1 ช่ือผลงานวจิ ยั “การแกป้ ัญหาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนต่าในการแกส้ มการกาลงั สองในรายวชิ า คณิตศาสตร์ ดว้ ยจิ๊กซอสมการของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 โรงเรียนราช ช่ือผู้วิจยั ประชานุเคราะห์ 31” ตาแหน่ง นายทนิ กร กนั ธิยะ วฒุ กิ ารศึกษา พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จบการศึกษาระดบั ปริญญาตรี วชิ าเอกคณิตศาสตร์ สถานศึกษาทต่ี ิดต่อ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เชียงใหม่ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 โทรศพั ท์ 090-4697433 ปี ทที่ าวิจัยเสร็จ E – mail [email protected] ประเภทงานวิจยั ปี การศกึ ษา 2561 วจิ ยั ช้นั เรียน บทคดั ย่อ การวจิ ยั คร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์ 3 ประการ ประการแรก เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของจิ๊กซอ สมการ ประการท่ีสองเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังการใช้จ๊ิกซอสมการของ นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปี ท่ี 4 และประการที่สามเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนกั เรียนท่ีมีต่อการใชจ้ ิ๊กซอ สมการ กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการวิจยั ในคร้ังน้ีคือนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 หอ้ ง 1 จานวน 18 คน จาก ประชากรท้งั หมดของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 4 ตาบลช่างเคง่ิ อาเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561 จานวน 18 คน เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศึกษาประกอบดว้ ย (1) จ๊ิกซอสมการท่ีผวู้ จิ ยั สร้าง ข้นึ เน้ือหาประกอบไปดว้ ยเร่ือง การแกส้ มการกาลงั สอง (2) แบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเร่ือง การแก้ สมการกาลงั สอง แบบเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 10 ขอ้ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนต่อ การเรียนดว้ ยจิก๊ ซอสมการใชก้ ารวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแลว้ ทาการ ทดสอบค่าที (t test) และการหาประสิทธิภาพของเคร่ืองมือ E1: E2
2 ผลการวจิ ัยพบว่า 1. จิ๊กซอสมการมีประสิทธิภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน E1: E2 = 80:80 โดยมีค่าเบี่ยงเบนได้ 5% เม่ือ E1 เป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80 ของคะแนนจากแบบฝึ กทกั ษะระหวา่ งเรียน E2เป็ นคะแนนเฉล่ียร้อยละ 80 ของคะแนนจากแบบทดสอบหลงั เรียนโดยมีค่าประสิทธิภาพของจิ๊กซอสมการเท่ากบั 81.18/89.03ซ่ึง เป็นไปตามเกณฑท์ ่ีต้งั ไว้ 2. คะแนนผลสมั ฤทธ์ิของความสามารถในกระบวนการคิดทกั ษะของนักเรียนที่เรียนดว้ ยจ๊ิกซอ สมการเรื่อง การแกอ้ สมการกาลงั สอง มีความแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .01 ระหว่าง คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลงั เรียน ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานท่ตี ้งั ไว้ 3. ความคิดเห็นของนกั เรียนต่อการเรียนเร่ือง การแกส้ มการกาลงั สองโดยการใชจ้ ิ๊กซอสมการ พบวา่ โดยภาพรวมแลว้ นกั เรียนมีความคดิ เห็นอยใู่ นระดบั มาก ความเป็ นมาและความสาคญั ของปัญหา คณิตศาสตร์เป็ นวิชาที่มีความผูกพนั กับมนุษยท์ ุกคน เพราะในชีวิตประจาวนั ของคนเราย่อม เกี่ยวขอ้ งกบั จานวน ตวั เลข และหลกั การทางคณิตศาสตร์อยเู่ สมอ กระบวนการและเหตุผลฝึกใหค้ นคิดอยา่ ง มีระบบและเป็นรากฐานของวทิ ยาการหลายสาขา วชิ าคณิตศาสตร์เป็ นวชิ าพ้นื ฐานในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ อนั จะนาไปสู่ความเจริญกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ เศรษฐกิจและสงั คม ลว้ นแต่ อาศยั คณิตศาสตร์ท้งั ส้ิน (ยุพิน พิพิธกุล, 2523,หน้า 1) เพราะสิ่งที่จะช่วยพฒั นาคนเพ่ือการดาเนิน ชีวติ ประจาวนั ในสงั คมใหม้ ีระบบระเบยี บและมีประสิทธิภาพไดน้ ้นั ตอ้ งอาศยั กระบวนการคิดอยา่ งมีเหตุผล แสดงความคิดออกมาอย่างมีระเบียบชัดเจน รัดกุมรู้คุณค่าของคณิตศาสตร์และมีเจตคติท่ีดีต่อวิชา คณิตศาสตร์ใชค้ วามรูค้ วามสามารถในการแกป้ ัญหาท่ีมีประสิทธิภาพ ดงั น้ันวิชาคณิตศาสตร์จึงไดถ้ ูกบรรจุ ไวใ้ นหลกั สูตรเป็ นวิชาท่ีทุกคนตอ้ งเรียนทุกระดับต้งั แต่การศึกษาปฐมวยั จนถึงระดบั อุดมศึกษาเพื่อเป็ น เครื่องมือนาไปสู่การเรียนรู้และสร้างจิตใจผูเ้ รียนโดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณลกั ษณะ ดงั น้ี (กรมวชิ าการ, 2534, หนา้ 18) วิชาคณิตศาสตร์ส่วนมาก เป็ นนามธรรม การเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์จึงมีปัญหาทุกระดับ การท่จี ะทาใหน้ กั เรียนเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ไดด้ ี หรือนาไปสู่ความสาเร็จน้นั จะตอ้ งอาศยั เทคนิคหลาย ๆ อยา่ ง นักเรียนบางคนอาจเรียนรู้ได้เร็ว หรือชา้ ข้ึนอยู่กับความถนัดและพ้ืนฐานของนักเรียน แต่การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของครูส่วนมากมกั ใชว้ ธิ ีเดียวกนั ท้งั หอ้ ง ซ่ึงทาใหน้ ักเรียนส่วนมากเรียนรู้สาระ วชิ าคณิตศาสตร์ไม่สาเร็จ เป็ นผลทาใหพ้ ้ืนฐานในระดบั ตน้ ๆ กระทบกบั การเรียนรู้ในระดบั สูงข้ึนต่อไป
3 การจดั ทาโครงการพฒั นาคะแนนของนักเรียนที่ไม่ถนัดวิชาคณิตศาสตร์ดว้ ยจิ๊กซอสมการน้ี จะสามารถ พฒั นาความคิดและใหเ้ ขา้ ใจความคิดรวบยอดของสาระวิชาคณิตศาสตร์ส่งผลใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนดี ข้ึน จะเป็ นไปตามกระทรวงศึกษาธิการ ( 2520 : 35) รายงานความสนใจของรสนิยมในการอ่านของเด็ก เยาวชนวา่ จิ๊กซอสมการ เป็ นส่ิงท่นี กั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาชอบเล่นถึงร้อยละ 94.91 และยงั มีนกั วชิ าการหลาย ท่านไดศ้ ึกษาเรื่องดงั กล่าวไวห้ ลายท่าน ดงั น้ัน จิ๊กซอสมการสาระคณิตศาสตร์ จะสามารถช่วยให้นักเรียน สาระวชิ าคณิตศาสตร์ ใหส้ ามารถเรียนรู้ไดด้ ีข้ึน และสามารถบรู ณาการ เร่ือง เกมส์ ศลิ ปะไดอ้ ีกดว้ ย จากในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ของภาคเรียนที่ 2 ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4ในเน้ือหา เร่ือง สมการ ซ่ึงประกอบดว้ ยเน้ือหา การแกส้ มการกาลงั สองและโจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั การแกส้ มการกาลงั สองหลังจากเรียนจบบทเรียนไปแล้วผูว้ ิจยั ได้ให้นักเรียนทาแบบทดสอบทา้ ยบทเรียน และเม่ือตรวจ แบบฝึ กหัด จึงพบว่า ยงั มีนักเรียนส่วนหน่ึง ซ่ึงยงั ขาดความเขา้ ใจ และแกโ้ จทยป์ ัญหาในแบบฝึ กหัดไม่ ถูกตอ้ ง เฉพาะการแก้สมการกาลังสองนักเรียนที่พบวา่ มีปัญหา ในเรื่องน้ี ท่ีพอจะทราบขอ้ มูลมีจานวน ท้งั หมด 11 คนจาเป็นที่ตอ้ งแกไ้ ขเพราะหากไม่ไดร้ ับการแกไ้ ขนกั เรียนจะไม่สามารถเขา้ ใจและเรียนเน้ือหา ในบทถดั ไปได้ และการสงั เกตของผวู้ จิ ยั พบวา่ นกั เรียนมธั ยมศึกษามีความชอบและมีเจตคติท่ีดีกบั เกมส์เป็ น ส่วนใหญ่ จากเหตุผลท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ ผูว้ ิจยั จึงเกิดแนวคิดท่ีจะพฒั นาผลสัมฤทธ์ิ ของนักเรียนท่ีมีปัญหา ทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์เร่ือง สมการกาลงั สอง ดว้ ยบทเรียนที่เป็ นจ๊ิกซอสมการเพ่ือใชใ้ นการสอน นกั เรียนเรื่อง การแกส้ มการกาลงั สอง ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 4 แทนการสอนดว้ ยวธิ ีปกติ วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1. เพอ่ื สร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนดว้ ยจ๊กิ ซอสมการสาระคณิตศาสตร์ เร่ือง การแกส้ มการกาลงั นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 2. เพอ่ื เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสาระคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการกาลงั สอง ก่อนและหลงั การใชจ้ กิ๊ ซอสมการ 3. เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ท่ีมี ต่อจกิ๊ ซอสมการ เร่ือง การแกส้ มการกาลงั สอง
4 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย 1. ขอบเขตของเนื้อหา เน้ือหาท่ีใชศ้ กึ ษา เป็ นเน้ือหาของสาระวชิ าคณิตศาสตร์ เร่ือง สมการกาลงั สอง 2. ระยะเวลา ระยะเวลาท่ใี ชศ้ ึกษา คือภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2561 3. ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง 3.1 ประชากร นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 หอ้ ง 1 จานวน 18 คน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่ แจ่ม จงั หวดั เชียงใหม่ เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561 3.2 กลุ่มตวั อยา่ ง นกั เรียนที่ใชใ้ นการวจิ ยั คร้งั น้ี เป็นนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 หอ้ ง 1 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 ปี การศึกษา 2561 จานวน 18 คน ไดม้ าโดยการเจาะจงจากนกั เรียนทีม่ ีปัญหาเกี่ยวกบั การแก้ สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว 4. ตวั แปร 4.1 ตวั แปรตน้ คอื 4.1.1 การสอนท่ใี ชจ้ ิก๊ ซอสมการ ประกอบการสอน 4.2 ตวั แปรตาม 4.2.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง การแกส้ มการกาลงั สอง 4.2.2 ความคดิ เห็นของนกั เรียน สมมติฐานของการวจิ ัย ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง การแกส้ มการกาลงั สอง หลงั การสอนดว้ ยจิ๊กซอสมการสูงกวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนการเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ .01
5 นิยามศัพท์ 1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถของนกั เรียนทีไ่ ดค้ ะแนนจากการทาแบบทดสอบ วดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง การแกส้ มการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว แนวคดิ / ทฤษฎี อรุณี จนั ทร์ศิลา (2536 : 8) ไดส้ รุปความสาคญั ทางคณิตศาสตร์ไวว้ า่ คณิตศาสตร์เป็น วชิ าทสี่ าคญั ยงิ่ เป็ นเร่ืองการเรียนรูก้ ลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ ในอนั ท่ีจะดารงชีวติ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมี ความสุข ซ่ึงจาเป็นตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาใหถ้ ูกตอ้ งเสียต้งั แตร่ ะดบั ข้นั พน้ื ฐาน การจดั การเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใชเ้ ทคนิคจ๊กิ ซอ หมายถึง กระบวนการจดั การเรียนรูท้ ี่ให้ นกั เรียนๆเป็นกลุ่มจานวน 4-5 คนโดยประมาณ สมาชิกในกลุ่มแลกความคดิ เห็น ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั และรับผดิ ชอบการเรียนของเพอื่ นในกลุ่มเดียวกนั โดยมีข้นั ตอนดงั น้ี 1.1. ข้นั เตรียม 1.1.1. ครูแนะนาทกั ษะในการเรียนรู้ร่วมกนั ระเบียบของกลุ่ม บทบาทและหนา้ ท่ีของ สมาชิกกลุ่ม แจง้ วตั ถุประสงคข์ องบทเรียน และการทากิจกรรมร่วมกนั 1.1.2. จกั กลุ่มนกั เรียนเป็นกลุ่มยอ่ ยๆ โดยคละความสามารถทางการเรียน ซ่ึงพจิ ารณา จากผลการเรียนเฉลี่ย 1.2. ข้นั สอน ครูนาเขา้ สู่บทเรียน แนะนาเน้ือหา แนะนาแหล่ขอ้ มูล และมอบหมายใบงาน ใหน้ กั เรียนแต่ ละกลมุ่ และอธิบายข้นั ตอนการทางาน 1.3. ข้นั ทากิจกรรมกลุ่ม 1.3.1. แต่ละคนจะมีบทบาทหนา้ ทีต่ ามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย เรียกสมาชิกวา่ กลุ่มบา้ น 1.3.2. ทางานและศึกษาร่วมกนั เรียกวา่ กลุ่มผเู้ ชี่ยวชาญ 1.3.3. นกั เรียนในกลุ่มร่วมกนั อภปิ ราย 1.4. ข้นั สรุป นกั เรียนทกุ คนช่วยกนั สรุปความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมโนทศั น์ต่างๆ
6 งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง เกษม จงสูงเนิน ( 2549 : 68 ) ศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ ของนกั เรียนท่ีเรียน ดว้ ยการใช้ กบั ไม่ใชจ้ ๊กิ ซอ ประกอบการเรียน ในการสอนตามคูม่ ือครู สสวท. พบวา่ นกั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิ ทางกานเรียนแตกต่างกนั โดยแบบใชจ้ ๊ิกซอ คะแนนเฉลี่ยสูงกวา่ จากผลการวจิ ยั ของนกั เรียนท้งั ใน และ ตา่ งประเทศ พบวา่ การนาจิ๊กซอมาใชป้ ระกอบการเรียนการสอน จะมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวา่ แบบ ธรรมดา แตง่ านวจิ ยั บางฉบบั พบวา่ ไม่แตกตา่ งกนั มนตรี แยมกสิกร (2548 : 56-165) เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนดา้ นพทุ ธิพสิ ยั ในวชิ าสุข ศกึ ษา ของนกั เรียน ป.4 ท่ีเรียนจากแบบเรียนสาเร็จรูปจกิ๊ ซอ แบบเรียนสาเร็จรูปเชิงเสน้ ธรรมดา ทดลองกบั นกั เรียน 135 คน ปรากฏวา่ แบบแรกมีปริมาณการเรียนรู้ พฤตกิ รรมดา้ นความรู้ความจา ความเขา้ ใจ สูงกวา่ สุนทร เชยช่ืน ( 2547 : 144) ทดลองกบั นกั เรียน 60 คน โดยใชจ้ ิก๊ ซอ กบั กลุ่มควบคุม ผลปรากฏวา่ กลุ่มนกั เรียนท่เี รียนโดยใชจ้ ก๊ิ ซอประกอบการเรียน มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวา่ กลุ่มท่ีไม่ไดใ้ ชจ้ ิ๊กซอ ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง ประชากร นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชียงใหม่ ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2561 จานวน 18 คน กลุ่มตัวอย่าง นกั ศกึ ษาท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั คร้ังน้ี เป็ นนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 หอ้ ง 1โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 ปี การศึกษา 2561 จานวน 18 คน ท่ีมปี ัญหาเก่ียวกบั การแกส้ มการกาลงั สอง ตัวแปรต้นตวั แปรตาม ตวั แปรต้น การสอนที่ใชจ้ ิ๊กซอสมการ ตวั แปรตาม ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
7 เครื่องมือทีใ่ ช้เก็บข้อมูล การรวบรวมขอ้ มูล อาศยั เคร่ืองมือ ดงั น้ี 1. จิ๊ฏซอสมการท่มี ีแบบฝึกทกั ษะแทรกในบทเรียน ผศู้ ึกษาผลิตข้นึ เอง และใหผ้ เู้ ช่ียวชาญ ตรวจสอบ 2. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระหวา่ งก่อนและหลงั การใชจ้ ิ๊กซอเรื่องการแกส้ มการ กาลงั สองดว้ ยจ๊กิ ซอสมการของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จานวน10 ขอ้ 3.แบบสอบถามความคิดเห็นของนกั เรียนตอ่ การเรียน เร่ือง เรื่องการแกส้ มการกาลงั สอง ดว้ ย บทเรียนจกิ๊ ซอจานวน 1 ชุด 4.แผนการเรียนรู้สาระคณิตศาสตร์ สาระที่ 1: พชี คณิต การเรียนรู้สาระคณิตศาสตร์ เร่ือง การแก้ สมการกาลงั สอง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวจิ ยั คร้งั น้ีผูว้ จิ ยั ดาเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตนเองดงั น้ี 1. ติดตอ่ ประสานงานกบั ฝ่ายวชิ าการของโรงเรียนที่จะดาเนินการเกบ็ รวมรวมขอ้ มูลระหวา่ ง วนั ท่ี 4 มกราคม 2562 ถึงวนั ที่ 29 มกราคม 2562 รวมเวลา 4 สปั ดาห์ 2. ผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนินการดงั รายละเอียดต่อไปน้ี 2.1 นกั เรียนกลุ่มตวั อยา่ งทาแบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนดว้ ยบทเรียนจก๊ิ ซอ สมการ เรื่องการแกส้ มการกาลงั สอง ใชเ้ วลา 1 ชวั่ โมง 2.2 ผวู้ จิ ยั ดาเนินการทากิจกรรมตามบทเรียนจก๊ิ ซอท่ีเนน้ ดา้ นการพฒั นาความเขา้ ใจใน เร่ือง การแกส้ มการกาลงั สองมากข้ึน โดยการใชบ้ ทเรียนจก๊ิ ซอ จานวน 1 เล่มต่อนกั เรียน 1 คน 2 สปั ดาห์ ใน ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2561 และใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกทกั ษะในบทเรียนน้นั ซ่ึงเป็นแบบฝึ กระหวา่ ง เรียน 2.3 นกั เรียนกลุ่มตวั อยา่ งทาแบบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนหลงั เรียน เรื่องการแกส้ มการ กาลงั สอง ใชเ้ วลา 30 นาที 2.4 ผวู้ จิ ยั นาแบบสอบถามความคดิ เห็นของนกั เรียนทมี่ ีตอ่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การแกส้ มการกาลงั สอง โดยการใชแ้ บบสอบถามความคิดเห็น ไปใหน้ กั เรียนกลุ่มตวั อยา่ งตอบ แบบสอบถาม หลงั จากเสร็จส้ินการศึกษาจ๊ิกซอสมการแลว้
8 2.5 ผวู้ จิ ยั เกบ็ รวมรวมแบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ และแบบสอบถามเพอื่ นาไปวเิ คราะหข์ อ้ มูลโดย ขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากแบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ นามาวเิ คราะห์หาค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบคา่ ที (t test ) ส่วนขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากแบบสอบถามจะนามาวเิ คราะห์เป็ นค่าเฉลี่ย และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานและ หาประสิทธิภาพของจกิ๊ ซอสมการท8ี่ 0/80 ในการทดลองใชก้ ารเกบ็ ขอ้ มูล แบบ O1 O2 เป็ นรูปแบบการ จดั กระทากบั กล่มุ ทดลองกลุ่มเดียวโดยไม่มีกลมุ่ ควบคุมแต่ไม่มีการจดั สมาชิกเขา้ กลุ่มโดยการสุ่ม (Randomly assignment) ในการทดลองใชแ้ บบ The one-group pretest – posttest design เป็นการทดสอบ 2 คร้ัง O1 O2 เม่ือ O1 เป็ น Pretest O2 เป็ น Posttest X เป็น Treatment ตวั แปรจดั กระทา (แบบฝึกจิ๊กซอสมการ) โดยใชร้ ะยะเวลา การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 2 สปั ดาห์ สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวิจัย ในการวจิ ยั คร้ังน้ีผวู้ จิ ยั ใชส้ ถิติในการวจิ ยั ดงั ต่อไปน้ี 1. ค่ารอ้ ยละ จานวนนกั ศกึ ษา 100 จานวนนกั ศึกษาท้งั หมด 2. ค่าเฉล่ียเลขคณิต x x N 3. ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน S.D. x x N 4. ทดสอบคา่ ที (t test )
9 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 แสดงการหาประสิทธิภาพของจิก๊ ซอสมการซ่ึงจะมีแบบฝึกทกั ษะแทรกในเน้ือหาเร่ือง การแกส้ มการกาลงั สองการหาประสิทธิภาพของเคร่ืองมือที่ 80/80 ชื่อ-สกุล คะแนนทดสอบ (ชุดฝึ ก/คะแนนเตม็ ) รวม คะแนนทดสอบ นกั เรียนคนท่ี 1 ชุดที่ 1 ชุดท่ี 2 ชุดที่ 3 30 คะแนน หลงั เรียน 15 10 10 10 (E1) คะแนน 789 24 (E2) 12 นกั เรียนคนท่ี 2 8 8 8 24 13 นกั เรียนคนท่ี 3 7 7 8 22 13 นกั เรียนคนที่ 4 7 8 8 23 14 นกั เรียนคนท่ี 5 7 8 8 23 12 นกั เรียนคนท่ี 6 8 8 8 24 14 นกั เรียนคนท่ี 7 7 8 8 23 13 นกั เรียนคนท่ี 8 7 9 8 24 14 นกั เรียนคนท่ี 9 7 9 8 24 13 นกั เรียนคนที่ 10 7 8 8 23 14 นกั เรียนคนที่ 11 7 9 8 24 13 นกั เรียนคนที่ 12 8 8 9 25 13 นกั เรียนคนที่ 13 7 7 9 23 13 นกั เรียนคนท่ี 14 7 8 9 24 14 นกั เรียนคนท่ี 15 8 8 9 25 14 นกั เรียนคนท่ี 16 8 8 9 25 13 นกั เรียนคนท่ี 17 10 9 10 29 15 นกั เรียนคนท่ี 18 8 8 8 24 13 รวม 433 240 จากตาราง สามารถคานวณหาคา่ E1 / E2 ไดด้ งั น้ี E1= 433 100 80.19% E2= 240 100 88.89% 540 270 ดงั น้ัน บทเรียนจิก๊ ซอมีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.19/88.89 จากตาราง ประสิทธิภาพของการเรียนดว้ ยจก๊ิ ซอสมการ เรื่อง การแกส้ มการกาลงั สอง ของเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 มีประสิทธิภาพ E1 / E2 = 80.19 / 88.89 สูงกวา่ เกณฑท์ ี่กาหนดไว้ 80 / 80
10 ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนดว้ ยจ๊กิ ซอสมการ เร่ืองการแกส้ มการกาลงั สอง ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 4 ก่อนและหลงั เรียนโดยแบบทดสอบเรื่องแกส้ มการกาลงั สอ จานวน 10 ขอ้ ตาราง แสดงผลการเปรียบเทียบคะแนนสอบก่อนเรียน และหลังเรียน บทเรียนจ๊ิกซอสมการเร่ือง การแก้สมการกาลงั สอง ชื่อ - สกุล คะแนนสอบก่อน คะแนนสอบหลงั ผลต่างของ ผลต่างของ เรียน เรียน คะแนนสอบ คะแนนสอบก่อน นกั เรียนคนท่ี 1 ก่อนเรียนและ เรียนและหลงั นกั เรียนคนที่ 2 10 คะแนน 10 คะแนน หลงั เรียน (D) นกั เรียนคนท่ี 3 เรียน( D 2 ) นกั เรียนคนที่ 4 4 7 -3 9 นกั เรียนคนที่ 5 3 7 -4 16 นกั เรียนคนที่ 6 4 7 -3 9 นกั เรียนคนที่ 7 4 7 -3 9 นกั เรียนคนท่ี 8 4 7 -3 9 นกั เรียนคนที่ 9 5 8 -3 9 นกั เรียนคนที่ 10 5 8 -3 9 นกั เรียนคนที่ 11 3 7 -4 16 นกั เรียนคนท่ี 12 3 7 -4 16 นกั เรียนคนท่ี 13 4 8 -4 16 นกั เรียนคนท่ี 14 4 8 -4 16 นกั เรียนคนที่ 15 5 9 นกั เรียนคนท่ี 16 3 7 -4 16 นกั เรียนคนท่ี 17 3 7 -4 16 นกั เรียนคนท่ี 18 3 7 -4 16 4 7 -4 16 รวม 7 10 -3 9 คะแนนเฉล่ีย 3 7 -3 9 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 71 135 -4 16 3.94 7.5 -61 232 1.09 0.87 -3.39 12.89 0.56 t = 2.042 ** ** มนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .01 จากตาราง การเปรียบเทียบคะแนนทดสอบหลงั เรียนบทเรียนดว้ ยจกิ๊ ซอสมการ เร่ืองการแกส้ มการกาลงั สอง ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 4 สูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .01
11 ผลการวิจยั ปรากฏว่า 1. ประสิทธิภาพของการเรียนดว้ ยจิ๊กซอสมการ เรื่อง การแก้สมการกาลงั สอง ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 มีประสิทธิภาพ E1 / E2 = 80.19 / 88.89 สูงกวา่ เกณฑท์ ่กี าหนดไว้ 80 / 80 2. การเปรียบเทียบคะแนนทดสอบหลงั เรียนบทเรียนดว้ ยจกิ๊ ซอสมการ เรื่องการแกส้ มการกาลงั สอง ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 สูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .01 3. นกั เรียนมีความคิดเห็นต่อการจดั กิจกรรมการเรียนรู้อยใู่ นระดบั มาก ( X =3.05) โดยความ คิดเห็นในระดบั มาก 2 อนั ดบั แรก คือ นักเรียนพอใจในการศึกษาจากจ๊ิกซอสมการน้ี ( X = 3.7) รองลงมา คือเร่ือง นกั เรียนสามารถนาวธิ ีการน้ีไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ ( X = 3.6) อภิปรายผล 1.ผลการพฒั นาการใชจ้ ิก๊ ซอสมการท่แี ทรกแบบฝึกทกั ษะในเน้ือหาบทเรียนดว้ ยจก๊ิ ซอสมการท่มี ี แบบฝึกทกั ษะแทรกในเน้ือหาทพ่ี ฒั นาข้ึนมีประสิทธิภาพผา่ นเกณฑ์ 80/80 ท้งั น้ีเน่ืองมาจากในการสรา้ งจิ๊ กซอสมการทม่ี ีแบบฝึกทกั ษะในคร้งั น้ีไดพ้ ฒั นาข้ึนตามแนวคิด ดี เฮค โค (John p’ de Cecco) ท่ีวา่ ดว้ ย การ เรียนแบบฝึกทกั ษะ ประกอบดว้ ยเงื่อนไขคอื 1) ความต่อเน่ือง 2) การฝึก 3) การรู้จกั ผลของการฝึกและเบอณ์ นาร์ด (Bernard) ทีว่ า่ ดว้ ยการนากฎการฝึกหดั มาใชจ้ ะสอนใหผ้ เู้ รียนนาความรู้ไปใชไ้ ดก้ ต็ อ้ งใหผ้ ูเ้ รียน เกิด ความเขา้ ใจอยา่ งแจม่ ชดั ซ่ึงอาจตอ้ งหมายรวมถึงการเนน้ ผเู้ รียนใหล้ งมือปฏิบตั ิขณะเรียนและนาส่ิงทไี่ ด้ เรียนรูม้ าใชใ้ นการทากิจกรรมต่างๆก็จะทาใหผ้ เู้ รียนเกิดความเขา้ ใจตระหนกั ถึงความสาคญั และการ นาไปใชบ้ ่อยๆก็จะทาใหผ้ เู้ รียนเกิดความมน่ั คงแน่นแฟ้นในสิ่งทเ่ี รียนจนเกิดความรู้คงทน 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง การแกส้ มการกาลังสอง ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ก่อนและหลังเรียน โดยการใช้จิ๊กซอสมการผลการวิจยั คร้ังน้ีผูว้ จิ ยั ขอเสนอประเด็น เก่ียวกบั การแกส้ มการกาลงั สองโดยใชจ้ ิ๊กซอสมการแลว้ นักเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เพิม่ สูงข้ึน โดยสูงกวา่ ก่อนเรียน ซ่ึงดูจากค่าเฉล่ียของการทดสอบหลงั เรียนที่มากกว่าก่อนเรียน แสดงว่า นกั เรียนมีการพฒั นาความเขา้ ใจในเน้ือหาไดด้ ีข้ึน และมีความคิดเห็นในเชิงบวกต่อการเรียนการแกส้ มการ กาลงั สองโดยใชจ้ กิ๊ ซอสมการ เมื่อไดน้ าผลสมั ฤทธ์ิของนกั เรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนมาเปรียบเทียบกนั แลว้ ปรากฏวา่ นกั เรียนมีพฒั นาการทางการเรียนคณิตศาสตร์ดีข้ึนทุกคนโดยนักเรียนกลุ่มตวั อยา่ งท้งั 18 คน ทาแบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียน เร่ือง การแกส้ มการกาลงั สอง แบบปรนัย ไดค้ ะแนนเกินคร่ึง ของคะแนนเตม็ 10 คะแนนทุกคน ท้งั น้ีผวู้ จิ ยั ไดส้ รา้ งจ๊กิ ซอสมการพร้อมแบบฝึกทกั ษะแทรกในเน้ือหา โดย เนน้ ทกั ษะการคิดคานวณ การท่ีนกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนเรืองการแก้
12 สมการกาลงั สอง โดยการใชจ้ ๊ิกซอสมการแสดงวา่ นกั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจ และสามารถนากระบวนการ คิดไปใช้เพื่อพฒั นาความสามารถในการคิดหาคาตอบในเร่ืองการแก้สมการกาลงั สอง ด้วยวิธีการคิด คานวณหาคาตอบทถี่ ูกตอ้ งไดอ้ ยา่ งหลากหลาย เช่นเดียวกบั ประเสริฐ มาสุปรีด์ิ (2547 : 31-32) ศึกษาเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิในการเรียนของ นกั เรียนช้นั ประถมปี ที่ 2 โดยการสอนดว้ ยจกิ๊ ซอ กบั การสอนตามปกติ พบวา่ กลุม่ ที่เรียนดว้ ยวธิ ีสอนโดย ใชจ้ ๊ิกซอ มีคะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงกว่ากลุ่มที่เรียนดว้ ยวธิ ีสอนตามปกติ 3. ผลการวจิ ยั ความคดิ เห็นของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ทเี่ รียนเรื่อง การแกส้ มการกาลงั สอง โดยการใชจ้ ๊กิ ซอสมการ สาหรับความคดิ เห็นของนกั เรียนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ พบวา่ นกั เรียนมีความมน่ั ใจในการเรียน คณิตศาสตร์มากข้นึ เนื่องจากในระหวา่ งการทากิจกรรมการเรียนการสอนนกั เรียนไดม้ ีส่วนร่วมอยา่ งเตม็ ที่ ไดแ้ สดงความคิดเห็น ระดมสมอง ความคิดของตนเอง การท่นี กั เรียนมีความคดิ เห็นโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก แสดงว่านกั เรียนเกิดทกั ษะในการคิดหา คาตอบ รวมท้งั เกิดการเรียนรู้และมีความเขา้ ใจในกระบวนการคดิ หาคาตอบในเรื่องการแกส้ มการกาลงั สอง มากข้นึ โดยใชจ้ ๊กิ ซอมาช่วย เนื่องจากนกั เรียนไดล้ งมือปฏิบตั ิกิจกรรมการศึกษาดว้ ยตนเอง ทาให้การเรียน ไม่เบือ่ เกิดความรูส้ ึกวา่ ตนเองประสบความสาเร็จมีความภูมิใจและมนั่ ใจในการคิดหาคาตอบได้ สามารถ นาไปใชใ้ นการคดิ หาคาตอบเร่ืองอื่นๆได้ ซ่ึงทาใหเ้ กิดการพฒั นาทกั ษะ สามารถแยกแยะเน้ือหาท่ีเรียน และ มองเห็นแนวทางในกระบวนการคิดหาคาตอบที่ถูกตอ้ งไดด้ ีข้ึน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การคิดหาคาตอบของ โจทยท์ ่ียาก ซับซ้อน นกั เรียนจะร่วมปรึกษา หรือแลกเปล่ียนกันในรูปแบบของตนถือว่าไดเ้ รียนรู้ร่วมกัน เพอ่ื แกโ้ จทยท์ ่ีถูกตอ้ ง และสร้างรูปแบบความคิดของตนเอง เพือ่ ให้ไดค้ าตอบท่ีถูกตอ้ งและสมเหตุสมผล ดงั น้นั เร่ืองการแกส้ มการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียวโดยการใชบ้ ทเรียนการ์ตนู จึงเป็ นวิธีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ท่ชี ่วยพฒั นาใหน้ กั เรียนมีความสามารถในความเขา้ ใจความคิดรวบยอดในเรื่องสมการเชิงเส้นตวั แปรเดียวที่ ดีข้นึ และนกั เรียนมีความรู้สึกเห็นคุณค่าวชิ าคณิตศาสตร์มากข้นึ
13 ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาวจิ ยั ไปใชด้ งั ต่อไปน้ี 1. จิก๊ ซอสมการ เป็ นส่ือทีด่ ี มีประสิทธิภาพ ทาใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิสูงข้นึ ครูควรดูแล การอ่าน และคอยสรุปผลการอ่านของนกั เรียนเป็นช่วง ๆ และแนะนาใหน้ กั เรียนอ่านดว้ ยความระมดั ระวงั คดิ ไปพร้อมกบั การอ่าน และฝึกทาแบบฝึกหดั ในบทเรียนทก่ี าหนดให้ 2. การใชบ้ จิ๊กซอสมการอาจใชไ้ ดก้ บั นกั เรียนท่เี ก่งวชิ าคณิตศาสตร์ ซ่ึงเป็ นการเรียนเสริมได้ เช่นเดียวกนั หรือใชก้ รณีรายบุคคลเช่นเดียวกบั บทเรียนสาเร็จรูป ซ่ึงจะมีประสิทธิภาพมากกวา่ เพราะจก๊ิ ซอ เรา้ ความสนใจดีกวา่ บทเรียนสาเร็จรูป 3. ครูสามารถใชจ้ ิก๊ ซอสมการ บรู ณาการกบั สาระอ่ืน เช่นกลุ่มสาระภาษาไทย หรือ การอ่านเชิง คิด วเิ คราะห์และเขียน เป็นตน้ อาจใหน้ กั เรียนสรุปผลและขอ้ คิดทไี่ ดจ้ ากการอา่ น ข้อเสนอแนะในการศึกษาคร้ังต่อไป 1. วจิ ยั เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การแกส้ มการกาลงั สอง โดยใชจ้ ก๊ิ ซอสมการกบั วธิ ีการ อ่ืนๆ 2. วจิ ยั เพอ่ื หารูปแบบการพฒั นาทกั ษะความคิดรวบยอดความเขา้ ใจในเร่ืองการแกส้ มการกาลงั สอง ทท่ี าใหน้ กั เรียนเขา้ ใจคณิตศาสตร์มากข้นึ
14 บรรณานุกรม กรมวชิ าการ. (2520). รายงานการสารวจความสนใจ และรสนิยมในการอ่านของเดก็ และเยาวชน . กรุงเทพฯ .คณะนิสิตปริญญาโทเทคโนโลยที างการศกึ ษา. (2522). นวตั กรรมและเทคโนโลยี ทางการศึกษา. กรุงเทพ : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร. กรมวชิ าการ. (2539). การสงั เคราะห์งานวจิ ยั เกี่ยวกบั การสอนคณิตศาสตร์ระดบั ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : การศาสนา. กระทรวงศึกษาธิการ. (2534). คู่มือการประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สูตร ประถมศึกษา พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2533). กรุงฯ : การศาสนา. เกษมา จงสูงเนิน . (2533 ). การศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและความสนใจในการเรียนวชิ า คณติ ศาสตร์ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ทเ่ี รียนด้วยการใช้ กบั ไม่ใช้หนังสือการ์ตูนประกอบ บทเรียนในการสอนตามคู่มือครู สสวท. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. : กรุงเทพฯ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. กรมวชิ าการ. (2520). รายงานการสารวจความสนใจ และรสนิยมในการอ่านของเด็กและเยาวชน . กรุงเทพฯ .คณะนิสิตปริญญาโทเทคโนโลยที างการศกึ ษา. (2522). นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทางการศึกษา. กรุงเทพ : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร : 204 ไฟเราะ เร่ืองศริ ิ. (2524). ความสนใจต่อการอ่านหนังสือการ์ตูนของเด็กในภาคตะวนั ออกของประเทศไทย. วทิ ยานิพนธ์ ค.ม. : กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ถ่ายเอสาร . กรมวชิ าการ. (2539). การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั เกี่ยวกบั การสอนคณิตศาสตร์ระดบั ประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ : การศาสนา. ประเสริฐ มาสุปรีด์ิ. ( 2522). การศึกษาเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ วชิ าสร้างเสริมประสบการณ์ ชีวติ ของนักเรียนช้ัน ป.2 โดยการสอนด้วยหนังสือการ์ตูนกบั การ สอนปกติ. มนตรี แยม้ กสิกร. (2548). การศึกษาเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
15 ด้านพทุ ธพสิ ัย ในวิชาสุขศึกษาช้ันประถมศึกษาปี ที่ 4 จากการใช้แบบเรียนสาเร็จรูปเชิงเส้น ของ การ์ตูนกบั การใช้แบบเรียนสาเร็จรูปเชิงเส้นตรงธรรมดา.ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒประสานมิตร. ถ่ายเอกสาร. ยพุ นิ พพิ ธิ กุล และคณะ .(2531). สื่อการเรียนการสอนคณติ ศาสตร์. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , : 302-306. สุนทร เชยชื่น. (2524). การสร้างหนังสือการ์ตูนประกอบการเรียน กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวติ สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3. วทิ ยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ถ่ายเอกสาร. สมพงษ์ ศิริเจริญ และคณะ (2506) . คูม่ ือการใชโ้ สตทศั นวสั ดุ. กรุงเทพ :มงคลการพมิ พ.์
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: