห์ เชน่ แก้ว โลหะ พลาสติก เปน็ ตน้
3 ด้าย ด้ายไนล่อน เป็นเส้นด้ายใยสังเคราะห์ เหมือนเส้นใยธรรมชาติ มีคุณสมบัติที่แข็งแรง และราคาถูก กว่าเส้นใยธรรมชาติ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถนามาใช้ทดแทนเส้นด้ายประเภทอื่นๆ คุณสมบัติ กระด้าง อาจไม่เหมาะสมกับงานตัดเย็บเส้ือผ้า แต่อาจเหมาะสมกับงานประเภททาสายเทปหรือสายรัด ด้ายสปัน มีความเหนียว แข็งแรง เหมาะสาหรับใช้เย็บเบาะ เคร่ืองหนัง เฟอร์นิเจอร์ รองเท้า กระเป๋า ผ้าใบ เบาะรถยนต์ และอ่ืนๆ ด้ายสปันมีหลายสีและหลายขนาด สามารถเลือกใช้ตามความต้องการ ของตัวเองได้เลย
4 เขม็ ควรเลือกใช้เข็ม ดา้ ย ให้พอดี เหมาะสมกบั ชนิดของผา้ โดยดูจากขนาดด้ายหากใชด้ ้ายเส้นเลก็ บางเบา ควรใชเ้ ขม็ ขนาดเล็ก หากใชเ้ ข็มขนาดใหญ่ก็ควรใช้ดา้ ยขนาดใหญ่เป็นเข็มเย็บผ้าขนาดเลก็ ออกแบบมาให้ เหมาะกับการเย็บผ้าเนื้อบางๆ เช่น ผา้ ชีฟอง ผา้ แก้ว ผ้ามัสลนิ ควรใชค้ ู่กบั ด้ายเสน้ เล็กเช่น ดา้ ยโพลีเอสเตอร์ เม่ือเย็บแลว้ จะไดต้ ะเข็บท่ี สวยเนียนกลมกลนื กับเนือ้ ผา้ เขม็ เยบ็ ผ้าธรรมดา เบอร์ 70 เหมาะกบั การเย็บผา้ เน้ือบาง เชน่ ผ้า สาหรับชดุ เดก็ ผา้ มสั ลนิ ผา้ แพร ควรใช้คกู่ บั ดา้ ยเส้นเลก็ ข้อแนะนา : การเย็บผา้ เนอ้ื บางมากๆ การใช้คู่กับตนี ผเี ย็บผ้าบางจะชว่ ยใหต้ ะเขม็ สวยงามมากข้นึ เข็มเย็บผา้ ธรรมดา เบอร์ 75 เหมาะกบั การเย็บผ้าเนื้อบางถึงปานกลาง เชน่ ผา้ สาหรบั ชดุ เดก็ ผา้ มัสลิน ผา้ แพร ควรใชค้ ูก่ บั ดา้ ย เสน้ เล็ก และใช้คู่กบั ไหมปักในกรณีที่ปักลวดลายตา่ งๆ เข็มเย็บผ้าธรรมดา เบอร์ 80 เหมาะสาหรับผา้ ธรรมดาท่วั ไปเน้ือปานกลาง เช่น ผา้ คอตตอน ผา้ ซาติน ผ้าลินนิ ผ้าขนสตั ว์เนอื้ บาง สามารถใช้ได้กบั กบั ด้ายเย็บท่ัวไป ดา้ ยเมจกิ สปัน
5 กรรไกรตัดผา้ กรรไกรตัดผ้ามีปลายกรรไกรด้านหนึ่งเรียวแหลม และปลายกรรไกรอีกด้านโค้ง ทาจากเหล็กกล้าไร้ สนิม ขัดเงาเรียบเป็นมันวาว มีขนาดยาวระหว่าง 20-30 เซนติเมตร( 8 – 12 นิ้ว) เพ่ือให้สะดวกในการใช้ งานไม่ต้องขยับเล่ือนกรรไกรหลายคร้ัง ซึ่งจะมีท้ังแบบด้ามตรงและด้ามโค้ง ซ่ึงแบบด้ามโค้งจะช่วยให้การตัด ผ้าเที่ยงตรงเพราะเวลาตัดจะขนานไปกับผ้า ส่วนแบบด้ามตรงจะเหมาะกับการตัดตะเข็บตกแต่งหรือตัด ชายกระโปรง ด้ามอาจทาด้วยโลหะเน้ือเดียวกับตัวกรรไกร หรือมีปลอกหุ้ม กรรไกรตัดเศษด้าย เป็นกรรไกรขนาดเล็กท่ีมีประโยชน์มาก ปากแหลมปลายคมมาก มีสปริงอยู่ในตัว สามารถตัด เส้นด้ายได้ง่ายหรือจะใช้ปลายไว้เลาะผ้าก็ได้ แต่ไม่เหมาะกับการตัดผ้า
6 สายวัด สายวัด รูปแบบใชง้ านง่ายสะดวก เนน้ การใช้งานจริงเปน็ หลกั ตัวสายเป็นสีขาวจะมีขนาดท่ีใหญก่ ว่า แบบตลับ หนว่ ยวดั ทีใ่ ชก้ ็มมี าตรฐานวดั ได้ท้งั แบบเซนติเมตรและนวิ้ มีการระบตุ ัวเลขชดั เจน ตัวเลขกม็ ขี นาด ใหญ่อา่ นง่ายแลว้ ยงิ่ เป็นสีแดงด้วยก็ยงิ่ ทาให้อ่านค่าไดง้ า่ ย สาหรับผทู้ ี่ตอ้ งการใชง้ านกเ็ หมาะมาก
7 หลักสูตรการทาหมอนรองคอจากผ้าขาวม้า 1. ความเปน็ มา ปัจจุบันนี้มีผู้ประสบปัญหาเร่ือง ปวดต้นคอ จากอิริยาบถหรือท่าที่ผิดสุขลักษณะ ทาให้กล้ามเน้ือ ถูกใช้งานจนเม่ือยล้าเกินไป ต้องใช้หมอนหนุนบริเวณต้นคอและอาจเกิดความเครียดทางจิตใจหลายสาเหตุ เช่น การงาน ครอบครัว การพักผ่อนท่ีไม่เพียงพอ ซ่ึงทาให้กล้ามเนื้อคอหดเกร็งอาจทาให้หลังเคล็ดหรือยอก เกิดจากการที่กล้ามเนื้อต้องทางานมากเกินไปน่ังใช้งานคอมพิวเตอร์ การเดินทาง การนอนที่ไม่ถูกวิธี มีท้ังที่ รนุ แรงและไม่รุนแรง ขน้ึ อยู่กับบคุ คลนั้น ๆ เพอ่ื เป็นการบรรเทาปัญหาเร่ืองสุขภาพดังกล่าว การทาหมอนรองคอจึงเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่จะเป็น ทางเลือกในการสร้างรายได้โดยการใช้วัสดุหาได้ง่ายที่มีอยู่ในพื้นที่ โดยการนาผ้าขาวม้าทอมือที่มีอยู่ในชุมชน พ้ืนท่ีตาบลลาดแค อาเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์หมอนรองคอจากผ้าขาวม้า เป็นงานฝีมือท่ีมีความประณีต มีสีสันสวยงาม น้าหนักเบา พกพาสะดวก ใช้งานง่าย ราคาไม่แพง เป็นการ อนุรักษ์ผ้าขาวม้า และเป็นการผลักดันการประกอบอาชีพ สร้างรายได้และการมีงานทาอย่างย่ังยืน ของประชาชน ดังนั้น สานักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ จึงได้จัดทาหลักสูตรพัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ “การทาหมอนรองคอจากผ้าขาวม้า” เพ่ือให้ประชาชนรู้จักคิดทาสิ่งต่างๆ ภายในชุมชนได้อย่างคุ้มค่า สรา้ งอาชีพ สรา้ งรายได้และการมงี านทาอยา่ งยง่ั ยืนของประชาชน 2. หลกั การของหลักสตู ร 1. เป็นหลกั สูตรทเี่ น้นการบูรณาการใหส้ อดคลอ้ งกับศักยภาพด้านต่าง ๆ ห้าดา้ น ได้แก่ ศกั ยภาพ ของทรพั ยากรธรรมชาติ ศักยภาพของพ้ืนทต่ี ามลักษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพ ภมู ิประเทศและทาเลท่ีตั้ง ศักยภาพของศลิ ปะวฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ และศกั ยภาพ ของทรพั ยากรมนุษยใ์ นแต่ละพืน้ ที่ 2. เน้นการฝกึ ปฏบิ ตั ิจรงิ เพอื่ ให้ผูเ้ รยี นเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถนาไปประกอบ อาชพี ใหเ้ กดิ รายได้ท่ีมัน่ คง และยงั่ ยนื ในอาชีพ 3. สง่ เสรมิ ให้มีความร่วมมือในการดาเนินงานร่วมกบั ภาคีเครือขา่ ย 3.จุดมงุ่ หมายหลักสูตร 1. เปน็ หลกั สูตรการประกอบอาชพี ที่ทาใหเ้ กดิ ความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ 2. เปน็ หลักสตู รการประกอบอาชีพท่สี ง่ เสรมิ การมีงานทาของประชาชน 3. เปน็ หลักสูตรการอาชีพที่สามารถเทยี บโอนเข้าสหู่ ลกั สตู รสถานศึกษาของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ในหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพรายวชิ าเลอื กท่ีสถานศึกษา
8 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายความเปน็ มาของผ้าขาวม้า วัสดุ อุปกรณ์และเลือกใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมได้ 2. อธบิ ายข้นั ตอนการทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวม้าได้ 4. ลงมือปฏิบตั ิหมอนรองคอจากผา้ ขาวมา้ ได้ 5. คิดต้นทนุ กาไรจากการจาหน่ายหมอนรองคอจากผา้ ขาวมา้ ได้ 6. อธิบายชอ่ งทางการจดั การตลาดของหมอนรองคอจากผา้ ขาวม้าได้ 3. กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนทวั่ ไป 4. ระยะเวลา ภาคทฤษฎี 3 ชวั่ โมง ภาคปฏบิ ัติ 7 ช่ัวโมง 5. เน้อื หาหลักสูตร 5.1 ความเป็นมาของผา้ ขาวม้า ผ้าฝ้ายดบิ 5.2 วัสดุ อุปกรณ์และเลอื กใช้ได้อย่างเหมาะสม 5.3 ขน้ั ตอนการทาหมอนรองคอจากผ้าขาวม้า 5.4 การลงมือทาหมอนรองคอจากผ้าขาวม้า 5.5 ประโยชน์ของหมอนรองคอจากผา้ ขาวมา้ 5.6 การคิดต้นทุน กาไรจากการจาหนา่ ยหมอนรองคอจากผ้าขาวมา้ 5.7 ชอ่ งทางการจดั การตลาดของหมอนรองคอจากผา้ ขาวม้า 6. การจดั การเรยี นรู้ การบรรยายใหค้ วามรู้ การสาธิต การลงมอื ปฏิบัติ การอภปิ รายแลกเปลี่ยนประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 7. สอ่ื การเรยี นรู้ 7.1 สอ่ื ส่งิ พิมพ์ เชน่ หนงั สอื ใบความรู้ แผน่ พับ 7.2 สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ ส่ือออนไลน์ 7.3 สื่อบคุ คล เชน่ ผรู้ ู้ ภูมปิ ัญญา 7.4 แหล่งเรียนรู้ในชมุ ชน
9 8.การวดั และประเมนิ ผล ประเมินความรูภ้ าคทฤษฎี และภาคปฏบิ ัติจากการสอบถาม แบบทดสอบ การสงั เกต การมสี ว่ นร่วม 9.การจบหลกั สูตร 9.1 มเี วลาเรยี นและฝึกปฏบิ ัตติ ามหลกั สตู รไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 9.2 มผี ลการประเมินผา่ นตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 9.3 มีช้ินงาน/ผลงาน ผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามมาตรฐานและคุณภาพ 10.เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่จี ะได้รบั หลงั จากจบหลกั สูตร ใบสาคญั ผผู้ า่ นการฝึกอบรม (แบบ กศ.ตน.11)
10 11.การเทียบโอน เทียบโอนเปน็ รายวิชาเข้าสูห่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน โดยพิจารณาจาก จานวนชั่วโมง และความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ตามหลกั สตู รสถานศึกษารายวิชาเลือก สาระการประกอบอาชพี ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ลงชื่อ.............................................ผูเ้ ขยี นหลกั สตู ร ลงชอ่ื ...........................................ผูเ้ หน็ ชอบหลักสูตร () () เจา้ หน้าท่ีการศึกษาตอ่ เนื่อง ลงช่อื ..........................................ผูเ้ หน็ ชอบหลักสูตร ลงช่ือ...............................................อนมุ ตั หิ ลกั สูตร () () ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอ...................... กรรมการสถานศึกษา
แผนการจัดกระบวนการเรยี นร้หู ลกั สูตรก เรื่อง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เน้ือหา การจดั กระบ 1. ความเปน็ มา 1. อธบิ ายความเป็นมาของ 1. ความเป็นมา 1. วทิ ยากรอธบิ ายค ผ้าขาวมา้ และควา ของผา้ ขาวมา้ ผา้ ขาวมา้ ของผ้า หมอนรองคอจากผ้า 2. วสั ดุอปุ กรณ์ 2. อธิบายวัสดุ อุปกรณ์ 2. วัสดุ อุปกรณ์ และ 1. วิทยากรอธิบายอ และการเลือกใช้ และเลือกใชไ้ ด้อยา่ ง เหมาะสม การเลือกใช้ หมอนรองคอจากผ้า 3. ขั้นตอนการทา หมอนรองคอจาก 3.อธิบายขน้ั ตอนการทา 2. วทิ ยากรอธิบายว ผา้ ขาวมา้ หมอนรองคอจากผ้าขาวมา้ ได้ การทาหมอนรองคอ 3.ใหผ้ ู้เรยี นเลือกใชว้ 3.ขั้นตอนการทา 1.วิทยากรอธบิ ายก หมอนรองคอจาก จากผา้ ขาวมา้ ผา้ ขาวมา้ 4. การปฏิบตั กิ าร 4. ปฏบิ ตั กิ ารทาหมอนรอง 4.การปฏบิ ัติการทา 1. วิทยากรสาธิตวิธ จากผ้าขาวม้าและผ ทาหมอนรองคอ คอจากผา้ ขาวมา้ หมอนรองคอจาก 2. วิทยากรและผเู้ ร จากผ้าขาวมา้ ผา้ ขาวมา้
11 การประดษิ ฐ์การทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวม้า บวนการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ วดั และประเมินผล ช่วั โมง ความเปน็ มาของ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ามเป็นมาของการทา 1. ใบความรู้เรอ่ื งความ 1. สงั เกตความสนใจ 30 นาที าขาวมา้ เป็นมาของการทาหมอนรอง 2. ซักถาม อุปกรณใ์ นการทา คอจากผ้าขาวมา้ 3. การมสี ว่ นรว่ ม 30 นาที 15 าขาวม้า 1.ตัวอย่างวัสดุ 4. ชนิ้ งาน/ผลงาน นาที วสั ดทุ ีใ่ ช้ประกอบการ อุปกรณ์ 5. ประเมนิ ผลงาน อจากผ้าขาวมา้ 2. ส่อื ออนไลน์ ผู้เรียน โดยใชใ้ บงาน 30 นาที 15 วัสดอุ ปุ กรณ์ ทก่ี าหนด นาที การทาหมอนรองคอ 1.ใบความรู้ เรื่องการทา หมอนรองคอจากผ้าขาวม้า 5 ธีการทาหมอนรองคอ 2.สอ่ื ออนไลน์ ชั่วโมง ผู้เรยี นลงมือปฏิบตั ิ 3. วัสดุ อปุ กรณข์ องจริง รยี นแลกเปลยี่ นเรียนรู้ 1. ใบงาน การทาหมอน รองคอจากผา้ ขาวมา้
เรอ่ื ง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนอื้ หา การจดั กระบวน 5. คณุ ค่าของ 5. อธบิ ายคณุ ค่าของ 5. คุณคา่ ของการ 1.ผู้เรยี นศึกษาใบ ทาหมอนรองคอจาก การทาหมอนรอง การทาหมอนรองคอ การทาหมอนรองคอจาก ผ้าขาวมา้ 2.วิทยากรและผ แลกเปลีย่ นเรียน จากผา้ ขาวมา้ ผ้าขาวมา้ ได้ 7. การคานวณ การทาหมอนรอง ตน้ ทนุ กาไร 3.วทิ ยากรสรุปอ 6. การคิดตน้ ทุน 6. คดิ ต้นทนุ กาไรจากการ 1. วิทยากรใหค้ ว กาไร จาหน่ายการทาหมอนรองคอ 7. ชอ่ งทางการ คดิ ต้นทุน กาไร ตลาดของการทา 2. ใหผ้ ้เู รยี นฝึกก จากผ้าขาวมา้ ได้ หมอนรองคอจาก 1. วทิ ยากรแจกใ 7. ช่องทางการ 7. อธบิ ายช่องทางการ ผา้ ขาวมา้ ศกึ ษา จัดการการตลาด จัดการการตลาดของการทา 2.วิทยากรและผ ของการทาหมอน หมอนรองคอจากผา้ ขาวม้าได้ แลกเปล่ียนเรียน รองคอจากผา้ ขาวมา้ จดั การการตลาด
12 นการเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ วัดและประเมินผล ชั่วโมง บความรคู้ ุณค่าของ ใบความรู้ เรอ่ื งคณุ คา่ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ งคอจากผ้าขาวมา้ การทาหมอนรองคอจาก 30 นาที 1ชว่ั โมง ผเู้ รยี นรว่ มกนั อภปิ ราย ผา้ ขาวมา้ นรู้เกย่ี วกับคณุ คา่ ของ 30 นาที 15 นาที งคอจากผ้าขาวมา้ 30 นาที 15 นาที องค์ความรู้ วามรเู้ กี่ยวกบั วิธกี าร 1. ใบความรู้เรื่องการ คานวณต้นทุนกาไร การคดิ ต้นทุน กาไร 2. ใบงาน ใบความรูใ้ หผ้ ู้เรยี น 1. ใบความรู้เรอ่ื ง ช่องทางการตลาด ผู้เรยี นร่วมกันอภปิ ราย นรู้เกี่ยวกบั ชอ่ งทางการ ด
13 ใบความรู้ ความเปน็ มาของผา้ ขาวม้า ผ้าดา้ ยดิบ ผา้ ขาวม้า ผา้ ขาวม้า มีลักษณะเป็นผ้ารูปสี่เหลีย่ มผนื ผ้า ความกวา้ งประมาณ 2 ศอก ยาวประมาณ 3-4 ศอก เปน็ ผา้ สาหรับผชู้ ายใชน้ งุ่ แบบลาลอง ความกว้างจงึ เทา่ กบั ระยะจากเอวถงึ กลางหนา้ แขง้ ความยาวเท่ากบั ระยะพนั รอบตวั แล้วเหลอื เศษอีกเลก็ น้อย โดยมากทอเปน็ ลายตารางเล็กๆ นิยมใชด้ า้ ยหลายสี อยา่ งไรก็ตาม ผ้าสเี ดยี ว ท่มี ีขนาดเท่ากับผา้ ขาวมา้ ลายตารางหมากรุกแบบน้ี หากนามาใชน้ ุ่งสาหรับผ้ชู าย ก็นิยมเรยี กผ้าขาวม้าเชน่ กัน ผา้ ขาวม้าในประเทศไทยมีชือ่ เรียกแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กบั ท้องถ่นิ ซ่ึงคาว่าผ้าขาวมา้ เปน็ ภาษาทางภาคกลาง ส่วนในภาคอีสานบางแห่งเรยี กว่าผา้ แพร ซง่ึ มักจะไดจ้ ากการทอดว้ ยเคร่ืองทอผ้าท่เี รยี กว่า กี่ และจะทอเปน็ ขนาดยาวประมาณ 20-30 เมตร ต่อการทอแตล่ ะครง้ั แล้วจึงตัดแบ่งออกเป็นผืน ผนื ละ 1 วา หรอื ประมาณ 1 เมตรครึ่ง ดังนน้ั บางท้องถิ่นจึงเรียกวา่ ผา้ แพรวา เรยี กตามความยาวของผ้าแตล่ ะผืน สีและลวดลายของผ้าขาวม้าจะแตกต่างกนั ไปตามความนิยมของท้องถิ่นโดยทางภาคกลาง ผา้ ขาวม้าจะ มีลวดลายเปน็ ตาลายสกอ๊ ต และของภาคอีสานจะเป็นแบบตาเลก็ ๆ ผา้ ดา้ ยดิบ เป็นผ้าทถ่ี ูกทอขน้ึ จากเมด็ ฝ้าย ลินิน รวมไปถึงการใส่โพลีเอสเตอร์ผสมลงไปในปัจจุบัน แต่ผ้าดิบจะไม่ ผ่านกระบวนการการฟอกสีใดๆ ผ้าด้ายดิบท่ีเอามาทาเป็นกระเป๋ามักมีราคาไม่แพงมากแต่สามารถนามาทาได้ หลายแบบ ตดั เย็บได้ตามความต้องการ สามารถยอมสใี ห้เปน็ งานอาร์ท ทาผ้ามัดย้อมและอีกหลากหลายไอเดีย ที่เราจะสรรสร้างข้ึนสามารถเพิม่ มูลคา่ ของผ้าดบิ ให้สงู ข้นึ ได้
14 ใบความรู้ การทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวม้า วัสดอุ ุปกรณ์ 1. ผา้ ขาวม้า 2. ผ้าฝ้ายสีพ้ืน 3. ผ้ากาว 4. ใยสงั เคราะห์ 5. กระดมุ 6. ดา้ ย 7. กระดาษกดรอย 8. กระดาษสนี ้าตาล 9. ชอ็ กขดี ผ้า 10. กรรไกร 11. เข็มหมุด 12. เขม็ เยบ็ ผา้ 13. กรรไกร วธิ ีการทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวม้า 1. วาดแบบตัดกระดาษหมอนรองคอแล้วตัดตามรูป 2. รีดผา้ และอัดผา้ การทง้ั ผา้ พ้ืนและผา้ ขาวมา้ 3. นาแบบตัดกระดาษหมอนรองคอมาวางบนผ้าและทาการลอกลาย 4. ตัดผ้าท่ีลอกจากแบบตดั กระดาษหมอนรองคอเปน็ ขนึ้ เตรียมให้ครบทุกชนิ้ 5. นาผา้ ทเี่ ตรยี มมา วางประกบกันและใช้เข็มหมดุ ยึดไวก้ ่อน 6. ทาการเนาผา้ ตามรอยแบบตดั กระดาษหมอนรองคอ 7. เย็บทุกส่วนตามท่ีเนาไว้และเหลอื ช่องว่างไว้ ประมาณ 5-7 เซนตเิ มตร เพ่ือเอาไว้ยัดใยสงั เคราะห์ 8. ขลิบผ้า ตามสว่ นเว้าโคง้ ตลอดแนว (ระวงั อยา่ ใหโ้ ดนดา้ ยทีเ่ ยบ็ ไว้) 9. พลิกผ้ากลบั ดา้ นออกมา 10. ยัดใยสงั เคราะห์เข้าไปในตัวหมอนและเฉลีย่ สังเคราะห์ให้สม่าเสมอกันและดสู วยงาม 11. เย็บส่วนที่เหลอื ไว้ยดั ใยสังเคราะห์ใหเ้ รียบร้อย 12. นาช้ินส่วนของการตกแต่งมาติดบรเิ วณท่ีตอ้ งการ 13. เลาะดา้ ยเนาออกทุกครัง้ กอ่ น แลว้ กลบั ผ้าออกมา 14. ตรวจความเรียบร้อยของช้ินงาน
15 ใบงาน แบบบันทึกการทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวมา้ ให้ผู้เรียนจดบนั ทกึ ขั้นตอน การทาหมอนรองคอจากผา้ ขาวมา้ ระหวา่ งท่ีวิทยากรบรรยาย วัสดอุ ุปกรณ์ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ขัน้ ตอนการทา ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................. ............. ...................................................................................................................... ........................................................ อืน่ ๆ เพ่มิ เติม ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................
16 ใบความรู้ ประโยชนข์ องหมอนรองคอจากผ้าขาวม้า ประโยชนข์ องผา้ ขาวมา้ 1. ใชใ้ นการนุง่ สาหรบั บรุ ุษ 2. เปน็ ของฝากในเทศกาลต่าง ๆ 3. ใชป้ ระดษิ ฐ์ส่ิงของเครื่องใช้ 4. ใช้ตอ่ ยอดสร้างผลติ ภัณฑ์อื่น ๆ ประโยชน์ของหมอนรองคอจากผา้ ขาวม้า หมอนรองคอจากผ้าขาวม้า ออกแบบมาเพ่ือรองรับสรีระคอ ช่วยให้นอนหลับได้ง่ายดาย ช่วยบรรเทา ความเมื่อยล้า ช่วยรองรับศีรษะให้อยู่ตรง ลดอาการปวดเม่ือยจากการนอน ป้องกันและลดอาการปวดคอ เม่ือยล้าบริเวณหลังส่วนบน อีกท้ังยังสามารถนามาเป็นของฝาก ของที่ระลึก และมอบเป็นของขวัญได้ ในทุกเทศกาล
17 ใบความรู้ การคดิ ตน้ ทนุ กาไร ผเู้ รียน/กลุ่ม.................................................................................................................................................. เรื่อง................................................................................................... ........................................................... วัน เดอื น ปี รายการ จานวนสง่ิ ของ จานวนเงิน (บาท) หมายเหตุ การกาหนดราคาขาย ค่าใชจ้ ่าย (ต้นทุน) - ผา้ ขาวม้า 1 ผนื 150 บาท คดิ จากตน้ ทนุ + - ใยสงั เคราะห์ 1 กิโลกรมั 110 บาท กาไรที่ต้องการ - ผา้ กาว 1 เมตร 40 บาท - กระดุมแม่เหลก็ 3 คู่ 45 บาท - ดา้ ย 1 มว้ น 15 บาท - กระดาษกดรอย 1 แพค็ 80 บาท - กรรไกรสาหรบั ตัดผ้า 1 อัน 75 บาท - ช็อกขดี ผ้า 1 กล่อง 70 บาท - เข็มหมดุ 1 หอ่ 10 บาท - เขม็ เยบ็ ผา้ 1 เลม่ 5 บาท รวมคา่ ใชจ้ า่ ย 600 รวมรายได้ 900 กาไร 300 บาท ** สามารถทาหมอนรองคอได้ 3 ชิน้ ** การกาหนดราคาขายตอ่ หน่วย ดงั น้ี 1. กาหนดกาไรทต่ี ้องการได้จาก กาไร ÷ ตน้ ทนุ X 100 = % ตวั อยา่ ง เชน่ ต้นทุน 600 ตอ้ งการกาไร 50% ดงั น้ัน กาไรที่ตอ้ งการ = 300 ÷ 600 X 100 = 50% 2. การกาหนดราคาขายต่อหน่วย ได้มาจากตน้ ทนุ + กาไร หารดว้ ยจานวนหน่วย ตวั อย่าง ทากระเป๋าได้ 3 ชนิ้ จากตน้ ทุน 600 บาท และกาไรทตี่ ้องการ 300 บาท ฉะนน้ั ราคาขายต่อชิน้ = ต้นทุน 600 + กาไร 300 ÷ 3 ชน้ิ = 300 บาท หมายเหตุ การกาหนดกาไรทต่ี ้องการขึ้นอยู่กบั สิง่ เหลา่ นี้ด้วย เชน่ ราคาตลาด ลักษณะของสินค้าและบริการ เป็นสินค้าหายาก เป็นสนิ ค้าเฉพาะกลุม่ หรอื มฤี ดูกาลเขา้ มาเกีย่ วขอ้ งก็สามารถทจี่ ะกาหนดกาไรทีต่ อ้ งการสูงได้ การต้งั ราคาใหส้ ามารถแขง่ ขันไดน้ ้นั ตอ้ งอย่บู นพืน้ ฐานความสมดุลระหว่างความพงึ พอใจของผซู้ ้ือและผู้ขายด้วย ถา้ สนิ ค้าโดยท่ัวไปมขี ายกันแพร่หลาย มคี แู่ ข่งมากก็ต้องกาหนดกาไรน้อยลงไป
18 ใบงาน การคดิ ตน้ ทนุ กาไร ผเู้ รยี น/กลุ่ม.................................................................................................................................................. เรื่อง................................................................................................... ........................................................... วัน เดือน ปี รายการ จานวนส่ิงของ จานวนเงิน หมายเหตุ (บาท) ค่าใชจ้ า่ ย (ต้นทุน) 1. ใหก้ าหนดกาไรที่ .................................................. ตอ้ งการเปน็ รอ้ ยละก่อน .................................................. 2. แลว้ คานวณหาราคาต่อ .................................................. หน่วยจึงจะทราบรายได้ .................................................. 3. นารายไดท้ ่ีได้มาใส่ .................................................. ตารางนี้ .................................................. .................................................. รวมคา่ ใช้จา่ ย รายได้จากการขาย .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. รวมรายได้ 1. กาไรท่ีต้องการ = ต้นทนุ x (รอ้ ยละของกาไรท่ตี ้องการหารด้วย100) 2. กาหนดราคาขายตอ่ หนว่ ย = ต้นทุน + กาไร = ____________จานวนหน่วย
19 ใบความรู้ ชอ่ งทางการตลาด การจดั จาหน่าย (Distribution) การจัดจาหน่าย หมายถึง โครงสรา้ งของช่องทางทใ่ี ช้เพอ่ื เคลอื่ นยา้ ยสินคา้ จากธรุ กิจไปยัง ตลาด ตวั กลางทางการตลาดเปน็ ธรุ กจิ ท่ชี ว่ ยเสรมิ ชว่ ยขายและจาหนา่ ยสนิ ค้าไปยังผซู้ ้ือขั้นสดุ ทา้ ย ประกอบดว้ ย 1. คนกลาง (Middleman) - พ่อคา้ คนกลาง (Merchant Middlemen) - ตวั แทนคนกลาง (Agent Middlemen) 2. ธุรกิจทีท่ าหน้าท่กี ระจายสินคา้ 3. ธุรกิจทใี่ ห้บริการทางการตลาด 4. สถาบนั การเงิน ความหมายของช่องทางการจัดจาหนา่ ย ชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย (Channel of Distribution) หมายถึง “กระบวนการในการจดั การ เกี่ยวกบั การเคล่ือนยา้ ย สิทธิในตัวผลิตภณั ฑ์ (และอาจรวมถงึ ตัวผลติ ภัณฑ)์ จากผู้ผลิตไปจนถึง ผบู้ ริโภค จานวนระดับของช่องทางการจดั จาหนา่ ย จานวนระดบั ชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย หมายถงึ จานวนระดับคนกลางภายในเสน้ ทางท่ี ผลติ ภณั ฑ์และ/หรอื กรรมสิทธิ์ในผลติ ภัณฑ์เคลอื่ นย้ายจากผูผ้ ลิตไปยงั ตลาด มีดว้ ยกัน 2 ประเภทคือ 1. ช่องทางการจดั จาหน่ายทางตรง ช่องทางการจดั จาหนา่ ยทางตรง หมายถึง การขายผลติ ภัณฑจ์ ากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค หรือผใู้ ช้ทาง อตุ สาหกรรมโดยไม่มีคนกลาง หรือช่องทางศูนยร์ ะดบั ผูผ้ ลิต > ผู้บรโิ ภค ผผู้ ลติ > ผใู้ ชท้ างอตุ สาหกรรม 2. ชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ยทางออ้ ม ช่องทางการจัดจาหนา่ ยทางอ้อม หมายถงึ เสน้ ทางทส่ี นิ ค้าเคลื่อนย้ายจากผู้ผลติ โดยต้องผา่ น คนกลางไปยงั ผบู้ ริโภค ช่องทางการจดั จาหนา่ ยหนึง่ ระดับ ผู้ผลิต > ผูค้ า้ ปลีก > ผบู้ รโิ ภค ช่องทางการจดั จาหนา่ ยสองระดับ ผูผ้ ลติ > ผู้ค้าสง่ > ผคู้ า้ ปลกี > ผู้บริโภค ชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ยสามระดับ ผ้ผู ลติ > ตัวแทน > ผู้ค้าสง่ > ผู้คา้ ปลีก > ผูบ้ ริโภค
20 ช่องทางการจดั จาหน่ายทางตรง ช่องทางการจัดจาหนา่ ยทางอ้อม ขอ้ ดี ข้อดี 1.ทราบความต้องการลูกค้าได้ดี 1.สินค้ากระจายได้อย่างกว้างขวาง 2. สนิ ค้าถงึ มือผบู้ ริโภคอยา่ งรวดเร็ว 2. มีผู้มาช่วยรบั ความเส่ียงในการถือครองสนิ ค้า 3.ขายสนิ คา้ ได้ในราคาถกู 3.ประหยดั เวลาและค่าใช้จ่าย ข้อเสยี ขอ้ เสีย 1.กระจายสนิ ค้าไม่ทว่ั ถงึ 1.ทราบข้อมูลทางการตลาดเกีย่ วกับผู้บริโภคน้อย 2.เสยี คา่ ใช้จา่ ยในการขนสง่ 2. ราคาสินคา้ จะสงู 3. ผ้ผู ลติ จะต้องรบั ภาระเกีย่ วกบั สินคา้ คงเหลือ ประเภทของตวั กลางทางการตลาด ตวั กลางทางการตลาด (Marketing Intermediaries) หมายถึง บุคคล กล่มุ บคุ คลหรอื องค์กร ทา หนา้ ทีช่ ่วยเหลือและสนบั สนุนในกระบวนการย้ายสนิ คา้ และสิทธใิ นตวั สนิ คา้ จากผผู้ ลติ มายงั ผบู้ รโิ ภค โดย ตัวกลางประกอบด้วย
21 แบบวดั และประเมนิ ผลการทาหมอนรองคอจากผ้าขาวมา้ ประเด็นทเ่ี กีย่ วข้อง 1. ความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาสาระ 1.1 ทดสอบความรู้ความเข้าใจ 1.2 สอบถามความรู้ความเข้าใจ 2. ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ 2.1 สงั เกตการณป์ ฏบิ ตั ใิ นระหว่างการเรียนรู้การจดั กิจกรรม 2.2 ประเมนิ โดยใหส้ าธิต 2.3 แสดงข้ันตอนวธิ ีการปฏิบัติ 2.4 ประเมินจากกระบวนการมีส่วนรว่ ม (ร่วมคดิ รว่ มทา รว่ มแก้ปญั หา) 3. คุณภาพของผลงาน ผลการปฏบิ ตั ิ 3.1 สังเกตผลงาน 3.2 ตรวจสอบผลงาน 3.3 มคี วามคิดสร้างสรรค์ 3.4 ผลการปฏิบัตวิ า่ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดหรือไม่
22 แบบประเมินผลงานผเู้ รยี น ชือ่ - นามสกลุ ..................................................................................………………............…. หลักสตู ร ......................................................... กลมุ่ ……………….………………...................... คาชี้แจง : ให้วิทยากรประเมนิ ผลงานของผู้เรยี นตามหัวขอ้ ที่กาหนดให้ ประเดน็ ที่ประเมิน คะแนนประเมิน (10 คะแนน) 1. ความรู้ความเขา้ ใจในเนื้อหาสาระ (20 คะแนน) 1.1 ทดสอบความรู้ความเขา้ ใจ 1.2 สอบถามความรคู้ วามเข้าใจ 2. ทักษะการปฏิบัติ (40 คะแนน) 2.1 สงั เกตการณป์ ฏิบตั ใิ นระหวา่ งการเรียนรกู้ ารจดั กิจกรรม 2.2 ประเมินโดยใหส้ าธิต 2.3 แสดงขัน้ ตอนวิธกี ารปฏบิ ตั ิ 2.4 ประเมนิ จากกระบวนการมสี ่วนรว่ ม (ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแกป้ ญั หา) 3. คณุ ภาพของผลงาน ผลการปฏิบตั ิ (40 คะแนน) 3.1 สังเกตผลงาน 3.2 ตรวจสอบผลงาน 3.3 มีความคดิ สรา้ งสรรค์ 3.4 ผลการปฏบิ ตั ิว่าเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดหรือไม่ รวมคะแนน (100 คะแนน) หมายเหตุ การประเมนิ ผลการจบหลกั สูตรอาจดาเนินการได้ ดังนี้ - การประเมนิ ระหวา่ งเรียน และเม่อื จบหลักสูตร - ประเมินครั้งเดยี วก่อนจบหลกั สูตร ท้ังนี้ เกณฑ์การจบหลกั สูตร จะตอ้ งไดค้ ะแนนรวมไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 จงึ จะผา่ นเกณฑ์การ ประเมิน ลงชือ่ วิทยากร ()
23 บรรณานุกรม http://th.ml-thread.com/news/the-types-of-sewing-threads-and-their-use-skil-15474447.html https://www.baanlaesuan.com/63086/diy/typeofthread https://bestreview.asia/best-body-measure-tapes/ https://www.nanosoft.co.th/tips-business/94.php
24 คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา นอ้ ยจนั ทร์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอชนแดน 1. นายสมประสงค์ เดตะอดุ ครู 2. นายเกรียงฤทธิ์ จันทะวงษ์ ครูผชู้ ว่ ย 3. นางสาวภทั รธดิ า ชบู ัว บรรณารักษ์ชานาญการ 4. นางวารี จรรยารักษ์ ประธานกรรมการสถานศึกษา 5. นายประสาน มาเนตร์ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน คณะทางาน สิทธิกรวยแก้ว ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 1. นางสมบัติ จันทะไพร ครู กศน.ตาบล 2. นางสาวลาวัณย์ สุทธพิ ันธ์ ครู กศน.ตาบล 3. นางสุรัตน์ นอ้ ยจนั ทร์ ครู กศน.ตาบล 4. นางสาวลดาวรรณ์ ภยู าธร ครู กศน.ตาบล 5. นางสาววรางคณา นริศชาติ ครู กศน.ตาบล 6. นางสาวมุจลนิ ท์ มะหิทธิ ครู กศน.ตาบล 7. นางสาวพัชราภรณ์ สีเหลือง ครู กศน.ตาบล 8. นางผกาพรรณ ทาแนน่ ครู กศน.ตาบล 9. นางลาวนิ สขุ มา ครู กศน.ตาบล 10. นางสาวณฐั ชา โสดา นักจัดการงานท่วั ไป 11. นายปัณณวัฒน์ จนั ปัญญา ครปู ระจาศูนย์การเรียนชมุ ชน 12. นางสาวเยาวดี ย่ิงสุก ครปู ระจาศูนย์การเรียนชุมชน 13. นางสาวกญั ญาณฐั 14. นางสาวอุษา รวบรวมข้อมลู และจดั ทารูปเลม่ ครู กศน.ตาบล นางสาววรางคณา นอ้ ยจนั ทร์
25
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: