Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติกีฬาปิงปอง

ประวัติกีฬาปิงปอง

Published by ์Nuchsara Khongchon, 2021-10-06 04:35:27

Description: นายชัยชนะ กลิ่นหอมอุทิศ ปวส.1/1 สาขาการถ่ายภาพและมัลติมีเดีย

Search

Read the Text Version

1

ก คำนำ รายงานฉบบั นี้จดั ทาขนึ้ เพื่อประกอบการเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับชัน้ ปวส.1/1 โดยมจี ดุ ประสงค์เพื่อให้ผูจ้ ดั ทาได้ฝกึ การศึกษาคน้ คว้า และนาสงิ่ ทีไ่ ด้ศึกษาค้นควา้ มาสร้างเป็นชิน้ งานเก็บ ไวเ้ ป็นประโยชนต์ ่อการเรียนการสอนของตนเองและครตู ่อไป ท้ังน้ี เนื้อหาได้รวบรวมมาจากเวบ็ ไซตท์ างอนิ เตอรเ์ น็ต ขอขอบพระคุณอาจารย์ นางธารทิพย์ ธนะภกั ดิ์ อยา่ งสูง ทก่ี รุณาตรวจ ให้คาแนะนาเพ่ือแกไ้ ข ให้ขอ้ เสนอแนะตลอดการทางาน ผจู้ ัดทาหวงั ว่ารายงานฉบบั นค้ี งมีประโยชน์ตอ่ ผู้ทน่ี าไปใช้ให้เกิดผลตามความคาดหวงั ชยั ชนะ กลิน่ หอมอุทศิ 30 กนั ยายน 2564

ข หนำ้ สำรบญั ก ข เร่ือง ค 1 คานา 4 สารบญั 4 สารบญั รูปภาพ 4 ประวัตกิ ฬี าปิงปอง 5 อุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นการเลน่ ปงิ ปอง ประกอบดว้ ย 5 6 โต๊ะปิงปอง 6 สาและผา้ เน็ตปงิ ปอง 7 ลกู ปงิ ปอง 8 เส้ือปงิ ปอง - กางเกงปิงปอง – ถงุ เทา้ ปงิ ปอง 9 กาวสาหรบั ตดิ ปิงปอง 10 นา้ ยาทาความสะอาดยางปิงปอง 12 ยางปงิ ปอง และ ไม้เปล่า วธิ กี ารเล่นกฬี าปิงปอง หรอื เทเบิลเทนนสิ ประเภทของการแข่งขนั กีฬาปิงปอง บรรณานุกรม ภาคผนวก

ค หนำ้ สำรบญั รูปภำพ 1 4 ภำพที่ 4 5 ภาพท่ี 1 การเล่นกีฬาปงิ ปอง 5 ภาพที่ 2 โตะ๊ ปงิ ปอง 6 ภาพท่ี 3 เสาและผา้ เน็ตปงิ ปอง 6 ภาพท่ี 4 ลูกปงิ ปอง 7 ภาพท่ี 5 เสือ้ ปงิ ปอง - กางเกงปงิ ปอง - ถงุ เท้าปงิ ปอง 8 ภาพท่ี 6 กาวสาหรบั ติดปงิ ปอง 9 ภาพที่ 7 นา้ ยาทาความสะอาดยางปงิ ปอง 9 ภาพท่ี 8 ยางปิงปอง และ ไม้เปล่า ภาพที่ 9 ลกั ษณะการตปี งิ ปอง ภาพที่ 10 ปงิ ปองแบบคู่ ภาพท่ี 11 ปิงปองแบบเดย่ี ว

1 กีฬำปงิ ปอง (Table tennis) 1.ประวัติกฬี ำปงิ ปอง กีฬาปิงปองได้เร่ิมขึ้นคร้ังแรก ในปี ค.ศ. 1890 (พ.ศ. 2433) ท่ีประเทศอังกฤษ โดยในอดีต อุปกรณท์ ใ่ี ช้เลน่ ปงิ ปองเปน็ ไม้ห้มุ หนังสตั ว์ ซ่ึงมีลักษณะคล้ายกบั ไม้ปิงปองในปจั จุบัน สว่ นลกู ท่ีใชต้ เี ป็นลูก เซลลูลอยด์ ซึ่งทาจากพลาสติกกึ่งสังเคราะห์ โดยเวลาท่ีลูกบอลกระทบกับพื้นโต๊ะ และไม้ตีจะเกิดเสียง “ปิก-ป๊อก” ดงั นนั้ กฬี านีจ้ ึงถกู เรยี กช่ือตามเสียงท่ีได้ยนิ ว่า “ปิงปอง” (PINGPONG) และได้เร่มิ แพร่หลาย ในกลุ่มประเทศยุโรปก่อน ซึ่งวิธีการเล่นในสมัยยุโรปตอนต้น จะเป็นการเล่นแบบยัน (BLOCKING) และ แบบดันกด (PUSHING) ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นการเล่นแบบ BLOCKING และ CROP หรือเรียกวา่ การ เล่นถูกตัด ซ่ึงวิธกี ารเล่นนี้เป็นท่ีนิยมมากแถบนยุโรป ส่วนวธิ ีการจับไม้ จะมี 2 ลักษณะ คือ จับไม้แบบจับ มือ (SHAKEHAND) ซึ่งเราเรียกกันว่า “จับแบบยุโรป” และการจับไม้แบบจับปากกา (PEN-HOLDER) ซ่ึง เราเรยี กกนั ว่า “จับไม้แบบจนี ” ภาพที่ 1 การเลน่ กีฬาปิงปอง ที่มา. Yasothon Sport School สบื ค้นวนั ท1่ี 5/8/64 ในปี ค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443) เริ่มปรากฏวา่ มกี ารหันมาใชไ้ มป้ งิ ปองติดยางเม็ดแทนหนังสัตว์ ดังน้นั วธิ กี ารเลน่ แบบรุก หรือแบบบกุ โจมตี (ATTRACK หรือ OFFENSIVE) โดยใชท้ ่า หนา้ มือ (FOREHAND) และ หลัง

2 มือ (BACKHAND) เริ่มมีบทบาทมากข้ึน และยังคงนิยมการจับแบบไม้แบบยุโรป ดังนั้นจึงถือว่า ยโุ รปเปน็ ศูนย์รวมของกฬี าปิงปองอย่างแทจ้ ริง ต่อมาในปี ค.ศ. 1922 (พ.ศ. 2465) ได้มีบริษัทค้าเคร่ืองกีฬา จดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้าว่า “PINGPONG” ด้วยเหตุน้ี กีฬาปิงปองจึงต้องเปลี่ยนช่ือเป็น เทลเบิลเทนนิส (TABLE TENNIS) และในปี ค.ศ. 1926 (พ.ศ. 2469) ได้มีการประชุมก่อตั้งสหพันธ์เทเบิลเทนนิสนานาชาติ (INTERNATIONAL TABLETENNIS FEDERATION : ITTF) ข้ึนที่กรุงลอนดอนในเดือนธันวาคม พร้อมกับมีการจัดการแข่งขัน เทเบิลเทนนสิ แห่งโลกคร้ังท่ี 1 ข้ึน เป็นครั้งแรก จากน้ันในปี ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) เป็นยุคที่ประเทศญ่ีปุ่นซ่ึงได้หันมาสนใจกีฬาเทเบิลเทนนิส มากข้ึน และได้มกี ารปรับวิธกี ารเล่นโดยเน้นไปท่ี การตบลูกแม่นยา และหนักหน่วง และการใช้จังหวะเต้น ของปลายเท้า ต่อมาในปี ค.ศ. 1952 (พ.ศ. 2495) ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมการแข่งขันเทเบิลเทนนิสโลกเป็นคร้ัง แรก ท่ีกรุงบอมเบย์ ประเทศอินเดีย และในปี ค.ศ. 1953 (พ.ศ. 2496) สาธารณรัฐประชาชนจีนจึงไดเ้ ข้า ร่วมการแข่งขันเป็นครั้งแรกที่กรุงบูคาเรสต์ ประเทศรูมาเนีย ทาให้จึงกีฬาเทเบิลเทนนิสกลายเป็นกีฬา ระดับโลกท่ีแท้จริง โดยในยุคนี้ญี่ปนุ่ ใช้การจับไม้แบบจับปากกา และมีการพัฒนาไม้ปงิ ปองโดยใชย้ างเม็ด สอดไสด้ ้วยฟองน้า เพม่ิ เตมิ จากยางชนดิ เม็ดเดิมที่ใช้กนั ทว่ั โลก ในเรื่องเทคนิคของการเล่นน้ัน ยุโรปรุกด้วยความแม่นยา และมีช่วงตีวงสวิงสั้น ๆ ซึ่งเม่ือเปรียบเทียบกับ ญี่ปุ่นที่ใช้ปลายเท้าเป็นศูนย์กลางของการตีลูกแบบรุกอย่างต่อเน่ือง ทาให้ญี่ปุ่นสามารถชนะการเล่นของ ยโุ รปได้ แม้ในชว่ งแรกหลายประเทศจะมองวา่ วิธีการเล่นของญ่ีปุ่น เป็นการเลน่ ท่ีค่อนข้างเสย่ี ง แต่ญี่ปนุ่ ก็ สามารถเอาชนะในการแข่งขันติดต่อกันได้หลายปี เรียกได้ว่าเป็นยุคมืดของยุโรปเลยทีเดียวในท่ีสุด สถานการณ์ก็เปล่ียนไป เม่ือสาธารณรัฐประชาชนจีนสามารถเอาชนะญ่ีปุ่นได้ด้วยวิธีการเล่นท่ีโจมตีแบบ รวดเร็ว ผสมผสานกับการป้องกัน ซ่ึงจีนได้ศึกษาการเล่นของญี่ปุ่น ก่อนนามาประยุกต์ให้เข้ากับการเล่น แบบท่ีจีนถนัด กระท่ังกลายเปน็ วธิ ีการเล่นของจีนทเ่ี ราเห็นในปัจจบุ ัน หลังจากนั้นยุโรปได้เริ่มฟื้นตัวขึ้นมาอีกคร้ัง เน่ืองจากนาวิธีการเล่นของชาวอินเดียมาปรับปรุง และในปี ค.ศ. 1970 (พ.ศ. 2513) จึงเป็นปีของการประจันหน้าระหว่างผู้เล่นชาวยุโรป และผู้เล่นชาวเอเชีย แต่ นักกีฬาของญี่ปุ่นได้แก่ตัวลงแล้ว ขณะท่ีนักกีฬารุ่นใหม่ของยุโรปได้เร่ิมเก่งขึ้น ทาให้ยุโรปสามารถคว้า ตาแหน่งชนะเลศิ ชายเดยี่ วของโลกไปครองได้สาเร็จ

3 จากนนั้ ในปี ค.ศ. 1971 (พ.ศ. 2514) นกั เทเบลิ เทนนสิ ชาวสวีเดน ชอ่ื สเตลงั เบนค์สนั เปน็ ผเู้ ปิด ศักราชใหมใ่ หก้ ับชาวยโุ รป โดยในปี ค.ศ. 1973 (พ.ศ. 2516) ทมี สวเี ดนสามารถคว้าแชมป์โลกได้ จึงทาให้ชาวยุโรปมีความม่ันใจในวิธีการเล่นที่ปรังปรุงมา ดังน้ันนักกีฬาของยุโรป และนักกีฬา ของเอเชีย จึงเป็นคู่แข่งที่สาคัญ ในขณะที่นักกีฬาในกลุ่มชาติอาหรับ และลาตินอเมริกา ก็เร่ิมก้าวหน้า รวดเร็วขึ้น และมีการแปลกเปลย่ี นความรู้ทางด้านเทคนิค ทาให้การเล่นแบบตั้งรับ ซึ่งหายไปต้ังแต่ปี ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) เร่ิมกลบั มามบี ทบาทอกี ครัง้ จากนั้นจึงไดเ้ กิดการพัฒนาเทคนิคการเปล่ียนหน้าไม้ในขณะเลน่ ลูก และมีการปรับปรุงหน้าไม้ซง่ึ ติดด้วยยางปิงปอง ที่มีความยาวของเม็ดยางมากกว่าปกติ โดยการใช้ยางที่สามารถเปล่ียนวิถีการหมุน และทิศทางของลูกเข้าได้ จึงนับได้ว่ากีฬาเทเบิลเทนนิสเป็นกีฬาที่แพร่หลายไปท่ัวโลก โดยมีการพัฒนา อุปกรณ์ และมีวิธีการเล่นใหม่ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา กระท่ังกีฬาเทเบิลเทนนิสได้ถูกบรรจุเป็นการแข่งขัน ประเภทหนึ่งในกีฬาโอลิมปิก เมื่อปี ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) ซึ่งจัดข้ึนที่กรุงโซล ประเทศสาธารณรัฐ เกาหลี สาหรับประวัติกีฬาเทเบ้ิลเทนนิสในประเทศไทยน้ัน ทราบเพียงว่า คนไทยรู้จักคุ้นเคย และเล่น กีฬาเทเบิลเทนนิสมาเป็นเวลาช้านาน แต่รู้จักกันในชื่อว่า กีฬาปิงปอง โดยไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่า มี การนากีฬาชนิดน้ีเข้ามาเล่นในประเทศไทยตั้งแต่เม่ือใด และใครเป็นผู้นาเข้ามา แต่ปรากฏว่ามีการเรียน การสอนมานานกว่า 30 ปี โดยในปี พ.ศ. 2500 ประเทศไทยไดม้ ีการจดั ต้ังสมาคมเทเบลิ เทนนิสสมัครเลน่ แห่งประเทศไทย และมีการแข่งขันของสถาบันต่าง ๆ รวมท้ังมีการแข่งขันชิงแชมป์ถ้วยพระราชทานแห่ง ประเทศไทย ต้งั แตน่ ัน้ เปน็ ต้นมา

4 2. อุปกรณท์ ่ีใชใ้ นกำรเล่นปิงปอง ประกอบดว้ ย 2.1โตะ๊ ปิงปอง ภาพท่ี 2 โตะ๊ ปิงปอง ที่มา: https://sites.google.com/site/thebeilthennis/1-toa-thebeil-thennis สืบคน้ วันที1่ 5/8/64 2.2 เสาและผ้าเน็ตปงิ ปอง ภาพที่ 3 เสาและผา้ เนต็ ปงิ ปอง ทีม่ า: https://sites.google.com/site/ สบื ค้นวนั ท1่ี 5/8/64

5 2.3 ลูกปงิ ปอง ภาพท่ี 4 ลกู ปงิ ปอง ที่มา: https://dk.lnwfile.com/d81czz.jpg สบื คน้ วันท1ี่ 5/8/64 2.4 เสอ้ื ปิงปอง - กางเกงปงิ ปอง – ถงุ เท้าปิงปอง ภาพที่ 5 เส้ือปงิ ปอง - กางเกงปิงปอง - ถุงเท้าปงิ ปอง ท่มี า https://sites.google.com/site/ สบื ค้นวันท่ี15/8/64

6 2.5กาวสาหรบั ตดิ ปงิ ปอง ภาพท่ี 6 กาวสาหรบั ติดปิงปอง ท่มี า: http://www.pingpongintershop.com/ สบื คน้ วันท1่ี 5/8/64 2.6 นา้ ยาทาความสะอาดยางปงิ ปอง ภาพที่ 7 น้ายาทาความสะอาดยางปงิ ปอง ทีม่ า: https://th-test-11.slatic.net/ สบื ค้นวันท่1ี 5/8/64

7 2.7 ยางปงิ ปอง และ ไม้เปลา่ ภาพท่ี 8 ยางปิงปอง และ ไม้เปลา่ ที่มา: https://cf.shopee.co.th/ สบื คน้ วนั ท่1ี 5/8/64

8 3. วิธีกำรเลน่ กีฬำปงิ ปอง หรอื เทเบิลเทนนสิ กฬี าปงิ ปอง หรอื เทเบลิ เทนนสิ ทเ่ี รารู้จกั กันนนั้ ถือเป็นกีฬาที่มีความยากในการเล่น เน่ืองจาก ธรรมชาติของกีฬาประเภทนี้ ถกู จากดั ใหต้ ลี กู ปงิ ปองลงบนโต๊ะของคตู่ อ่ สู้ ซ่งึ บนฝ่ังตรงขา้ มมพี ืน้ ท่เี พียง 4.5 ฟตุ X 5 ฟตุ และลูกปงิ ปองยงั มีน้าหนกั เบามาก เพยี ง 2.7 กรมั โดยความเรว็ ในการเคลอ่ื นทีจ่ ากฝั่ง หนง่ึ ไปยังอีกฝ่ังหนึ่ง ใชเ้ วลาไมถ่ ึง 1 วินาที ทาให้นักกีฬาต้องตีลกู ปงิ ปองทก่ี าลงั เคล่อื นมากลับไปทันที ซง่ึ หากลังเลแล้วตพี ลาด หรอื ไม่ตเี ลย ก็อาจทาใหผ้ ู้เลน่ เสยี คะแนนได้ ภาพที่ 9 ลกั ษณะการตีปงิ ปอง ที่มา: thairath.co.th สบื คน้ วนั ท่1ี 5/8/64 ท้ังนี้ ปิงปองมีประโยชนต์ อ่ ผู้เลน่ เนอ่ื งจากตอ้ งอาศยั ความคลอ่ งแคลว่ ว่องไวในทกุ สว่ นของร่างกาย ดังน้ี สายตา : สายตาจะต้องจ้องมองลูกอย่ตู ลอดเวลา เพื่อสังเกตหน้าไม้ของคตู่ อ่ สู้ และมอง กว่าจะหมนุ มาในลกั ษณะใด สมอง : ปิงปองเป็นกีฬาทต่ี ้องใช้สมองในการคดิ อยู่ตลอดเวลา รวมถงึ ตอ้ งวางแผนการ เลน่ แบบฉบั พลนั อกี ด้วย มือ : มือทใ่ี ช้จบั ไมป้ งิ ปอง จะตอ้ งคล่องแคล่ว และวอ่ งไว รวมถึงต้องรู้สกึ ได้เม่ือลกู ปงิ ปอง สัมผสั ถูกหน้าไม้ ข้อมอื : ในการตบี างลักษณะ จาเปน็ ต้องใชข้ อ้ มอื เข้าช่วย ลกู จึงจะหมนุ มากยง่ิ ขึน้ แขน : ต้องมีพละกาลัง และมีความอดทนในการฝกึ ซอ้ มแบบสมา่ เสมอเพ่ือใหเ้ กดิ ความ เคยชิน ลาตัว : การตลี ูกปิงปองในบางจังหวะ ตอ้ งใชล้ าตวั เขา้ ช่วย ตน้ ขา : ผ้เู ลน่ ตอ้ งมีตน้ ขาทแี่ ขง็ แรง เพ่ือเตรยี มความพร้อมในการเคล่ือนทต่ี ลอดเวลา หัวเข่า : ผูเ้ ล่นต้องย่อเขา่ เพือ่ เตรยี มพร้อมในการเคลื่อนที่ เทา้ : หากเท้าไม่เคลื่อนท่เี ขา้ หาลูกปงิ ปอง ก็จะทาให้ตามตีลูกปิงปองไม่ทัน

9 วธิ กี ารเลน่ กฬี าปิงปอง หรอื เทเบลิ เทนนิส 1.การสง่ ลูกทีถ่ กู ต้อง ลกู จะต้องอย่ทู ่ีฝ่ามือแล้วโยนขึน้ ไปในอากาศ สูงไมน่ ้อยกว่า 16 เซนตเิ มตร 2. การรับลกู ทถ่ี ูกต้อง เม่อื ลกู เทเบิลเทนนิสถูกตีข้ามตาข่ายมากระทบแดนของตนคร้ังเดยี ว ต้องตีกลับให้ ข้ามตาข่าย หรือออ้ มตาขา่ ยกลับไป ลูกท่ใี หส้ ่งใหม่ คือ ลกู เสริ ์ฟติดตาขา่ ย แล้วขา้ มไปตกแดนคตู่ ่อสู้หรือ เหตุอน่ื ทผี่ ้ตู ัดสนิ เห็นวา่ จะต้องเสริ ์ฟใหม่ 4. ประเภทของกำรแขง่ ขนั กีฬำปิงปอง การแขง่ ขนั มี 2 ประเภท คือ ประเภทเดี่ยวและประเภทคู่ การนบั คะแนน ถ้าผ้เู ลน่ ทาผดิ กตกิ า จะเสยี คะแนน ผู้ เลน่ หรือคเู่ ลน่ ท่ีทาคะแนนได้ 11 คะแนนกอ่ น จะเป็นฝ่ายชนะ ยกเว้นถ้าผ้เู ลน่ ทงั้ สองฝ่ายทาคะแนนได้ 10 คะแนน เทา่ กนั จะต้องเลน่ ตอ่ ไป โดยฝ่ายใดทาคะแนนได้มากกวา่ อกี ฝ่ายหนง่ึ 2 คะแนน จะเป็นฝ่ายชนะ ภาพที่ 10 ปิงปองแบบคู่ ทม่ี า: https://makemusicboston.org/ สบื คน้ วันท1ี่ 5/8/64 ภาพที่ 11 ปงิ ปองแบบเด่ยี ว ทมี่ า: https://sites.google.com/site/tanakornhor/ สืบคน้ วันที1่ 5/8/64

บรรณำนกุ รม

11 บรรณำนุกรม กาวสาหรบั ติดปิงปอง pingpongintershop.com สืบค้นวนั ท่1ี 5/8/64 การเลน่ กีฬาปงิ ปอง Yasothon Sport School สบื คน้ วนั ที1่ 5/8/64 นา้ ยาทาความสะอาดยางปงิ ปอง https://th-test-11.slatic.net สบื ค้นวนั ที่15/8/64 ปิงปองแบบคู่ makemusicboston.org สืบคน้ วนั ท่ี15/8/64 ปงิ ปองแบบเดี่ยว https://sites.google.com สบื คน้ วนั ท1่ี 5/8/64 ยางปงิ ปอง และ ไมเ้ ปล่า https://cf.shopee.co.th สบื ค้นวันที่15/8/64 ลกู ปงิ ปอง https://dk.lnwfile.com/d81czz.jpg สืบค้นวันท่1ี 5/8/64 สบื ค้นวนั ที่15/8/64 ลกั ษณะการตีปงิ ปอง thairath.co.th สืบค้นวนั ที่15/8/64 เสาและผ้าเนต็ ปงิ ปอง https://sites.google.com สืบค้นวันท1่ี 5/8/64 เส้อื ปงิ ปอง กางเกงปิงปอง ถุงเท้าปงิ ปอง https://sites.google.com สืบคน้ วันที่15/8/64

ภำคผนวก

13 ประวตั ิผู้ทำ ช่ือ-นามสกลุ นายชยั ชนะ กลน่ิ หอมอุทศิ วนั เดือน ปีเกดิ วันที่ 4 ตลุ าคม พ.ศ.2545 อยู่ปัจจบุ ัน 7 ม.4 ต.บางม่วง อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ประวัตกิ ารศึกษา สาเร็จการศกึ ษาระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ(ปวช.) สาขาคอมพวิ เตอร์ กราฟฟิก วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษานครสวรรค์ ปัจจบุ นั กาลงั ศกึ ษา ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสงู (ปวส.) สาขาการถ่ายภาพและมันติมเี ดยี วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์ อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครสวรรค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook