Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สถานศึกษาสีขาว กช. 2565

สถานศึกษาสีขาว กช. 2565

Published by maanee7, 2023-05-02 13:17:13

Description: สถานศึกษาสีขาว กช. 2565

Search

Read the Text Version

ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

คาํ นาํ การพัฒนานกั เรยี น/นกั ศกึ ษาใหม ีคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคเปน คนที่สมบรู ณท งั้ รางกายและจติ ใจ มีคุณธรรมจริยธรรมเปนคนดีมีวินัยมีทักษะความสามารถในศตวรรษท่ี 21 สามารถอยูรวมกับอ่ืนไดอยางมี ความสุขหางไกลจากยาเสพติดสารเสพติดล่อื ลามกอนาจารการพนันการทะเลาะวิวาทซ่ึงเปนภัยตอความ ม่ันคงในรูปแบบตางๆท่ีสงผลกระทบตอสังคมและประเทศชาติกระทรวงศึกษาธิการตระหนักในปญหา ดังกลาวจึงไดกําหนดนโยบายใหสถานศึกษาในสังกัดดําเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมขุ ซ่ึงเปนรูปแบบของการดาํ เนินการปองกนั และแกไขปญหายาเสพติดและปญหาพฤติกรรมไมพึง ประสงคแ บบองครวมในสถานศึกษาโดยเริ่มจาก “กจิ กรรมหอ งเรยี นสขี าว” ดําเนินการโดยนักศึกษาแกนนํา 4 ฝา ยไดแกฝ า ยการเรยี นฝายการงานฝายสารวตั รนักเรียนฝายกิจกรรมและพัฒนาสู “โครงการสถานศึกษา สขี าวปลอดยาเสพติดและอบายมุข” ภายใตยุทธศาสตร 5 มาตรการไดแกมาตรการดานปองกันมาตรการ ดานการคน หามาตรการดานการรกั ษามาตรการเฝาระวงั มาตรการดา นการบรหิ ารจดั การและกลยุทธ 4 ตอง 2 ไม โดยบรู ณาการความรวมมือและประสานงานของผูบริหารครูอาจารยนักศึกษาแกนนําเพ่ือใหเกิดการ ขับเคลอ่ื นท่เี ขม แขง็ ตอเนอ่ื งและยั่งยนื ในการนี้ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอกุดชุม ไดจัดทําผลงานดีเดน โครงการสถานศกึ ษาสขี าวปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ประเภทผลงาน ระดับ เงนิ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖5 โดยหวังเปนอยา งยิง่ วา ผลงานนจ้ี ะเปน แนวทางในการขบั เคลอื่ นงานใหม ปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล จึงขอขอบคุณผมู ีสว นเกย่ี วขอ งทกุ ทา นทใ่ี หความรวมมอื ในการดาํ เนนิ งานไว ณ โอกาสน้ี กศน.อาํ เภอกดุ ชมุ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชุม สํานกั งาน กศน.จงั หวดั ยโสธร

สารบัญ หนา เร่อื ง 1 20 คาํ นํา 25 26 สารบญั 80 82 คาํ รับรองผลการดําเนนิ งาน 84 92 ใบสมัคร 107 107 บทที่ ๑ บทนาํ 108 - ขอ มูลทั่วไปของสถานศึกษา 108 110 บทท่ี ๒ สถานการณยาเสพตดิ รอบสถานศกึ ษา 115 129 บทท่ี ๓ ผลการดาํ เนนิ งานตามยุทธศาสตร ๕ ดา น 130 - มาตรการดา นการปอ งกัน - มาตรการดา นการคนหา - มาตรการดา นการรกั ษา - มาตรการดา นการเฝา ระวงั - มาตรการดา นการบรหิ ารจดั การ บทที่ ๔ กิจกรรมหอ งเรียนสขี าว/แผนกวิชาสีขาว - ภาพแผนผงั หอ งเรียนสขี าว - คตพิ จนป ระจาํ หองเรียน - ขอตกลงในชั้นเรยี น - สาํ เนาสมุดบนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ านแกนนํา ๔ ฝา ย - โครงงานหองเรียนปลอดบุหร่ี - แบบสรปุ การดาํ เนินงานกิจกรรมหอ งเรยี นสีขาว บทที่ ๕ ภาพรางวัลผลงานดเี ดน ภาคผนวก - สําเนาคาํ สั่ง คณะผูจัดทํา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชุม สาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั ยโสธร

คํารบั รองผลการดําเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าวปลอดยาเสพติดและอบายมขุ ปการศึกษา 2565 สงั กดั  สพฐ. สช.  สอศ.  กศน. ระดบั เงนิ ……………………………………………………………………………… ๑. ขอมูลสถานศกึ ษา สถานทตี่ ัง้ หมทู ี่.....๘........ถนน.......-........... ตาํ บลกดุ ชุม อาํ เภอกดุ ชมุ จังหวัดยโสธร โทรศพั ท 04๕-๗๘๙๔๒๙ โทรศพั ท (มือถอื )...............-........................ โทรสาร..-............... E-mail : [email protected] ๒. ขอมูลผูปฏิบตั ิหนาที่ ปก ารศึกษา 2565 ชอ่ื - นามสกลุ (ผูบรหิ ารสถานศึกษา) นางสาวียะ พนั ธุฤ ทธิ์ ตาํ แหนง ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอกุดชุม ช่ือ - นามสกลุ (ผูรับผดิ ชอบโครงการ) นางสาวบษุ บา กองศรมี า ตําแหนง ครู กศน.ตําบล ไดต รวจสอบผลการดาํ เนนิ งานโครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ชื่อสถานศึกษา ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภอกุดชมุ ไดด ําเนนิ การตาม หลักเกณฑและมผี ลงานในระดับดีเดน ขอรบั รองวา ขอมลู ทงั้ หมดเปนความจริง (ลงช่อื )................................................. (ลงชอ่ื )............................................................... (นางสาวียะ พนั ธุฤทธิ์) (..................................................) ตําแหนง ผอู าํ นวยการกศน.อําเภอกดุ ชุม ตําแหนง............................................................ ประธานคณะกรรมการประเมิน วนั ที่........ เดอื น ....................... พ.ศ. ............... วนั ที่........ เดือน ....................... พ.ศ. ............... ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

ใบสมคั รขอรบั การประเมนิ ผลการดําเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปก ารศึกษา 2565 สงั กัดสพฐ.  สช. สอศ. กศน.  ประเภทดเี ดน ระดับเงนิ  ประเภทดีเดน ระดับทอง  ประเภทดีเดน ระดับเพชร ……………………………………………………………………… คําช้ีแจง ใหผ ูเสนอผลงานกรอกขอมูล ดงั น้ี ๑. ชือ่ สถานศึกษา ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภอกดุ ชุม สงั กัดสํานักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ยโสธร สถานท่ตี ั้งหมูท๘ี่ ตําบลกดุ ชมุ อําเภอกดุ ชุม จังหวดั ยโสธร รหัสไปรษณยี ๓๕๑๔๐ โทรศัพท 043-811900 โทรศพั ทม อื ถอื 098-592-5535 โทรสาร 049-811900 ๒. ชอ่ื - นามสกุล (ผบู รหิ ารสถานศึกษา) นางสาวียะ พนั ธุฤทธ์ิ ระยะเวลาของปการศกึ ษาท่ีดาํ เนินงานโครงการสถานศึกษาสขี าวปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ตั้งแตวนั ที่ ๑ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ถงึ วันท่ี ๓๑ เดอื นมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ รวมระยะเวลา ๑๑ เดอื น โทรศัพท ๐๔๕-๗๘๙๔๒๙ โทรศัพทม ือถอื 090-1976615 E-mail : [email protected] ๓. ช่ือ - นามสกุล (ครผู ูร บั ผิดชอบโครงการ) นางสาวบษุ บา กองศรีมา ระยะเวลาของปก ารศกึ ษาทีด่ าํ เนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ต้ังแต วนั ท่ี ๑ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ถงึ วันที่ ๒๘ เดอื นกุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๖๖ รวมระยะเวลา ๙ เดือน โทรศพั ท ๐๔๕-๗๘๙๔๒๙ โทรศพั ทม อื ถือ 091-8271980 E-mail : [email protected] ๔. สถานศึกษาไดรับรางวัลเชดิ ชูเกยี รติเสมา ป.ป.ส. ของปก ารศกึ ษา  ปก ารศึกษา…………….. ประเภทผลงานดีเดน ระดับ................  ปการศกึ ษา…………….. ประเภทผลงานดเี ดน ระดบั ................  ปการศกึ ษา…………….. ประเภทผลงานดเี ดน ระดับ................  ปการศึกษา................. ประเภทผลงานดเี ดน ระดับ................  ปก ารศกึ ษา................. ประเภทผลงานดีเดน ระดบั ................ ขอรบั รองวา ขอมูลทัง้ หมดเปนความจรงิ (ลงชื่อ).............................................ผสู มัคร (นางสาวียะ พันธฤุ ทธ)์ิ ตาํ แหนง ผอู าํ นวยการกศน.อาํ เภอกุดชมุ วนั ท่ี .......... เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๖๖ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชุม สํานกั งาน กศน.จงั หวดั ยโสธร

๑ บทที่ ๑ บทนาํ ขอ มูลสถานศึกษา ตอนที่ ๑ ขอ มลู ทว่ั ไปของสถานศกึ ษา ๑. ชอื่ สถานศกึ ษา ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชุม ๑.๑ที่ตั้ง ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอกุดชุมหมู ๘ ตําบลกุดชุม อําเภอ กดุ ชุม จงั หวดั ยโสธร รหัสไปรษณีย ๓๕๑๔๐ โทรศพั ท ๐๔๕ – ๗๘๙๔๒๙ โทรสาร ๐๔๕ – ๗๘๙๔๐๓ E – mail : [email protected] , Fb. [email protected], Fan Page : กศน.อําเภอกุดชุม จังหวดั ยโสธร ๑.๒ สงั กดั สาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ยโสธร สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ๒. ประวัติความเปน มาของสถานศกึ ษา ๒.๑ ประวัตศิ ูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอกดุ ชมุ เปน สถานศึกษาในราชการสวนกลาง สงั กดั สาํ นักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ เปนศนู ยกลางการใหบรกิ าร การศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตลอดชีวิต สําหรับนักศึกษาและประชาชนท่ัวไปในเขตอําเภอกุดชุม จดั ต้งั ขน้ึ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เมอ่ื วนั ที่ ๒๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ปจจุบันมี นางสาวียะ พันธุฤทธิ์ เปนผูบริหารสถานศึกษาในตําแหนง ผูอํานวยการศูนย การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอกุดชมุ ๒.๒ ที่ตง้ั ปจ จุบนั ต้งั อยหู มทู ี่ ๘ ถนนวารีราชเดชมี อาคารขนาด ๖ x ๘ เมตร มเี นอื้ ท่ีภายใน ๔๘ ตารางเมตร เปน อาคารชั้นเดียว โดยจัดเปนสถานศึกษา เปนที่ปฏิบัติงานของเจาหนาที่ในการ ใหบริการการศึกษานอก โรงเรยี นแกน กั ศกึ ษาและประชาชนทว่ั ไป ๒.๓ ทาํ เนยี บผูบรหิ าร ๑. นายบรรเลง ยงญาติ ดาํ รงตาํ แหนงระหวาง ๑ เม.ย. ๓๗–๓๐ ต.ค. ๓๗ ๒. นายเจยี ม ขนั เงนิ ดาํ รงตาํ แหนงระหวาง ๑ พ.ย. ๓๗–๖ มิ.ย. ๔๘ ๓. นายปรชี า เรอื งสนาม ดาํ รงตําแหนง ระหวา ง ๗ มิ.ย. ๔๘ - ๑ ต.ค. ๕๕ ๔. นางสาวฐติ มิ า นัยจติ ร ดํารงตาํ แหนงระหวาง ๑ ต.ค. ๕๕ – ๓๐ ก.ย. ๖๑ ๕. นางนาถหทยั สิงหเลศิ ดํารงตาํ แหนง ระหวาง ๑๗ ม.ค. ๖๒ – ๓๐ ก.ย. ๖๔ ๖. นางสาวียะ พันธุฤทธิ์ ดาํ รงตําแหนงระหวา ง ๑๙ ต.ค. ๖๔ – ปจจบุ ัน ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒ ๒.๔ พ้นื ทรี่ บั ผดิ ชอบ อาํ เภอกุดชมุ มีพนื้ ที่ ๙ตําบล ๑๒๘ หมูบาน ดังน้ี ๑. ตาํ บลกุดชมุ จาํ นวน ๒๑ หมบู าน มี กศน.ตาํ บล ๑ แหง ๒. ตาํ บลโนนเปอย จํานวน ๑๔ หมูบ าน มี กศน.ตําบล ๑ แหง ๓. ตาํ บลกาํ แมด จํานวน ๑๘ หมบู าน มี กศน.ตําบล ๑ แหง ๔. ตาํ บลหว ยแกง จํานวน ๑๔ หมบู าน มี กศน.ตําบล ๑ แหง ๕. ตําบลนาโส จาํ นวน ๑๑ หมูบา น มี กศน.ตาํ บล ๑ แหง ๖. ตาํ บลหนองหมี จาํ นวน ๑๒ หมบู า น มี กศน.ตําบล ๑ แหง ๗. ตําบลหนองแหน จํานวน ๑๐ หมูบาน มี กศน.ตําบล ๑ แหง ๘. ตาํ บลคาํ นา้ํ สรา ง จํานวน ๑๑ หมูบา น มี กศน.ตาํ บล ๑ แหง ๙. ตาํ บลโพนงาม จํานวน ๑๗ หมบู าน มี กศน.ตําบล ๑ แหง แผนท่อี าํ เภอกดุ ชมุ จาํ นวน ๙ ตาํ บล ๑๒๘ หมบู าน ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๓ ๓. ประวัติความเปน มาอาํ เภอกุดชุม เมอื่ ปพ ุทธศกั ราช ๒๕๐๑ ร.ต.ท.พวง ศรีบุญลือ นายอําเภอยโสธร ในสมยั นั้นดําริเห็นวาทองที่ ตาํ บลโนนเปอ ย ตําบลโพนงาม ตําบลกําแมด และตําบลไผ อยูหางไกลจากอําเภอยโสธร หนทาง ทรุ กนั ดาร ลําบากแกร าษฎรในการไปมาติดตอ ราชการ ณ ทว่ี า การอําเภอยโสธร ประกอบกับเจตนารมณอ ัน แรงกลาของราษฎรท้ัง ๔ ตําบล ดังกลาวที่มีความตองการใหทางราชการยกฐานะ ๔ ตําบลเปนกิ่ง อาํ เภอ โดยราษฎรยนิ ดจี ะสรา งอาคารสถานที่ราชการให โดยไมต อ งรบกวนงบประมาณของทางราชการแต อยางใด เพ่ือสนองเจตนาอันแนวแนของประชาชนและเพ่ือความเจริญของบานเมืองในอนาคต ร.ต.ท.พวง ศรีบุญลือ จึงประชุมกํานันทั้ง ๔ ตําบล ซ่ึงไดแ ก นายสงค วงษไกร กํานันตําบลโนนเปอ ย นายสาย จัน ทพาล กํานันตําบลโพนงามนายวรรณทอง ยาวะโนภาส กํานันตําบลกําแมด และนายหา ยาวะโน ภาส กํานนั ตาํ บลไผ มมี ตเิ ปนเอกฉันทค ัดเลือกชยั ภมู ซิ ง่ึ ไดแกพื้นท่บี างสวนของ \"ดงเย็น\" เปนท่ีดอนและ ตัง้ อยูใ กลชิดกบั หมบู าน \"กุดชุม\" ตาํ บลโนนเปอย เปนที่ต้ังก่ิงอําเภอ ในปพุทธศักราช ๒๕๐๓ ก็ไดลง มือสรา งกนั อยางจริงจงั โดยกาํ นนั ทัง้ ๔ ตําบลดงั กลา ว เปน ผนู าํ ท่เี ขม แขง็ รับอาสาชกั ชวนราษฎร สละตอ ไมและแรงงานในการปราบพื้นทีต่ ั้งกิ่งอาํ เภอฯ ในอาณาบรเิ วณประมาณ ๗๐ ไร และไดต้ังปลดั อําเภอ และ หัวหนาสวนราชการประจําอําเภอยโสธร ผลัดเปลี่ยนกันออกมาดําเนินการกํากับดูแลการกอสราง และ ขาราชการผูเปนกําลังอันสําคัญยิ่งท่ีมีสวนผลักดันใหงานน้ีเปนผลสําเร็จก็คือ นายพิสุทธิ์ ฟงเสนาะ ปลัดอําเภอโท อําเภอยโสธร ซึ่งนอกจากมากํากับดูแลการกอสรางเปนประจําแลวยังไดรับภารกิจพิเศษให เปนหัวหนาคณะรวมกับนายอวม นามสละ ท่ีดินอําเภอยโสธร นายบุญชู ดีหนองยาง ครูใหญ ออก ดาํ เนินการเร่ียไรขาวเปลือกจากราษฎรทั้ง ๔ ตําบล เพื่อรวบรวมขายเอาเงินมาเปนคาใชจายสําหรับคา ชางฝมือ และวัสดุสําคัญในการกอสราง ผลปรากฏวาไดเงินจากการขายขาวเปลือกเพียงพอแกการ ดําเนินการตามวัตถุประสงคดังกลาว ในท่ีสุดผลแหงการรวมมือรวมใจของประชาชนและขาราชการก็เสร็จ ส้นิ ลงในราว เดือน พฤษภาคม ๒๕๐๔ มีสถานทร่ี าชการและบานพักซึ่งสรางดวยนํ้าพักน้ําแรงของราษฎร สําเร็จเรียบรอย อน่ึง ผูมีสวนสําคัญย่ิงอีกทานหน่ึงในการสนับสนุนเปนกําลังใจใหการกอสรางก่ิงอําเภอฯ เปนผลสําเรจ็ คอื ทาน พระครปู ลัดปาเรสโก (ผัน) เจาอาวาสวัดบานหนองหนิ ตาํ บลหนองหิน อําเภอยโสธร และทานเปน ผูร เิ ร่ิมกอสรางวัดประชาชุมพลขึ้นมาพรอม ๆ กับการสรางกิ่งอําเภอฯ และในระยะเวลาตอมา หลังจากสรางกงิ่ อําเภอ ฯ เสร็จไมน าน ทานกเ็ ปนผูด าํ เนนิ การต้ังหลกั เมอื งใหเปนศกั ด์ศิ รแี กก ่งิ อําเภอดว ย เม่ือสรางก่ิงอําเภอฯ เสร็จแลว ร.ต.ท.พวง ศรีบุญลือ นายอําเภอยโสธร ก็รายงานผลไปยัง กระทรวงมหาดไทย ขอแยกตําบลโนนเปอย ตําบลโพนงาม ตําบลกําแมด และตําบลไผ จากอําเภอ ยโสธร ตัง้ ขนึ้ เปนก่งิ อาํ เภอกุดชมุ ตามนามหมบู านกุดชุม ซึ่งสถานท่ีท่ีต้ังก่ิงอําเภอฯ อยูใกลท่ีสุด ในท่ีสุดไดมี ประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะข้นึ เปนกงิ่ อําเภอกดุ ชุม เม่ือวันท่ี ๑ สงิ หาคม ๒๕๐๔ โดยทางราชการ ไดแตงต้ังนายพิสุทธ์ิ ฟงเสนาะ ปลัดอําเภอโท อําเภอยโสธรมาดํารงตําแหนงปลัดอําเภอโท ผูเปนหัวหนา ประจํากิ่งอําเภอกุดชุมคนแรก และเร่ิมเปดสถานท่ีราชการติดตอกับประชาชน เมื่อวันท่ี ๒๑ สิงหาคม ๒๕๐๔ โดยผูวาราชการจังหวัดอุบลราชธานี ( นายกําจัด ผาติสุวัณณ ) เปนประธานกระทําพิธีเปด กิ่ง อําเภอกุดชุม ไดรับการยกฐานะข้ึนเปนอําเภอเม่ือพุทธศักราช ๒๕๑๕ ตอมาเมื่อวันที่ ๑ มีนาคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๕ คณะปฏิวตั ิไดประกาศยกฐานะอําเภอยโสธรขึ้นเปนจังหวัดยโสธร อําเภอกุดชมุ เปน อําเภอหนง่ึ ข้ึนอยูก ับจังหวัดยโสธรต้ังแตน้ันมา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๔ ๓.๑ สภาพทางภูมศิ าสตร ๑) ที่ตั้งและขนาดอาํ เภอกุดชมุ ตัง้ อยูทางทศิ ตะวันตกเฉยี งเหนือของจังหวัดยโสธร หา งจาก จงั หวัดยโสธร ๓๗กโิ ลเมตร อยูตดิ ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๒๑๖๙ มพี ื้นที่ ๕๔๔ ตารางกโิ ลเมตร หรือ ๓๔๐,๐๐๐ ไร ๒) อาณาเขตอาํ เภอกุดชุมมอี าณาเขตติดตอกบั อาํ เภอ และจงั หวัดใกลเ คียง ดงั นี้ ทิศเหนือ ตดิ ตอ กับ อําเภอเลงิ นกทา จังหวัดยโสธร และ อ. หนองพอก จ.รอ ยเอ็ด ทศิ ใต ติดตอ กับ อาํ เภอทรายมลู และอําเภอปาติ้ว จังหวัดยโสธร ทิศตะวันออก ติดตอ กับ อําเภอปา ตวิ้ และอาํ เภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร ทิศตะวันตก ติดตอกับ อําเภอทรายมูล จงั หวดั ๓) ลักษณะภูมิประเทศ - สภาพพ้นื ที่ พนื้ ท่ที ่วั ไปเปน ทร่ี าบสงู มีปาไมอยูทัว่ ไป ประเภทของปาไมเปนปา เบญจพรรณ และปาเต็งรัง - ภูเขา ทิศเหนือของอาํ เภอเปนภูเขาสูง สงู จากระดับนํ้าทะเลเฉลีย่ ๒๐๐–๓๐๐ เมตร - แมนํา้ อาํ เภอกดุ ชุม ไมม ีแมนํ้าไหลผาน แตมีลาํ หว ยจํานวน ๘ แหง และมนี า้ํ ตลอดปมี เพยี งแหง เดยี ว คือ หว ยโพง ซ่งึ ไหลผา นตาํ บลกดุ ชุม ตําบลโนนเปอย ตําบลนาโสแ ละตําบลกาํ แมด ๔) สภาพภูมิอากาศลักษณะภูมอิ ากาศ เปน แบบมรสมุ มี ๓ ฤดู คือ - ฤดูรอ น เริ่มต้ังแตเดือนมีนาคม - พฤษภาคม - ฤดูฝน เร่มิ ตัง้ แตเ ดอื นมิถนุ ายน - ตลุ าคม - ฤดูหนาว เร่มิ ตงั้ แตเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ ๓.๒ ความหนาแนนของประชากร จาํ นวนประชากรทัง้ ส้ิน ๓๗,๖๓๙ คน เปนชาย ๑๘,๙๔๕ คน หญิง ๑๘,๖๙๔ คน - ความหนาแนนของประชากร เฉลีย่ ตอพื้นที่ ๑๔๔ คน / ตารางกโิ ลเมตร - ในเขตเทศบาลเทากบั ๕๕๑ คน /ตารางกิโลเมตร (ประชากรในเขตเทศบาลเทา กบั ๕,๗๒๖ คน) - นอกเขตเทศบาลเทา กับ ๑๑๑ คน / ตารางกโิ ลเมตร ๓.๓ เศรษฐกจิ อาชพี หลกั ไดแ ก (อาชพี และธรุ กิจ ) ๑) อาชีพทางการเกษตรประมาณ รอ ยละ ๙๕ ของประชากรทั้งหมด โดยมพี นื้ ทีท่ างการเกษตร ทง้ั ส้นิ ๒๐๕,๑๐๖ ไร (แยกเปนพนื้ ท่ีการทํานาทัง้ หมด ๑๗๔,๓๗๓ ไร ขอมูลจากสนง.เกษตรอําเภอกดุ ชุม) - พืชเศรษฐกจิ คือ ขา ว , มนั สาํ ปะหลงั , แตงโม , ออย , ฟกทองฯ - สัตวเ ศรษฐกิจ คือ โค , กระบือ , สุกร ,เปด , ไก ฯ ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๕ ๒) อาชีพรับจางประมาณ รอ ยละ ๓ ๓) อาชพี คา ขายประมาณ รอยละ ๒ ๔) การอุตสาหกรรมไมม โี รงงานอตุ สาหกรรม ๕) การสหกรณอ ําเภอกุดชมุ มสี หกรณ จํานวน ๑ แหง คือ สหกรณการเกษตรอําเภอ กดุ ชุม โดยมีสมาชกิ ทง้ั หมด ๔๗ กลมุ จํานวนสมาชิกทง้ั หมด ๑,๙๐๙ คน และมีเงินทุนหมุนเวียนใน สหกรณ ๕๔,๙๙๓,๖๙๑.๘๖ บาท ๖) รายไดเฉลยี่ รายไดเ ฉลยี่ ตอคนตอปของอาํ เภอกดุ ชมุ = ๕๓,๗๐๘ บาท ๗) การปกครองแบงเขตการปกครอง ตาม พ.ร.บ.ลกั ษณะปกครองที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ แบงออกเปน ๙ ตําบล ๑๒๘ หมบู าน ประกอบดว ย ลําดบั ที่ ตําบล จํานวนหมูบา น ชาย หญงิ รวม ๑ ตาํ บลกดุ ชมุ ๒๑ ๒,๘๔๕ ๒,๘๘๑ ๕,๗๒๖ ๒ ตําบลกาํ แมด ๑๘ ๑,๔๒๙ ๑,๔๒๓ ๒,๘๕๒ ๓ ตาํ บลโนนเปอย ๑๔ ๓,๑๕๐ ๓,๐๐๙ ๖,๑๕๙ ๔ ตาํ บลนาโส ๑๑ ๑,๐๑๙ ๑,๑๐๗ ๒,๑๒๖ ๕ ตําบลหว ยแกง ๑๔ ๒,๐๔๗ ๒,๐๑๐ ๔,๐๕๗ ๖ ตําบลโพนงาม ๑๗ ๑,๕๗๔ ๑,๕๐๓ ๓,๐๗๗ ๗ ตาํ บลหนองหมี ๑๒ ๒,๕๐๓ ๒,๔๒๒ ๔,๙๒๕ ๘ ตาํ บลคาํ น้ําสรา ง ๑๑ ๒,๐๐๖ ๒,๐๖๔ ๔,๐๗๐ ๙ ตําบลหนองแหน ๑๐ ๒,๓๗๒ ๒,๒๗๕ ๔,๖๔๗ รวม ๑๒๘ ๑๘,๙๔๕ ๑๘,๖๙๔ ๓๗,๖๓๙ ๓.๔ โครงสรางพน้ื ฐาน ไฟฟา จาํ นวนครวั เรือนในอําเภอมที ้งั หมด ๑๑,๒๔๔ ครัวเรอื น มไี ฟฟา ใช ครบทุกครัวเรือน  ประปา มีประปาระดบั อําเภอและหมูบาน ดงั นี้ - การประปาสว นภูมิภาค จํานวน ๑ แหง - ประปาหมบู าน จาํ นวน ๖๘ แหง โทรศัพท มีการใหบรกิ ารติดตอ สอื่ สารทางโทรศพั ทส าธารณะ จํานวน ๑๗๐ แหง ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๖ การคมนาคม การคมนาคมตดิ ตอระหวางอาํ เภอและจงั หวัด รวมท้งั การคมนาคมภายในตําบลและหมูบาน มีรายละเอยี ดดังน้ี - ทางหลวงแผนดนิ หมายเลข ๒๑๖๙ - ทางหลวงชนบท จาํ นวน ๕ สาย - เสน ทางเช่อื มตอ ระหวางตาํ บลและหมบู าน เปนถนนลกู รงั จาํ นวน ๑๑๘สาย แหลง นํ้า (ไมมีแมน ้าํ ไหลผาน) - มีลาํ หว ยไหลผาน ๘ สาย แตม เี พยี งลําหว ยเดยี วท่มี ีน้ําตลอดป คือ ลําหวยโพง - คลองชลประทาน จาํ นวน ๒ แหง - ฝาย จาํ นวน ๔๗ แหง - บอ บาดาล จาํ นวน ๕๐๖ แหง - บอน้ําต้นื จาํ นวน ๖๔ แหง - ถังเกบ็ น้าํ จาํ นวน ๑๘๓ บอ - ถังเกบ็ นา้ํ ฝ. ๓๓ จํานวน ๔๗แหง - โองขนาดใหญ จาํ นวน ๑๘,๐๐๐ ใบ - ถงั เกบ็ นํา้ ฝ. ๙๙ จาํ นวน ๗ แหง ๓.๕ การศึกษา ( การศึกษาจํานวนสถานศกึ ษาในสังกัดตา ง ๆ ดงั น้ี ) สงั กดั สถานศกึ ษา (แหง ) ครู (คน) นกั เรยี น (คน) การประถมศกึ ษา ๕๐ ๔๙๕ ๙,๐๖๘ สามญั ศกึ ษา ๕ ๑๑๕ ๓,๑๐๔ ๑ ๑๕ ๒,๒๓๓ การศกึ ษานอกโรงเรยี น ๕๖ ๖๒๖ ๑๔,๔๐๕ รวม ๓.๖ สังคมและศาสนา มีโรงเรียนประถมศึกษา จํานวน ๕๐ โรงเรียน โรงเรียนมัธยมศึกษา จํานวน ๕ โรงเรียน ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ ๑ แหง วัด ๘๕๖ แหง ที่พักสงฆ ๒๖ แหง วัดคาทอลิค ๑ แหง ราษฎรสว นใหญน บั ถือศาสนาพุทธจํานวน รอ ยละ ๙๙.๖๐ ศาสนาคริสต รอย ละ ๐.๔  การศาสนาและศิลปวัฒนธรรม - นับถือศาสนาพุทธ ประมาณ ๕๙,๘๗๖ คน คดิ เปนรอ ยละ ๙๙.๘๒ - นบั ถอื ศาสนาครสิ ต ประมาณ ๑๐๓ คน คดิ เปนรอ ยละ ๐.๑๗ - มีวัด จาํ นวน ๖๖ วดั (มหานิกาย ๖๔ วัด , ธรรมยตุ นิกาย ๒ วดั ) - มีโบสถค รสิ ต จาํ นวน ๑ แหง (บา นหนองแก ต.กดุ ชมุ ) ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๗ ๓.๗ ดานวัฒนธรรม /ประเพณี /เทศกาล ๑) งานบุญคูณลานขา วอาํ เภอกดุ ชุม ๒)งานบุญบ้ังไฟ ซ่ึงจดั เปนประจําทุกป ในเดอื น มิถนุ ายน ของทกุ ป โดยมีเทศบาลตาํ บลกุดชุม พฒั นารว มกับพ่ีนองประชาชนชาวอําเภอกุดชุมรวมกนั เปน เจา ภาพ ๓)งานสมโภชศาลเจาพอหลักเมอื ง อําเภอกุดชมุ จัดเปนประจาํ ทุกปใ นวันที่ ๑๘ , ๑๙, ๒๐ มีนาคมของทุกป ในวันแรกของการจัดงานจะมกี ารเปลย่ี นผาทรงขององคเจาพอหลักเมือง ซึ่งองคเ จาพอ หลักเมืองเปน ท่ีเคารพ สกั การบูชา และเปนทีย่ ึดเหน่ยี วจิตใจของพน่ี องชาวอาํ เภอกุดชุมเปนอยางมาก ๓.๘ สาธารณสขุ (สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐ) - โรงพยาบาลขนาด ๓๐ เตียง จํานวน ๑ แหง - สาํ นกั งานสาธารณสุข จาํ นวน ๑ แหง - โรงพยาบาลสง เสรมิ สุขภาพตาํ บล จาํ นวน ๑๓ แหง - ศนู ยก ารแพทยแ ผนไทย จาํ นวน ๑ แหง (อยทู ีโ่ รงพยาบาลกุดชุม) - ศูนยพ ฒั นาวัตถุดิบสมนุ ไพร จํานวน ๑ แหง (อยทู ีว่ ดั ทาลาด หมทู ี่ ๓ ตาํ บลนาโส) ๓.๙ หนว ยงานราชการ / หนวยงานอ่นื ๆ - เทศบาลตาํ บล จาํ นวน ๑ แหง - องคก ารบรหิ ารสวนตําบล จาํ นวน ๙ แหง รฐั วิสาหกจิ - การไฟฟา อาํ เภอ จาํ นวน ๑ แหง - การประปาอาํ เภอ จํานวน ๑ แหง - ทที่ ําการไปรษณยี อ าํ เภอ จํานวน ๑ แหง - องคการโทรศพั ท จํานวน ๑ แหง - ธนาคารออมสนิ จาํ นวน ๑ แหง - ธ.ก.ส. จํานวน ๑ แหง - ธนาคารกรงุ ไทย จาํ กัด จาํ นวน ๑ แหง  อ่ืน ๆ........................... - วัด / สถาบันศาสนา จาํ นวน ๔ แหง - แหลง เรยี นรู / ภูมิปญญาทองถ่ิน จํานวน ๕ แหง ๓.๑๐ ศิลปหตั ถกรรมพ้ืนบาน / ผลติ ภัณฑ หน่ึงตาํ บล หน่งึ ผลติ ภณั ฑ อาํ เภอกุดชุมมีส่ิงท่ี เรียกวา ภูมิปญญาชาวบา นเปนท่ยี อมรบั กันในระดับประเทศกว็ า ได ซึ่งเปน สนิ คาหนงึ่ ตาํ บลหน่ึงผลิตภัณฑท ่ีมชี ่ือเสียงโดง ดังมาก ดงั น้ี ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๘ ๑) ผลิตผลขาวหอมมะลิปลอดสารพิษ โดยใชปุยอินทรีย ของกลุมเกษตรกรทาํ นาบานโสกขุมปูน หมูที่ ๒ ตําบลนาโส ซึ่งเปนตัวอยางของชุมชนท่ีมีการจัดการท่ีครบวงจร เร่ิมต้ังแตการปลูกขาวโดยไมใช ปุยเคมีจนถึงกระบวนการแปรรูป ผลผลิตเปนขาวสารปลอดสารพิษสงออกไปจําหนายท่ัวโลก ไดรับการ คัดเลอื กใหเ ปน สินคา หนึ่งตําบล หนึง่ ผลิตภัณฑของตําบลนาโสและไดผานการพิจารณาจากคณะกรรมการ หน่งึ ตาํ บล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑระดบั จังหวัด ไดกําหนดเขา ใน Web Site หนึง่ ตําบล หน่ึงผลิตภัณฑเรียบรอยแลว และในแตละเดือนจะมีกลุมนกั ศึกษา กลมุ นกั ทองเที่ยว กลุม นกั วจิ ัยฯ ไดแ วะเวียนมาศึกษาดูงาน ที่โรงสีขาว บานโสกขมุ ปูน เปน ประจาํ ๒) งานหัตถกรรมกลมุ แมบาน บานโนนยาง ต.กําแมด เปน ผลิตภัณฑจากผาฝายยอมสีธรรมชาติ และนําไปดดั แปลงเปนอุปกรณเคร่ืองใชตาง ๆ เชนกระเปา หมวก ซองใสโทรศัพท กระเปาใสเอกสารและ อื่น ๆ อีกมากมาย กลุมแมบานเกษตรกรฯกลุมนี้มีการบริหารจัดการที่เปนระบบ ไดแบงออกเปนกลุมยอย ตามความถนัดของสมาชิกในกลุม และหนงึ่ ในกลุมยอยนก้ี ็คือกลุมผลิภัณฑจากผาฝายยอมสีธรรมชาติ และ ไดรับการคัดเลือกใหเปนสินาหน่ึงตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ ของตําบลกําแมด และไดผานการพิจารณาจาก คณะกรรมการหน่ึงตําบล หนึ่งผลิตภัณฑระดับจังหวัด ไดกําหนดเขาใน Web Site หน่ึงตําบล หน่ึง ผลิตภณั ฑเรยี บรอยแลว ๓) ผลิตภณั ฑส มุนไพร พชื สมนุ ไพร บานทาลาด หมูท ี่ ๓ ตําบลนาโส ๔) ขา วเกรียบและหตั ถกรรม สานเสนพลาสตกิ บานหนองเมอื งกลาง หมู.๑๐ ต.กุดชุมเปนการ รวมกลมุ กันของกลมุ สตรี ทําเปน ผลิตภัณฑตางๆ เชน ตะกรา แจกัน หมวก ๕) ฟกทองและผลิตภัณฑฟกทอง บานโนนประทาย หมู ๕ ต.หนองแหน ในพ้ืนที่ของตําบลหนอง แหนเปนเขตพนื้ ที่ของภเู ขาเต้ีย ๆ สภาพดินยังเปนดินรวนซุยอุดมสมบูรณป ระกอบกับลักษณะภูมิอากาศที่ เอื้ออํานวยตอการเพาะปลูกพืชไร จึงทําใหบริเวณพ้ืนท่ีดังกลาวของตําบลหนองแหน โดยเฉพาะบานโนน ประทายมีกาปลูกฟกทอง และออยเปนจํานวนมาก ดวยความลงตัวของเหตุผลที่กลาวมาแลวจึงทําใหเกิด การรวมกลุมเกษตรกรกลุมแมบาน เพ่ือนําผลผลิตของเกษตรกรมาแปรรูปและเปนสินคาหนึ่งตําบลหนึ่ง ผลติ ภัณฑข อง ต.หนองแหน ๖) ไรหอมบานนาประเสริฐ หมู ๑๔ ต.โพนงาม บานนาประเสริฐเปนหมูบานเล็ก ๆ หมูบานหน่ึง ในเขต ต. โพนงาม ก็ไมไดแตกตา งจากหมูบานอื่น ๆ เลย ในละแวกเดียวกันเทาใดนักแตเปนท่ีนาสังเกตคอื ประชาชนชาวบา นนาประเสริฐมีผูนําท่ีเขมแข็งราษฎรในหมูบานมีความสามัคคีขยันขันแขง็ ปลูกหอมแบง (ทข่ี ายท่ัวไปตามตลาดสดไมใชหัวหอมแดง) ประชาชนมีความเปนอยูที่ดกี ันทั้งหมบู านรายไดดีกันพอสมควร เพราะมีตลาดรองรับ กลุม พอคา คนกลางไปรับซ้อื กนั ถงึ หมบู าน ๓.๑๑ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม อําเภอกุดชุมมีทรพั ยากรธรรมชาติประเภทปาไม ภูเขา และแหลงนํ้า โดยเฉพาะ ปาไมและภูเขา มี พื้นที่เปนจํานวนมาก และบางแหงเปนปาอนุรักษท่ีคอนขางสมบูรณ เหมาะท่ีจะประกาศเปนเขตอุทยาน แหง ชาติ และเหมาะสําหรบั ทีจะพัฒนาเปน แหลงทองเทย่ี วของจงั หวัด ๓.๑๒ แหลงน้ําธรรมชาติ อําเภอกุดชุมไมมีแมนํ้าไหลผาน มีลําหวย ๘ สาย มีน้ําตลอดปเพียงสายเดยี ว คือ ลําหวยโพง ซ่ึง ไหลผาน ๔ ตําบล คือ ต.กุดชุม ต.โนนเปอย ต.กําแมด และ ต.นาโส มีอางเก็บนํ้าตลอดป ๑๑ แหง และยังมหี นองน้าํ และฝายกั้นนํ้าซึง่ จะมีน้าํ เฉพาะในชวงฤดูฝนเทานน้ั ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๙ ๓.๑๓ ปา ไม อําเภอกุดชุมมีพ้ืนท่ีปาไมท สี่ ําคัญ ไดแก - ปา กาํ แมด มีพ้ืนที่ ๘,๗๐๐ ไร - ปา โคกหนองบวั -นาทม มพี ื้นที่ ๓๐,๙๓๗ ไร - ปา โพธไิ์ ทร มพี น้ื ที่ ๔,๖๓๓ ไร - ปาโพนงาม- ดงปอ มีพน้ื ที่ ๖๙,๘๖๒ ไร - ปา กุดชมุ มพี ืน้ ท่ี ๑๙,๐๖๐ ไร - ปา หนองหวา มพี ้ืนที่ ๑๐,๖๓๐ ไร - ปาดอนตาแตม มีพ้ืนท่ี ๖๐,๐๕๓ ไร - ปา หวยแสนลกึ - หนองหนิ มพี ืน้ ที่ ๒๖,๕๒๖ ไร ๓.๑๔ ดิน พน้ื ดินสวนใหญมสี ภาพเปน ดินปนทราย ไมค อ ยอุมนาํ้ ๓.๑๕ แหลง ทอ งเท่ียว ในเขตพน้ื ที่ของตาํ บลกุดชุม มแี หลงทอ งเทยี่ วทางธรรมชาตดิ ังนี้ ๑) ภูหินปูน ต้ังอยูหางจากบานนามน หมู ๑๖ ต. กุดชุม ประมาณ ๑ กิโลเมตร เปนสวนหนงึ่ ของ แนวภูเขาท่ีทอดยาวเปนชวง ๆ จากอําเภอเลิงนกทา ภูมิประเทศบางแหงมีความละมายคลายภูผาเทิบ จังหวัดมุกดาหาร บริเวณที่โดดเดนท่ีสุด คือ ประติมากรรม หินทรายขนาดใหญฝมือธรรมชาติ คลายเตา ยกั ษโ บราณชูคอ จนอาจถือไดวาเปน สญั ลักษณข องภูหนิ ปูน บางคลายยอดมงกุฎ และรูปสัตวประหลาดตาง ๆ ตามแตม มุ มององศาท่ีมองดูและจนิ ตนาการของผูพบเห็น ในหนาฝน พืชตระกูลหญาที่มีดอกสีสนั สวยงาม นานาชนิดเจริญงอกงามตามลานหิน ที่มีนํ้าไหลผาน ซึ่งพบไดที่ภูผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี ภูผายล จงั หวัดสกลนคร ภูสระดอกบวั จังหวดั มุกดาหาร ใหความประทับจิตเชน ไร ท่ีนี่กใ็ หความประทับใจ เชนนั้น กิจกรรมที่นาสนใจเปนเสนทางของจักรยานเสือภูเขา การเดินปาศึกษาระบบนิเวศวิทยา (Ecological System) เรยี นรคู วามสัมพันธของสรรพส่ิง ทั้งสังคมพืชและสังคมสัตวนอยใหญ ที่กําเนิดมาและอยูรวมกัน อยางย่ังยืนบนภูหินปูนแหงน้ี จากจุดน้ีขางหนาเปนเสนทางท่ีทอดเลื้อยไปตามความสูงของภู ประมาณ ๒๐๐ เมตร ไปสิ้นสุดทีห่ นาผาใหญ ซงึ่ บรเิ วณแหงน้เี ปน ท่ตี ัง้ ของสํานกั สงฆน ามพุทธสถานภูหนิ ปนู ๒) ภหู มากพรกิ ตง้ั อยใู นพืน้ ทบ่ี า นทองสัมฤทธิ์ หมู ๑๕ ต.กุดชุม หา งจากภหู นิ ปูนตามเสน ทาง ถนนลูกรังประมาณ ๘ กม. ธรรมชาติภแู หงน้ียังคงความอุดมสมบูรณตามลักษณะของปา ดิบแลวประกอบ ไปดวยสมุนไพร และสัตวตัวเลก็ ๆ จําพวกกระรอก กระแต กระตายปา ตะกวด ไกปา งู และนก ภมู ปิ ระเทศ บางชว งบางตอนคลา ยภกู ระดึงจังหวัดเลย ตามลาํ หว ยซ่งึ มีน้าํ ไหลผา นลานหิน จะมีปูภูเขาอาศยั อยูตามซอก หินริมน้ํา ชาวบานเรียกปูชนิดนี้วา ปูแปง ลักษณะหลังกระดองมีสีมวง ลําตัวและขามีสีสม จาง ๆ และมี ลกั ษณะพเิ ศษอีกประการคอื ท่ีขาจะมขี นข้ึนประปราย สิ่งตาง ๆ เหลา น้ีเปนเครื่องหมาย แสดงความสําคัญ ท่ลี งตัวของระบบนิเวศไดทางหนึ่งและมีสถานท่ีอันทีน่ าสนใจซงึ่ อยูในบรเิ วณเดียวกันคืออางปากัง้ จนั่ กอบง (แหลง นํา้ ซมึ ) ตนไทรยองและถํ้าพระจันทร ลักษณะเดนอีกอยางของภูหมากพริกคือมีตนจันทผาท่ีสวยงาม ข้ึนตามบริเวณถ้าํ ทีเ่ ปนหินเทิบขนาดใหญ และเปนที่วิปสสนากรรมฐานของพระภิกษุสงฆอันเปนท่ีตั้งของภู หมากพริก ภูหมากพริกยังเปนตํานานของจักรยานเสอื ภูเขาซึ่งทุกปจะมกี ารแขงขันภายใต \"กุดชมุ สูภูหมาก พรกิ ตา นยาเสพติด\" (เร่ิมจัดคร้ังแรกเม่อื ป ๒๕๔๓) ในแตละปจะมีนักแขง จักรยานเสือภูเขาจากทุกภาคใน ประเทศ และ ใหการยอมรบั วาเปน สนามแขง ขนั ท่มี ีความประทับใจไมแ พท่อี ื่น ๆ เลย ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๑๐ ๓) ภูถ้ําสิม ตั้งอยูบานทองสัมฤทธิ์ หมู ๑๕ ต.กุดชุม เปนถ้ําที่มีลักษณะเปนเนินเขาเต้ีย ๆ มีโขด หนิ ขนาดใหญมาก ลักษณะเดนของถ้ําสิม คือ บริเวณรอบ ๆ ถํ้า จะมีพืชสมุนไพรบํารงุ กําลังหลายชนิดเชน ตนพญาเสือโครง ทม่ี ีขนาดตน ใหญม าก ในเขตพน้ื ที่ของตําบลคําน้ําสรา งเขตภูเขาของตําบลคํานา้ํ สราง ชวง ปลายฝนตนหนาวระหวางเดอื นตุลาคม ถงึ เดือนพฤศจิกายนซ่ึงเปนชวงรอยตอฤดูการปลายฝนตน หนาวถือ วาเหมาะสมท่ีสุดในการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ดวยแผนดนิ มีความชุมชื้นแตไมชื้นแฉะเหมาะแกการเดนิ ทาง อากาศกําลังเย็นสบายไมถ ึงหนาวเหน็บ สายธารนํ้าตกยังสาดซาไดเห็นสงั คมพืชตระกูลหญานานาชนิดบน ลานหิน เชน สรอยสุวรรณา ดุสิตา หนาวเดือนหา กระดุมเงิน กระดุมทอง บัวดิน กําลังผลิดอก สะพร่งั งดงามเปนพิเศษ บริเวณทางนํ้าไหลผานกอนจะโรยราตอนส้ินป ดวยบรรยากาศเชนน้ีจึงขอแนะนํา และเชื้อเชิญใหไปทอ งเทีย่ วท่เี ขตพ้ืนทีต่ ําบลคํานํ้าสรา ง ซงึ่ มแี หลง ทองเทย่ี วหลายแหง  ภูถ้ําพระ ตัง้ อยูในพื้นที่บานภูถ้ําพระ ม. ๕ ต. คํานํา้ สราง หางจากอําเภอกุดชุม ประมาณ ๑๔ กม. สภาพพนื้ ท่ีเปนลาหินปูนมีปฏิมากรรมหินทรายฝมอื ธรรมชาติกระจายกันอยูท ่ัวไป และมีพุทธรปู ปางไสยาสน ขนาดใหญและพระพุทธรูปปาง ตาง ๆ ประดิษฐานบนเนินหินดูโดดเดนสะดุดตาทัศนียภาพ สามารถมองเห็นไดรอบทศิ ทาง และในชวงวันท่ี ๒๕ เมษายนของทุกปจะมีชาวบานในพ้ืนท่ีและใกลเคียง ขึน้ ไปสรงนํ้าพระ ซงึ่ ถือเปนประเพณที ่ปี ฏบิ ัติกนั มาชานานแลว  นํา้ ตกนางนอน เดิมช่อื หลุบปลาผาอยหู างจากวัดภูถ้าํ พระประมาณ ๘๐๐ ม. เม่ือถึงที่จอดรถ เดินตอ ไปอีกประมาณ ๒๐๐ ม. ถึงลําหวยซ่ึงมีน้ําไหลผานมาตามลานหินบรรยากาศชุมเย็นแวดลอมดวย ตนไมนอยใหญน านาพันธุชว งทเี่ ปนนํ้าตก สายน้าํ ไหลผานโขดหินและลดระดบั เปนมุมฉากสูลานหินเบ้ืองลาง ถึงจะไมย่ิงใหญอลังการแตก็นับวาเปน ความสวยงาม ท่ลี งตัวทีเดียว นอกจากนั้นบริเวณใกลเคียงกันยังมีถ้ํา ปลาและถา้ํ เจยี อันเรนลบั รอคอยผูมาเยือน  อา งเก็บนํา้ หลบุ หนองนอตงั้ อยูในพืน้ ท่เี ชิงเขาของบานภถู ํา้ พระ ม.๕ ต.คาํ นํ้าสรา ง อา งเกบ็ น้าํ แหง นกี้ อ สรางเสรจ็ เมอ่ื ตนป ๒๕๔๔ พนื้ ทผี่ ิวน้าํ ประมาณ ๕๐ ไร สภาพธรรมชาติยังคงสมบูรณอยูมาก กิจกรรมทน่ี า สนใจคอื ดนู กเปดนํ้า ลองแพ ศกึ ษาธรรมชาติ เดินปาชมสวน รูปทรงแปลกตาพรอมดอกหญา บานบนลานหินดังที่กลาวไวแลว ในตอนตน หรือการปนจักรยานเสือภูเขา รวมถึงเสนทางในการแขงออฟโรด ท่ีนาต่ืนตาตื่นใจไมแพกัน ทุกวันจะมีแมคานําอาหารและเคร่ืองดื่มมาจําหนายดวย ที่น่ีถือเปนดาวรุงของ แหลง ทองเท่ียวอําเภอกุดชุม ในเขตพื้นที่ของตําบลหนองแหน จากอาํ เภอกุดชุมไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนอื ประมาณ ๒๕ กิโลเมตร คือพื้นที่ ตําบลหนองแหนที่ครอบคลุมพ้ืนท่ีประมาณ ๘๒ ตารางกิโลเมตร ดวยการที่มีแนว ภูเขาหนิ ปนู พาดผาน จงึ กอใหเกิดภูมิประเทศท่ีงดงามไปดว ยภูผา หุบเขาผืนปา ผืนน้ํา ลาสัตวนอยใหญและ วัดเชิงภู สวนพ้ืนราบนอกจากการทํานาตามวิถีชีวติ ของชาวอีสานแลว ท่ีน่ียังเปนแหลงผลติ ยางพารา ออย พุทรา และฟก ทองบานโนนประทายอันเล่ืองชื่อ โคขุนก็เปนหนึง่ สินคาประเภท หน่ึงตําบล หน่ึงผลิตภัณฑ คอื กระติบขาวท่ีทาํ มาจากกกกก็ าํ ลงั มาแรงดวยความท่ีอยูหา งไกลตวั อําเภอและถนนหนทางบางชวงก็ขรขุ ระ ไปบา ง จงึ อาจเปนสาเหตุหน่ึงท่ีทาํ ใหท รัพยากรการทอ งเทีย่ วยงั มิไดเปดตวั ตอสาธารณชนมากนักเสมือนหน่งึ มมี านบังบาง ๆ มาบดบงั ไวในโอกาสน้จี ึงใครขอรายงานทานอยา งคราว ๆ ดังน้ี ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๑๑ ๑) ภูทางเกวียนตั้งอยูบริเวณทางเขาอางกกกุง เปนสวนหน่ึงของแนวภูหินปูน ภูแหงน้ียังอุดม สมบูรณไปดวยปาดิบแลง และทุงหญาตามลานหิน จากยอดภูจะมองเห็นภูผาขาว ภูอีดาง ภูจอกอ นอกจากนี้ยังเปนสถานท่ีตั้งของวัดภูทางเกวียน จากเชิงเขามีทางขึ้นวัดได ๒ ทาง เสนทางแรกเปน ทางเดินไปตามบันไดคอนกรีต สว นเสนทางท่ีสองเปนถนนคอนกรีต ซ่ึงสามารถขับรถยนตถึงบริเวณวัดได อยางสะดวกสบาย สาเหตุท่เี รียกกันวา ภูทางเกวียน นี้ เน่ืองจากบนภูเขามรี องหินสองรอ งขนานกัน คลาย รอยลอ เกวียน โดยมเี รอ่ื งเลาสืบตอกันมาวา มผี ูนําเกวียนบรรทุกของมีคามาซุกซอนไว ณ บรเิ วณแหงน้ี ใน อดีตจึงมีผูพยายามขุดคนหาของมีคาและวัตถุโบราณกัน เพราะความสวยงามของภูแหงน้ีจึงเปนสวนหน่ึง ของคาํ ขวัญอําเภอกุดชุม ท่ีวา \" งามนิมิตภูทางเกวียน \"และหากมาเยือนชวงปลายฝนตนหนาว ทา นจะได พบกับวฏั จักรธรรมชาติ ของภทู างเกวยี นภาคอสี าน คอื ทงุ ดอกหญาบนลานหินดวย ๒) อางเก็บนํ้ากกกุง ตั้งอยูหมูที่ ๑ ต.หนองแหน มีพ้ืนท่ีผิวนํ้าประมาณ ๑๐๐ ไร หางจากตัว อําเภอกุดชุมประมาณ ๓๐ กิโลเมตร อยูระหวางภูทางเกวียน และภูเพ แหลงน้ําแหงน้ีอุดมไปดวยปลา ธรรมชาติ และปลาที่หนวยงานกรมประมงนํามาปลอย ในอนาคตอันใกลนี้หวังวาจะมีผลผลิตจากกุง กา มกรามอีกดว ย เพราะเม่ือวนั ท่ี ๑๖ กนั ยายน ๒๕๔๕ ท่ผี า นมาน้ี ทานสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดยโสธร นายสมบูรณ ทองบุราณ รวมกับนายอําเภอกุดชุม และ อบต. หนองแหน ไดรวมกันปลอยพันธุกุง กามกรามเปนจํานวน ๒๐๐,๐๐๐ ตัว เน่ืองจากเปนแหลงนํ้าขนาดใหญท่ีสุด ของตําบลหนองแหน ประกอบกับทัศนยี ภาพโดยรอบเปน ภูเขาและปา ไมย ังอุดมสมบูรณเปน อยางยิง่ อางกกกุง จึงเปรียบดุจเพชร เม็ดงามท่ีซุกซอนอยูกลางปาเขา เฝารอคอยเพ่ือมอบความประทับใจแดผูมาเยือน กิจกรรมที่นาสนใจคือ การเดนิ ปา การตกปลา ต้งั แคมปป งหรอื นง่ั เรือชมอางเก็บน้ํา ๓) ภูผาขาว เปนสว นหน่ึงของภูหินปูน มองเห็นแตไกล ลักษณะเปนหนาผาสีขาวโดดเดน สวนที่ เชิงภูเปนที่ตั้งของสํานักสงฆภูผาขาว ซึ่งมีศาลาหลังใหญสรางใตแนวหินเทิบยาวประมาณ ๑๐๐ เมตร บรรยากาศโนน นาวความรูสกึ ใหเ ห็นถงึ ความย่ิงใหญข องขุนเขา ชาวบานทค่ี นุ เคยกับพื้นท่ีมักจะข้ึนไปหาของ ปา ตามเสนทางนี้ ๔) ดานยาว (สนามฮอ) หางจากสํานักสงฆภูผาขาว ดวยระยะทางเทาคดเค้ียวไปตามสันภู ประมาณ ๑ กิโลเมตร เปนลานหินขนาดใหญมากคํานวณดวยสายตาคงมีพ้ืนที่ขนาดสนามฟุตบอล ๒ สนามตอกัน ดารดาษไปดวยทุงดอกหญา บนลานหิน โดยเฉพาะดอกกระดุมเงนิ จะมีมากเปนพิเศษ ที่น่ีเปน แหลงอาหารของกระตายปา ซ่ึงกระจัดกระจายอยูท่ัวไปหมด นอกจากน้ียังเปนจุดลงเฮลิคอปเตอรของกรม ปา ไมทม่ี าดาํ เนนิ การดบั ไฟปา โดยมีสัญลักษณเ คร่อื งหมายวงกลมสขี าวขนาดใหญ ภายในทาสีแสด ลักษณะ คลายพยัญชนะตัวไอ (ตวั พิมพใหญในภาษาอังกฤษ)กิจกรรมท่ีนาสนใจการเดินปาทองเท่ียวเชิงนิเวศ สวน การตั้งเตนพักแรมก็เปนกิจกรรมท่ีทาทายใหความรูสึกเหมือนบรรยากาศท่ีภูกระดึง แตตองระมัดระวัง ผลกระทบตอ สภาพแวดลอ มด้ังเดมิ ดวย ๕) ดานฮังรนิ ต้ังอยไู หลเขาลักษณะเปนลานกวาง หางจากดานยาว ประมาณ ๗๐๐เมตร โดย การเดินย่ําขึ้นย่ําลงไปตามภูมิประเทศปาดิบแลง ที่ยังคงความสมบูรณเปนอยางยิ่ง ดานแหงนี้ถือวาเปนอีก หนง่ึ แหง ความสดุ ยอด เหน็ ความหลากหลายของสังคมพืช ภาพเบื้องหนาเปนทุงดอกกระเจียวขึ้นสลับกับทุง หญาภูเขาชนิดตา ง ๆ ตน รงั ตัวผู - ตัวเมีย ข้ึนเปนหยอม ๆ บางตนใบสแี ดงบางตน ใบสีขาว มองไปรอบตัว เห็นภูลอมรอบ ๓๖๐ องศา อยูใกล ๆ ราวกับมือจะเอ้ือมถึงและท่ีนี่เปน ตนน้ํา ฮองฮังริน \"ลักษณะเปน รอ งน้ําทไี่ หลผา นโขดหนิ รูปทรงแปลกตา เปน แนวคดเคย้ี วทอดต่ําลงสตู นี ภู ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๔. โครงสรางสถานศึกษา ผอู ํานวยการสถานศึกษา ๑๒ กศน.ตาํ บล/ศรช. คณะกรรมการ สถานศกึ ษา กลมุ งานอํานวยการ กลุม งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ กลมุ งานภาคเี ครือขาย และการศกึ ษาตามอัธยาศัย และกิจการพเิ ศษ - งานบคุ ลากร - งานการศึกษาพน้ื ฐาน - งานประสาน สนับสนนุ เครอื ขา ย - งานการพสั ดุ - งานการศกึ ษาฝก ทกั ษะอาชพี - งานโครงการอนั เนอื่ งมาจาก - งานบริหารท่ัวไป พระราชดําริ - งานประชาสมั พันธ - งานการศึกษาพฒั นาทักษะชีวิต งานจิตอาสา/บาํ เพ็ญประโยชน - งานอาคารสถานที่ - งานการศกึ ษาพัฒนาสังคมและ - งานโครงการพิเศษ - งานธรุ การและงานสารบรรณ ชมุ ชน * ยาเสพตดิ /โรคเอดส - งานการเงิน - งานทะเบยี นวัดผลและประเมินผล * โรคตดิ ตอรายแรง - งานการบญั ชี - งานขอมลู นักศึกษา GPA/GPR * โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ - งานแผนงาน/โครงการ - งานศูนยใหคาํ แนะแนวปรกึ ษา * ผสู งู อายุ/ผูพิการ - งานขอ มลู สารสนเทศและการ - งานหองสมุดประชาชน * ประชาธปิ ไตย รายงาน - งานกิจกรรม กพช. * สงเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม - งานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา - งานปฐมนิเทศ/ปจฉิมนเิ ทศ - งานสนบั สนุน สง เสรมิ นโยบาย - งานศูนยราชการใสสะอาด - กจิ การนักศึกษา/องคก รนกั ศกึ ษา จงั หวัด/อาํ เภอ - งานนโยบายเรง ดว นตามยุทธศาสตร - งาน กศน.ตาํ บล/ศนู ยก ารเรยี น * สง เสริมประเพณแี ละวัฒนธรรม - งานสนบั สนุนการตรวจราชการ ทอ งถิ่น - งานนิเทศ ชุมชน * สงเสริมสถานบันหลักของชาติ - งานควบคมุ ภายใน/บรหิ ารความ - งานพัฒนาหลกั สูตร นวตั กรรม - กิจกรรมลกู เสือและยวุ กาชาดนอก เส่ยี ง - งานเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรยี น - งานสถานศกึ ษา 5 ดี พรีเมีย่ ม ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๑๓ ๔.๑ ขอมูลของสถานศกึ ษา ๔.๑.๑ ครแู ละบุคลากร ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ มีจํานวน ๒๐ คน บุคลากรท่ปี ฏิบตั งิ านในสถานศึกษา ดงั นี้  ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอกุดชมุ นางสาวยี ะ พนั ธฤุ ทธิ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศกึ ษา  ครูชาํ นาญการ (ค.บ.) บรรณารกั ษศาสตรบ ัณฑติ นางบศุ รา คมจิตร  ครูผูช ว ย นายวเิ ชียร คําเบา เมอื ง (ค.บ.) ครุศาสตรบ ณั ฑิต  บรรณรกั ษป ฏบิ ตั ิการ (ศศ.บ.) สารสนเทศศาสตร นางสาวนฐั นาฏ เบญมาตย  พนักงานราชการ ตาํ แหนง ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียนจาํ นวน ๑ อัตรา ที่ ชอื่ - สกุล เพศ วฒุ ิการศึกษา ตาํ บลทีร่ บั ผดิ ชอบ ๑ นายบุญไตร พนั เพช็ ร ชาย ( ค.บ.) เกษตรกรรม ตําบลโพนงาม ตําบลหนองแหน ตําบลหนองหมี ตาํ บลคาํ นาํ้ สรา ง ตําบลหว ยแกง ตําบลโนนเปอย ตาํ บลกาํ แมด ตําบลนาโส ตําบลกุดชุม ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

 พนกั งานราชการ ตาํ แหนง ครู กศน.ตาํ บล จาํ นวน ๑๒ อตั รา ๑๔ ตาํ บลที่รบั ผดิ ชอบ ที่ ชอ่ื - สกุล เพศ วุฒกิ ารศกึ ษา ๑ นางสาวใกลร ุง บญุ ภูงา หญงิ ( ค.บ.) ภาษาไทย ตําบลกดุ ชุม ๑ ๒ นายสทุ ธิเดช พันธขาว ชาย (ค.บ.) เคมี ตาํ บลกุดชุม ๒ ๓ นายเมทนี ผลจนั ทร ชาย (บธ.บ.) คอมพิวเตอรธ ุรกจิ ตําบลกําแมด ๑ ๔ นางสาวสวุ ลกั ษณ ประทุมวัน หญงิ (ศศ.บ.) การทองเท่ยี วและการ ตาํ บลกาํ แมด ๒ โรงแรม ๕ นายนรนิ ทร มลุ ะสวี ะ ชาย (วท.บ.) เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ตาํ บลคาํ น้ําสราง ๑ ๖ นางสาวบษุ บา กองศรมี า หญิง (บธ.บ.) การตลาด ตาํ บลคาํ น้าํ สราง ๒ ๗ นางสาวชนิดาภา เขง หลา หญิง (ศศ.บ.) การทอ งเทีย่ ว ตําบลหวยแกง ๘ นางสาวกฤษติกา ศภุ ชาติ หญิง (ศษ.ม.) การบริหารการศกึ ษา ตําบลหนองหมี ๙ นางสาวปรานอม มาตขาว หญงิ (วท.บ.) วิทยาศาสตรการกฬี า ตําบลนาโส ๑๐ นายฉันทติ ย ศรีจนั ทร ชาย (น.บ.) นติ ศิ าสตร ตาํ บลโพนงาม ๑๑ นางสาวสิรกิ ร แสงกลา หญงิ (บธ.บ.) การตลาด ตําบลหนองแหน ๑๒ นางสาวศริ พิ ร ชาบตุ รชนิ หญิง (วท.บ.)วิทยาการคอมพวิ เตอร ตําบลโนนเปอย ครสู อนผูพกิ าร จํานวน ๒ อัตรา วุฒิการศกึ ษา ท่ี ช่ือ - สกุล เพศ ๑ นางสาวกติ ตพิ ร แกนแกว หญงิ (ศศ.บ.) บรรณารกั ษศ าสตรแ ละสารนิเทศศาสตร ๒ นายจนั ทรานนท ไตรยสทุ ธ์ิ ชาย (วท.บ.) วิทยาศาสตร พนักงานบริการ จาํ นวน ๑ อัตรา วุฒกิ ารศกึ ษา ที่ ชื่อ - สกุล เพศ ๑ นายปญจพล ปาละวงค ชาย (บธ.บ.) การตลาด ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๑๕ ๔.๑.๒ สรุปจํานวนบคุ ลากร ตํากวา ป.ตรี จํานวน รวม ป.ตรี ป.โท ป.เอก จํานวน ประเภท/ตําแหนง -- ๑- ๑ ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ตําแหนง ผูอาํ นวยการ กศน.อาํ เภอ -๒- - ๒ ขาราชการครู -๑- - ๑ บุคลากรทางการศกึ ษา ตาํ แหนง บรรณรักษป ฏบิ ัติการ - ๑๒ ๑ - ๑๓ พนกั งานราชการ ครศู นู ยก ารเรียนชุมชน ---- - ครสู อนผูพกิ าร พนกั งานบรกิ าร -๒- - ๑ รวมจํานวน -๑- - ๑ - ๑๘ ๒ - ๒๐ ๕. ขอ มูลนกั ศกึ ษา กศน.อาํ เภอกุดชมุ จดั การเรยี นการสอนการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 3 ระดบั ดงั นี้ ระดับการศกึ ษา ผลการดาํ เนินงาน จํานวน ภาคเรยี นที่ ภาคเรียนท่ี ครผู สู อน/ การศกึ ษานอกระบบขน้ั พ้ืนฐาน 1/2565 2/2565 วทิ ยากร - ระดับประถมศึกษา - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน 44 38 5 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 359 354 17 523 534 17 รวม 926 926 17 จํานวนผเู รียนรวม 1,852 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๑๖ ๖. แหลงเรยี นรู ภูมิปญญาทองถน่ิ และเครือขา ย ๖.๑ แหลงเรียนรู ๖.๑.๑ กศน.ตาํ บล กศน.ตาํ บล ท่ีต้งั ผรู บั ผดิ ชอบ กศน.ตาํ บลกดุ ชุม บานเอราวณั หมู ๑๒ ต.กดุ ชมุ นางสาวใกลร งุ บุญภงู า กศน.ตําบลคาํ นา้ํ สรา ง นายสุทธิเดช พันธขาว กศน.ตาํ บลหนองแหน บา นเที่ยงนาเรียง หมู ๖ ต.คาํ นา สราง นายนรินทร มุละสวี ะ กศน.ตาํ บลโพนงาม นางสาวบษุ บา กองศรีมา กศน.ตาํ บลหนองหมี กศน.ตาํ บลโนนเปอ ย บานหนองแหน หมู ๑ ต.หนองแหน นางสาวสิรกิ ร แสงกลา กศน.ตาํ บลกําแมด บา นแดง หมู ๑๓ ต.โพนงาม นายฉันทติ ย ศรจี นั ทร กศน.ตําบลนาโส กศน.ตําบลหวยแกง บานหนองแคน หมู ๓ ต.หนองหมี นางสาวกฤษติกา ศภุ ชาติ บานโนนเปอ ย หมู ๑ ต.โนนเปอ ย นางศิริพร ชาบุตรชิน บานกาํ แมด หมู ๑ ต.กาํ แมด นายเมทนี ผลจันทร นางสาวสวุ ลักษณ ประทมุ วัน บานโคกสวาท หมู ๑๐ ต.นาโส นางสาวปรานอม มาตขาว บา นหัวนา หมู ๖ ต.หวยแกง นางสาวชนิดาภา เขงหลา ๖.๑.๒ ศนู ยก ารเรยี นรูเ ศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม ประจําตาํ บล แหลง เรยี นรู ที่ต้งั ผรู ับผดิ ชอบ ครู กศน.ตําบล ศนู ยเรียนรูฯ ทั้ง ๙ ตาํ บล จํานวน ๙ ตําบล ๖.๑.๓ ศนู ยสงเสรมิ ประชาธปิ ไตย กศน.ตาํ บล ทต่ี ัง้ ผรู ับผดิ ชอบ แหลง เรียนรู ครู กศน.ตําบล ศส.ปชต. ทงั้ ๙ ตาํ บล จํานวน ๙ ตําบล ๖.๑.๔ ศนู ยดิจทิ ัลชมุ ชน กศน.ตาํ บล ทีต่ งั้ ผรู ับผดิ ชอบ แหลงเรยี นรู จํานวน ๙ ตาํ บล ครู กศน.ตาํ บล ศนู ยดจิ ทิ ลั กศน.ตําบล ทงั้ ๙ ตําบล ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๑๗ ๖.๑.๕ แหลงเรียนรใู นชมุ ชน ท่ี ชือ่ แหลง เรียนรู องคความรู ๑ องคการบริหารสวนตําบล ( ทัง้ ๙ แหง ) จัดหาส่อื การเรียนการสอน,คอมพิวเตอร ชุมชน,หองสมุดชมุ ชน/วิทยากร ๒ โรงพยาบาลกุดชุม การแพทยแผนไทย ๓ โรงสขี าวชุมชนรกั ษธรรมชาตนิ าโส เกษตรอินทรีย ๔ วัดปาประชาชุมพล อําเภอกดุ ชมุ พระใหญค ูบาน ๕ กลมุ ทอผา ยอ มสีธรรมชาติ บา นโนนยาง ต.กําแมด ทอผายอ มสีธรรมชาติ ๖ สาํ นกั งานสาธารณสุขอาํ เภอกุดชมุ แหลงเรียนรูเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยใน ชมุ ชน ๗ โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพ ประจาํ ตําบล ๑๓ แหง แหลงเรียนรเู กี่ยวกับสุขภาพอนามัยใน ชมุ ชน/การตรวจสขุ ภาพ/วิทยากร ๘ โรงเรยี นกุดชมุ วทิ ยาคม อาคารสถานที่/วิทยากร ๙ สถานตี ํารวจภูธรกดุ ชมุ กฎหมายเบ้อื งตน,ความรู เรอ่ื ง ยาเสพติด ๑๐ สาํ นกั งานเกษตรอําเภอกุดชุม การทําเกษตรกรรม ๑๑ ศาลเจา พอ หลักเมอื งอาํ เภอกดุ ชมุ ๑๒ วัดปาพุทธิคุณ ต.หนองแหน ความร,ู ประวัติศาสตร ๑๓ ศนู ยเรยี นรูป รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง บานคํามว งไข คุณธรรม จริยธรรม ต.โนนเปอย สวนอางแกวโดย คุณพอศรเี ทพ คชนะ ศูนยเรยี นรูปราชญช าวบาน ๑๔ วดั กดุ ชุม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม การเรียนรเู กษตรทฤษฎีใหม ๑๕ ศนู ยปฏิบตั กิ สกิ รรมโคกหนองนาบานสองคร หมู ๕ ต.กดุ ชมุ โดยนายพสิ ยั กาลจักร การเรียนรูเกษตรทฤษฎีใหม,เกษตร ธรรมชาติ ,ขาวอินทรีย ๑๖ ศนู ยเรียนรปู รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง บา นกุดหนิ ม.๔ ต.กําแมด อ.กุดชุม โดย นายสวุ ิท ธนาคุณ ๑๗ ศนู ยเรยี นรูปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง บา นภูถาํ้ พระ หมู ๕ การเรยี นรูเ กษตรทฤษฎีใหม,เกษตร ต.คํานํ้าสราง อ.กุดชมุ ผสมผสาน โดย นายสรุ ยิ า หงษล อยวงค ๑๘ วดั บานโนนใหญ หมู ๙ ต.หวยแกง สถานที่คนควาศลิ ปวัฒนธรรมพ้ืนบาน ๑๙ โรงเรยี นในระบบ ในพ้นื ที่ ทง้ั ๙ ตาํ บล อาคารสถานที่/วทิ ยากร ๒๐ กลมุ โคขนุ บานหนองแหน หมู ๗ ต.หนองแหน วิสาหกิจชมุ ชน/อาชพี การเล้ียงสตั ว/การ อ.กดุ ชุม โดย นายสพุ ี วงศพทิ ักษ แปรรปู ผลิตภณั ฑโ คขุน ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๑๘ ๖.๒ ภูมิปญ ญาทองถ่นิ ท่อี ยู หลักสตู ร /องคค วามรู/ ที่ ชอ่ื - สกลุ วัดปา พุทธิคณุ ต.หนองแหน ความชํานาญ/ประสบการณ ๑ พระครอู รัญวัฒนคณุ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๒ นายสรุ ยิ า หงษล อยวงษ บา นภถู ํา้ พระ หมู ๕ เกษตรอินทรยี /เกษตรทฤษฎี ๓ นายศรีเทพ คชนะ ต.คําน้าํ สรา ง ใหม ๔ นางอนงค สุวรรณเพ็ชร ๕ นางเสงี่ยม ช่นื ตา ๗๒ หมู ๑๐ ต.โนนเปอย ยาสมุนไพร/เศรษฐกจิ พอเพียง ๖ นางสมทรง สวุ รรณเพชร ๗ นางสมุ าลา สังเกตกิจ ๖๙ หมู ๑๑ ต.กําแมด ทอผา ยอมสธี รรมชาติ ๘ นางสงั เวียน ครผุ าด ๓๖ หมู ๑๒ ต.หนองหมี งานตัดเยบ็ /งานประดษิ ฐ ๙ นายสุพี วงศพ ทิ กั ษ ๓๔ หมู ๑๒ ต.กดุ ชุม ทอเส่อื กก ๑๐ นางคาํ บวน พรมวงษ ๑๑ นายพสิ ัย กาลจักร บา นโคสวาท หมู ๑๐ ต.นาโส การทอผายอมสีธรรมชาติ ๑๒ นายอดลุ ย มลุ ะสีวะ บานโนนเปอย หมู ๑ ต.โนน การทําปลาสม ๑๓ นางสวุ รรณา ไชยรักษ เปอย การแปรรูปผลิตภณั ฑจ าก ๑๔ นางสายลม แสงศรี บานหนองแหน หมู ๗ โคขนุ ต.หนองแหน ศลิ ปะการแสดงหมอลาํ ๑๕ นางจําลองรักษ เสนาพรม ๒๐ หมู ๕ ต.หวยแกง บานสองคร หมู ๕ ต.กุดชุม โคกหนองนา โมเดล บานสองคร หมู ๕ ต.กุดชมุ การบรหิ ารจัดการขยะ/ชุมชน ปลอดขยะ (ขยะทองคาํ ) บานนาสะแบง หมู ๖ ต.โนน การทอผา ยอมคราม/ผา ลาย เปอย ขอ บานโคกสูง หมู ๙ ต.กดุ ชมุ การแปรรูปผา พน้ื เมือง /การ บานกดุ ชมุ หมู ๘ ต.กุดชมุ ตัดเย็บกระเปาจาผาพ้ืนเมือง การทําขนมไทย ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๑๙ ๖.๓ ภาคีเครือขาย ๑) ภาคที กุ ภาคสวนใหการสนบั สนนุ สงเสริม และรวมจดั การศึกษา ๒) ภูมิปญ ญาทอ งถิ่นมสี วนรวม และสนบั สนุนการจัดการศกึ ษา ที่ ช่อื ภาคเี ครอื ขา ย กจิ กรรมท่สี นับสนุน/รวมจัด ๑ องคการบริหารสวนตําบล ( ท้ัง ๙ แหง ) จดั หาสอ่ื การเรยี นการสอน ๒ โรงพยาบาลกดุ ชมุ การแพทยแ ผนไทย/สถานที่อบรม ๓ โรงสีขา วชมุ ชนรักษธรรมชาตินาโส สถานที่อบรมเกษตรอนิ ทรีย ๔ ศนู ยใ กลบ านใกลใ จ อําเภอกุดชุม วิทยากร,เวชภัณฑ ๕ กลุม ทอผา ฝา ยยอ มสีธรรมชาติ ต.นาโส ฝก ทอผายอมสธี รรมชาติ ๖ สํานักงานสาธารณสขุ อาํ เภอกดุ ชมุ ยกระดับการศกึ ษา กลุม อสม. ๗ สถานีอนามัยประจําตาํ บล ๑๒ แหง ยกระดับการศกึ ษา กลมุ อสม. ๘ โรงเรยี นกดุ ชมุ วิทยาคม อาคารสถานท่ี,วทิ ยากร ๙ โรงเรยี นอนุบาลกดุ ชุมพัฒนา (ศรีวสิ ารรังสรรค) อาคารสถานที่,วิทยากร ๑๐ โรงเรยี นโพนงามพิทยาคาร สถานที่, วทิ ยากร, คอมพิวเตอร ๑๑ โรงเรยี นเมอื งกลางประชานกุ ลู วิทยากร ๑๒ โรงเรยี นเทศบาล ๑ กุดชมุ คุรุราษฏรบาํ รุง สถานที่, วิทยากร, คอมพิวเตอร ๑๓ โรงเรยี นบริหารธุรกจิ (เคเทค) สถานที่, วิทยากร, คอมพวิ เตอร ๑๔ โรงเรยี นบานคําน้ําสราง สถานที่, วิทยากร, คอมพิวเตอร ๑๕ โรงเรยี นหวยแกงหนองศาลา สถานที่, วิทยากร, คอมพิวเตอร ๑๖ โรงเรยี นโนนยาง สถานที่, วทิ ยากร, คอมพวิ เตอร ๑๗ สถานตี ํารวจภูธรกดุ ชุม วิทยากร ๑๘ สํานกั งานเกษตรอาํ เภอกุดชมุ วทิ ยากร ๑๙ สํานกั งานพัฒนาชุมชนอาํ เภอกุดชุม วิทยาการ ๒๐ วดั ปาพุทธคิ ุณ ต.หนองแหน สถานที่, วทิ ยากร ๒๑ วดั กุดชมุ สถานท่ี, วทิ ยากร,สือ่ อปุ กรณตาง ๆ ๒๒ ศนู ยเ รยี นรปู รัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง บานภถู ้ําพระ หมู ๕ สถานท่ี, วทิ ยากร ต.คํานา้ํ สรา ง โดย คณุ พอสรุ ิยา หงษล อยวงษ สนบั สนนุ สอ่ื อปุ กรณตาง ๆ สถานท่ี, ส่ืออปุ กรณตาง ๆ ๒๓ เทศบาลตําบลกดุ ชุมพฒั นา วิทยากร ๒๔ ทท่ี ําการปกครอง อาํ เภอกุดชุม วิทยากร ๒๕ ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณการเกษตร สาขากุดชมุ ๒๖ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ (จํานวน ๑๓ แหง) วิทยากร ๒๗ สํานกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ (กกต.) จังหวดั ยโสธร ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒๐ บทท่ี ๒ สถานการณย าเสพตดิ รอบสถานศกึ ษา 1. สถานการณป จ จบุ ัน ดว ยสถานการณป ญหายาเสพติดของประเทศในปจ จุบันจัดไดวาอยูในขั้นวิกฤต โดยสถานการณการ แพรร ะบาดของยาเสพติดไดทวีความรุนแรงข้ึนอยางรวดเร็ว เพราะมีการผลติ ยาเสพติดทั้งภายใน ประเทศ และมีการลักลอบนําเขามาจากตางประเทศมากมายหลายชนิด เชน เฮโรอีน ยาบา ยาอี เปนตน ถึงแม เจา หนาทจ่ี ะไดปราบปรามจบั กุมการคายาเสพติดอยางเขมงวดและจริงจัง แตก ็ไมทําใหการแพรระบาดของ ยาเสพตดิ ลดลงเลยแตก ลบั ทําใหผ ผู ลิตไดพ ฒั นายาเสพติดใหออกฤทธิ์ไดแรงข้ึนและการตรวจพบสารเสพติด ในตวั ผเู สพไดยากขนึ้ ทําใหเจาหนาท่ีจับกุมไดยากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในการดําเนินการปราบปรามยาเสพติด ยังมเี จาหนาทข่ี องรัฐจํานวนไมนอยเขา ไปมีผลประโยชนแ ละมีสวนเก่ียวของกับการคายาเสพติดเสียเอง ทํา ใหก ารปองกันและปราบปรามยาเสพติดไมส ัมฤทธผ์ิ ล จากสภาพสังคมทเี่ ปลี่ยนแปลงไปอยางมากในปจจุบัน การส่ือสารเทคโนโลยีตางๆ สงผลกระทบตอ ประชาชนท้ังในเชิงบวกและเชิงลบ ซ่ึงปรากฏปญหาใหเห็นมากมายทัง้ ทางดานเศรษฐกิจ ดานสังคม และ ดา นอ่ืนๆ โดยเฉพาะอยางย่ิงปญ หาการแพรระบาดของยาเสพติด อันนํามาซ่งึ ปญหาครอบครัวท่ีเกิดความ ทุกขความวิตกกังวล ความเครียด มีการปรบั ตัวที่ไมเหมาะสม หรืออื่นๆ ความสําเรจ็ ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา ผเู รยี น ผูรบั บริการ ใหเปนคนดี มีคณุ ธรรมตามความคาดหวงั น้ัน ตอ งอาศัยความรวมมือจากผูที่เกี่ยวของทุก ฝาย โดยเฉพาะบุคลากรทางการศึกษาทกุ คนในสถานศกึ ษา ซึ่งมีครู เปนหลักสําคญั ในการดาํ เนนิ การพัฒนา คณุ ภาพชีวิตของผเู รียน ผูรบั บรกิ าร ใหเตบิ โตงดงามและเปนบุคคลทม่ี คี ณุ คา ของสงั คม การพัฒนาผูเรียน ผูรับบริการ ใหเปนบุคคลที่มีคุณภาพท้ังดานรางกายจิตใจ และสติปญญา มี ความรู ความสามารถ และมีคุณธรรมจริยธรรม ดําเนินวิถีชีวิตที่เปนสุขตามท่ีสังคมมุงหวัง โดยผาน ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ท่ี ส ถ า น ศึ ก ษ า ทุ ก แ ห ง ต อ ง ดํ า เ นิ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม น โ ย บ า ย ข อ ง กระทรวงศึกษาธิการ ท่ีตองการ ใหเยาวชน เปนคนเกง คนดี ดํารงตนใหอยูในสังคมอยางมีความสุข นอกจากจัดกิจกรรมทีส่ ง เสรมิ และสนบั สนุนใหผ เู รียน ผรู ับบรกิ าร ไดรับกระบวนการเรียนรูแลว การปองกัน และการชวยเหลือแกไขปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นจากปจจัยเสี่ยงรอบสถานศกึ ษาที่มีพฤติกรรมไปเก่ียวของกับ ยาเสพติด รานเกม การพนัน หนเี รียน ทะเลาะวิวาท กออาชญากรรม เปนปญหาสังคมท่ีผูปกครอง ครู ทุก คนที่เกี่ยวของ ตองเขาไปชวยเหลือและแกไขปญหาไมใหมีพฤติกรรมเส่ียง ซึ่งมาจากปจจัยเสี่ยงและ ผลกระทบจากแหลง อบายมขุ ดังแผนภาพตอ ไปน้ี ปจ จัยเสยี่ งและผลกระทบจากแหลง อบายมขุ บคุ คล ครอบครวั สถานศกึ ษา ชมุ ชน เดก็ และเยาวชน ขาดความอบอุน สอนทอ งจาํ มงุ วิชาการ ยากไรออ นแอ ตกอยใู นภาวะเส่ียง แตกแยก เหินหา ง ขาดการพัฒนารอบดาน หวงั รอรบั ความชวยเหลอื แผนภาพที่ ๑ ปจจยั เสี่ยงและผลกระทบจากแหง อบายมขุ ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒๑ ซึ่งจากการสํารวจขอมูลปจจัยเสี่ยงของหนวยงาน องคกรทเ่ี ก่ียวของกับการปราบปรามและแกไข ปญ หายาเสพติดทง้ั ภาครฐั และเอกชนสรปุ สภาพปญหายาเสพตดิ ได ดงั น้ี ๑. สถานการณแ พรระบาดของยาเสพติดและแหลงอบายมุขเริ่มในกลุมหลงผิด แลวแพรกระจาย ไปสกู ลุมผูขายบริการทางเพศ เขาสูครอบครัวและสถานศึกษา ทําใหจํานวนคนติดยาเสพติดที่เปนเด็กและ เยาวชนมีจํานวนเพม่ิ มากขึน้ ๒. การผลิตและการจําหนายยาเสพติดมีเทคโนโลยีสูง และการกระจายยาเสพติดอยางรวดเร็วจน ยากในการปราบปราม มีการสรางระบบเครือขายการจําหนายเหมือนสินคาจําหนายตรงใน กลุมผูเรียน ผูรับบริการ นักศกึ ษา ๓. สภาพสงั คม ครอบครัว และชมุ ชนเปลี่ยนแปลง ทําใหวถิ ีชีวิตมคี วามเสี่ยง แตกหัก เหินหางและ ออนแอ ๔. การบริหารจัดการของหนวยงานรัฐที่ขาดเอกภาพ หนวยงานไมบูรณาการ ตางคนตางทํา ขาดความตอ เน่อื ง ผูติดยาเสพตดิ ยงั วนเวยี นอยใู นวงจรแหง ความช่ัวรา ย เปนภาระของสังคม ทําใหประเทศ ขาดศกั ยภาพในการแขง ขันในเวทโี ลก 2. สาเหตแุ ละการปองกันยาเสพติด สาเหตุปจจุบันเยาวชนท่ีตกเปนทาสของยาเสพติด สวนมากมาจากสาเหตุหลายประการท่ีเกิดจาก ตัวเยาวชน เอง ปจจุบันเยาวชน ท่ีตกเปนทาสของยาเสพติดสวนมากมาจากสาเหตุหลายประการที่เกิดจาก ตัวเยาวชนเอง เชน - ความอยากรู อยากทดลอง ความคึกคะนองของเยาวชน - ความตองการใหเปน ท่ียอมรับของกลมุ เพอ่ื นหรอื เขา กบั เพอื่ นได - ความไมร ูหรือรูเ ทา ไมถงึ การณข องเยาวชนใชย าใน ทางท่ผี ดิ หรือหลงเชอื่ คาํ โฆษณา - จิตใจของเยาวชนเอง จิตใจออนแอ ใจคอไมหนักแนน เม่ือมีปญหา ไมสมหวัง ไมไตรตรองหา เหตุผลเพื่อแกปญหา ก็ใชยาหรือยาเสพติดเปนเคร่ืองชวยระงับความ รูสึกทุกข ของตน ใชบอยๆ ทําใหเกิด การเสพติด สาเหตุเกิดจากความรูเทาไมถงึ การณ ๑. อยากทดลอง เกิดจากความอยากรูอยากเห็นซ่ึงเปนนิสัย ของคนโดยทั่วไป และโดยท่ีไมคิดวา ตนจะติดสิ่งเสพยต ดิ น้ไี ด จึงไปทําการทดลองใชส ิ่งเสพยติดน้ัน ในการทดลองใชคร้ังแรก ๆ อาจมี ความรูสึก ดีหรือไมดีก็ตาม ถายังไมติดสิ่งเสพยติดนั้น ก็อาจประมาทไปทดลองใชส ่ิงเสพยตดิ น้ันอีก จนใจท่ีสุดก็ติดส่ิง เสพยต ดิ นน้ั หรือถา ไปทดลองใชสง่ิ เสพยติดบางชนดิ เชน เฮโรอีน แมจ ะเสพเพยี งครงั้ เดียว กอ็ าจทําใหต ิดได ๒. ความคกึ คะนอง คนบางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเกงเปนนิสัยโดยเฉพาะวัยรนุ มักจะมี นสิ ัยดังกลาว คนพวกนี้อาจแสดงความเกงกลาของตนในกลุมเพื่อนโดยการแสดง การใชส่ิงเสพย ติดชนิด ตา งๆ เพราะเห็นแกความสนุกสนาน ตื่นเตน และใหเพ่ือนฝูงยอมรับวาตนเกง โดยมิไดค าํ นึง ถึงผลเสียหาย หรอื อันตรายทจี่ ะเกดิ ข้นึ ในภายหลังแตอ ยางไร ในทีส่ ดุ จนเองก็กลายเปนคนติดสง่ิ เสพยต ดิ น้นั ๓. การชักชวนของคนอ่ืนอาจเกิดจากการเชื่อตามคําชักชวนโฆษณาของผูขายสินคาที่เปนส่ิงเสพย ติดบางชนิด เชน ยากระตนุ ประสาทตางๆ ยาขยัน ยามา ยาบา เปนตนโดยผูขายโฆษณาสรรพคุณของสิ่ง เสพยติดนัน้ วามีคุณภาพดีสารพดั อยางเชน ทําใหม ีกําลงั วังชา ทําใหมจี ิตใจแจมใส ทําใหมี สุขภาพดี ทําใหมี สติปญญาดี สามารถรักษาโรคไดบ างชนิด เปนตนผูท่ีเช่ือคําชกั ชวนโฆษณาดังกลาวจึงไปซื้อตามคําชักชวน ของเพื่อนฝูง ซึ่งโดยมากเปนพวกท่ีติดสง่ิ เสพยติดนั้นอยูแ ลว ดวย ความเกรงใจเพ่ือน หรือเช่ือเพื่อน หรือ ตองการแสดงวา ตัวเปน พวกเดยี วกับเพอ่ื น จึงใชสิ่งเสพย ตดิ นนั้ สาเหตุ เกดิ จากการถูกหลอกลวงตา งๆ ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒๒ ปจจุบันนี้มีผูขายสินคาประเภทอาหาร ขนม หรือเคร่อื งดืม่ บางรายใชส่ิงเสพยติดผสมลงในสินคาท่ี ขาย เพื่อใหผูซอื้ สินคานั้นไปรับประทานเกิดการตดิ อยากมาซ้ือไปรับประทานอีก ซึ่งในกรณีนี้ ผูซ้ืออาหาร น้ันมารับประทาน จะไมรูสึกวาตนเองเกิดการติดส่ิงเสพยติดข้ึนแลว รูแตเพียงวาอยากรับประทานอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มท่ีซ้ือจากรานน้ันๆ กวาจะทราบก็ตอเม่ือตนเองรูสึกผิดสังเกตตอความตองการ จะซ้ือ อาหารจากรานน้ันมารับประทาน หรือตอเมือ่ มีอาการเสพยติดรุนแรง และมีสุขภาพเสื่อมลง สาเหตุที่เกิด จากความเจ็บปวย ๑. การเจ็บปวยทางกาย คนท่ีมีอาการเจ็บปวยทางกายเกิดขึ้นเพราะ สาเหตุตางๆ เชนไดรับ บาดเจ็บรนุ แรงเปนแผลเร้อื รงั มีความเจ็บปวดอยูเปน ประจํา เปน โรคประจําตวั บางอยา ง เปนตน ทาํ ใหไดร บั ทุกขท รมานมากหรอื เปนประจําจึงพยายามแสวงหาวิธีท่ีจะชว ยเหลือตนเองใหพ น จากความทุกขทรมานนั้น ซึง่ วิธหี นึ่งทท่ี าํ ไดง า ยคือ การรบั ประทานยาท่ีมฤี ทธ์ิระงับอาการเจ็บปวดน้ันได ซ่ึงไมใชเปนการรักษาท่ีเปน ตนเหตุของความเจ็บปวยเพียงแตระงับอาการเจ็บปวดใหหมดไปหรอื ลดนอยลงไดช ่วั ขณะ เม่ือฤทธ์ิยาหมด ไปก็จะกลับเจ็บปวดใหม ผูปว ยก็จะใชย านน้ั อีก เม่อื ทําเชน นีไ้ ปนานๆ เกิดอาการติดยานน้ั ข้นึ ๒. การเจ็บปว ยทางจติ ผทู ี่มจี ติ ใจไมเ ปน ปกติเชน มีความวิตก กงั วล เครียด มคี วามผดิ หวังในชีวติ มีความเศราสลดเสยี ใจ เปน ตนทําใหสภาวะจติ ใจไมเ ปน ปกติจนเกิดการปวยทางจิตข้ึนจึงพยายามหายาหรือ ส่ิงเสพยติดท่ีมีฤทธิ์สามารถคลายความเครียด จากทางจิต ไดช่ัวขณะหน่ึงมารับประทาน แตไมไดรักษาท่ี ตน เหตุเมอื่ ยาหมดฤทธ์ิ จิตใจก็จะกลับเครียดอกี และผูปว ยก็จะเสพสง่ิ เสพยติด ถา ทําเชนนีไ้ ปเรอ่ื ยๆ ก็จะทํา ใหผ นู ้ันติดยาเสพยต ดิ ในทส่ี ดุ ๓. การปฏิบัติไมถูกตองในการใชยาการไปซ้ือยามารับประทานเอง โดยไมทราบสรรพคุณยาท่ี แทจริง ขนาดยาท่คี วรรบั ประทาน การรบั ประทานยาเกินจํานวนกวา ทแ่ี พทยไ ดส่ังไว การรบั ประทานยาบาง ชนิดมากเกินขนาด หรือรับประทานติดตอ กันนานๆ บางครั้งอาจมีอาการถึงตายได หรือบางครั้งทําใหเกิด การเสพตดิ ยาน้ันได สาเหตุอน่ื ๆ ๑. การอยใู กลช ดิ กับแหลง สง่ิ เสพยติด การอยูใกลแหลงขายหรือใกลแ หลงผลิต หรือ เปนผูขายหรือ ผผู ลิตเอง จงึ ทําใหมโี อกาสติดสิ่งเสพยติดใหโ ทษนนั้ มากกวา คนทว่ั ไป ๒. การอยใู กลชิดกับผตู ิดสิ่งเสพยต ดิ เมือ่ มเี พื่อนสนิทหรอื พน่ี องที่ตดิ ส่ิงเสพยติดอยู ผนู ั้นยอมได เห็นวิธกี ารเสพ ของผูทอ่ี ยูใ กลชิด รวมทั้งใจเห็นพฤติกรรมตา งๆ ของเขาดว ยและยังอาจไดรบั คํา แนะนาํ หรอื ชักชวนจากผูเสพดวย จึงมีโอกาสตดิ ได ๓. สภาพแวดลอมทางสังคมคนบางคนอยูในสภาพทม่ี ีปญหา เชน วางงาน ยากจน คา ใชจายเพ่ิม โดยมรี ายไดลดลงหรอื คงท่ี มีหน้สี ินมาก ฯลฯ เมอ่ื แกปญ หาตางๆ เหลา นี้ไมไดก ็หันไปใชสิ่งเสพยตดิ ชวยผอน คลายความรสู ึกในความทุกขยากตางเหลาน้ี แมจะรูวาเปนชั่วครชู ่ัวยามก็ตาม เชน กลุมใจที่เปนหน้ีคนอื่นก็ ไปกินเหลาหรือสูบกัญชาใหเ มาเพ่ือท่ีจะ ไดลืมเรอ่ื งหนี้สินบางคนตองการรายไดเ พ่ิมขึ้นโดยพยายามทํางาน ใหห นักและ มากขน้ึ ทง้ั ๆ ท่ีรา งกายออนเพลยี มากจงึ รบั ประทานยา กระตุน ประสาทเพ่ือ ใหสามารถทํางาน ตอไปได เปน ตน ถาทําอยเู ปน ประจําทาํ ใหต ิดสงิ่ เสพยตดิ นนั้ ได ๔. การเลยี นแบบ การทไ่ี ปเห็นผทู ีต่ นสนทิ สนมรักใครหรือเพ่ือนเสพสิ่งเสพยติด จึงเห็นวาเปนสิ่งนา ลองเปน สิ่งโกเ ก เปน สง่ิ แสดงความเปน พวกเดยี วกัน จึงไปทดลองใชส ง่ิ เสพยต ิดน้ันจนติด ๕. การประชดชีวิต คนบางคนมีความผิดหวังในชีวิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครวั หรือผิดหวังใน ชวี ิตสงั คม เพือ่ เปนการประชดตนเองหรอื คนอ่นื จึงไปใชส งิ่ เสพยตดิ จนตดิ ทัง้ ทีท่ ราบวาเปนสง่ิ ไมดี ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒๓ ๓. นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร ดานการปองกันและแกไ ขปญหายาเสพติด กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดมาตรการปองกันเด็กและเยาวชนกอนวัยเสี่ยงและในวัยเสี่ยง ไมใหเขาไปเกี่ยวของกับยาเสพติดเรียนรูถงึ โทษและพิษภัยของยาเสพติดรจู ักวิธีปฏิเสธหลีกเล่ียงยาเสพติด และใชเวลาวางใหเปนประโยชนเพ่ือหลีกเลยี่ งการหมกมุนมั่วสุมกับยาเสพติดและอบายมุขตลอดจนดูแล ชวยเหลือผูเรียน ผูรับบริการนักศกึ ษาท่ีไปเก่ียวของกับยาเสพติดจึงไดกําหนดนโยบายใหผูบริหารองคกร หลักหนว ยงานและสถานศกึ ษาดําเนินการดงั น้ี ๑. ผูบริหารทุกระดับนํานโยบายการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดไปสูการปฏิบัติจัดทํา แผนปฏิบัติการครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายและการมีสวนรวมของทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของทงั้ ในและนอก สถานศกึ ษา ๒. ผูบริหารทุกระดับครูอาจารยและบุคลากรทางการศึกษาตองใหความสําคัญและมีจิตสํานึก รว มกันท่ีจะปกปองคมุ ครองดแู ลชวยเหลือผูเรียน ผูรับบริการไมใ หไปเก่ียวของกับยาเสพติดใหความรวมมอื และรวมแรงรว มใจจัดกจิ กรรมท้งั ในหลกั สูตรและกจิ กรรมพัฒนาผูเ รียน ๓. ผูบริหารสถานศกึ ษาสงเสริมสนบั สนุนจัดกิจกรรมปองกันและเฝาระวังยาเสพติดในสถานศึกษา เปนสว นหนึง่ ของการเรยี นการสอน เชน กจิ กรรมการเรยี นรู “White Zone” สถานศกึ ษาปลอดสารเสพติด และอบายมขุ ใหก บั นกั ศกึ ษา กศน.กิจกรรมเชิงสรางสรรคต า งๆ กจิ กรรมลูกเสือและเนตรนารีปองกันยาเสพ ตดิ กจิ กรรม กฬี าปองกนั ยาเสพตดิ สง เสริมการรวมกลมุ ของผูเรียน ผูรบั บริการนกั ศึกษาท้งั ในสวนของชมรม และสภาผเู รยี น ผรู ับบริการ ๔. ผูบริหารสถานศึกษาจัดการเรียนการสอนใหความรูเสริมสรางจิตสํานึกทักษะชีวิตภูมิคุมกัน ตอ ตานยาเสพตดิ และอบายมขุ จัดระบบดูแลชวยเหลือผเู รียน ผูรับบริการทกุ คนใหทั่วถึงโดยสรางเครอื ขาย แกนนาํ ทุกระดับในสถานศกึ ษา ๕. ผูบริหารสถานศกึ ษาจัดระบบการดําเนนิ งาน ๕ มาตรการ ตามโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอด ยาเสพติดและอบายมุข คือ มาตรการปองกัน มาตรการคนหา มาตรการรักษา มาตรการเฝาระวัง และ มาตรการบริหารจัดการ ภายใตกลยุทธ ๔ ตอง ๒ ไม ที่กําหนดใหสถานศึกษาตองมียุทธศาสตร ตองมี แผนงาน ตอ งมีระบบขอ มลู ตองมเี ครอื ขาย ไมป กปดขอมลู และไมไ ลผูเ รยี น ผูร บั บริการออก ๖. ผบู ริหารทกุ ระดบั อํานวยการกํากบั ติดตามประเมนิ ผลการดําเนนิ งาน และจัดมาตรการเสริมแรง ใหแกผ รู ับผิดชอบดานยาเสพตดิ ดีเดนดวยการยกยองชมเชยมอบโลเกียรตบิ ัตรเลือ่ นข้ันเงินเดือนกรณีพิเศษ มาตรการลงโทษบคุ ลากรท่ีไปเกยี่ วของกบั ยาเสพติดใหอ อกจากราชการและเพกิ ถอนใบประกอบวชิ าชีพครู นอกจากน้ี กระทรวงศึกษาธิการ ไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปองกันและ แกไขปญหายาเสพติด โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุข ประกาศเม่ือวันท่ี ๒ เมษายน ๒๕๕๘ มีสาระสําคญั เพ่อื ใหผบู รหิ ารองคก รหลัก หนว ยงาน และสถานศึกษา ดาํ เนนิ การ ดังนี้ ๑. ผูบริหารสถานศึกษานาํ นโยบายการปอ งกนั และแกไขปญหายาเสพตดิ โครงการสถานศกึ ษา สี ขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ไปสูการปฏิบัติใหมีแผนปฏิบัติการคลอบคลุมกลุมเปาหมายและการมี สวนรว มของคณะผบู รหิ าร ครู และกลุม เปา หมายผเู รยี น ผูรบั บริการ ทงั้ ในและนอกสถานศกึ ษา ๒. ผูบริหารหนวยงานและผูบริหารสถานศกึ ษา สงเสริม สนับสนุน การดําเนินงานการปองกันและ แกไขปญหายาเสพติด โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข เพ่ือสรา งและพฒั นาระบบ การดาํ เนินงานทเ่ี ขม แข็งตอเน่ืองและยงั่ ยนื ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒๔ ๓. ผูบริหารหนวยงานและผูบริหารสถานศึกษา อํานวยการ กํากับ ติดตามและประเมินผลการ ดาํ เนินงานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข และจัดทาํ มาตรการเสรมิ แรงใหแ กผรู บั ผิดชอบดว ยการยกยอ ง ชมเชย มอบโลเกียรติยศ เกียรตบิ ัตรและการ เลอื่ นข้นั เงนิ เดอื นกรณพี ิเศษ ๔. ผูบริหารหนวยงานและผบู รหิ ารสถานศึกษา อํานวยการ กํากับ ติดตามและประเมนิ ผล การดําเนินงานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุข และใชมาตรการลงโทษบุคลากรที่ไปเก่ียวของกับยาเสพตดิ ใหออกจากราชการและเพิกถอนใบ ประกอบวิชาชพี ครู ๕. ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ตรวจติดตามผลการดําเนินงาน และผูบริหาร หนวยงานและผบู ริหารสถานศกึ ษา จดั ต้ังคณะกรรมการตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนินงาน การปอ งกนั และแกไ ขปญ หายาเสพติด โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ๖. ผูบริหารหนว ยงานและผบู ริหารสถานศึกษา สรปุ รายงานตนสังกัดเพื่อสรุปผลรายงาน ศนู ยอํานวยการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการโดยการดําเนินงาน โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข มีเปาหมายเพ่อื ใหสถานศึกษาทุกแหง ปลอดจากยา เสพตดิ และอบายมุข ซ่ึงสามารถเขยี นเปน แผนภาพดังน้ี แผนภาพท่ี 2 เปา หมายสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอกุดชุม จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 3 ดับ ไดแก ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ขอมูลของบุคลกร ปจจุบัน มีผูบรหิ าร จํานวน 1 คน ครูผูสอน จํานวน 17 คน บรรณารกั ษ จํานวน 1 คน พนักงานบรกิ าร จํานวน 1 คน นักศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี ๑/2565 มีนักศึกษา จํานวน 926 คน และนักศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี ๒/2565 มนี กั ศกึ ษา จาํ นวน 926 คน สภาพปญหายาเสพติดของนักศึกษา พบวา จากการ ตรวจสอบขอมูลและการดูแลชวยเหลือผูเรยี น ผลปรากฏวาไมพบผูเรียนมีปญหาการใชสารเสพติดประเภท ตา ง ๆ อันเนื่องมาจาก สถานศกึ ษาสามารถใหก ารดแู ลนกั ศกึ ษาทุกคนไดอยา งท่ัวถึงและตอเนื่อง แตอ ยางไร กต็ ามสถานศกึ ษากย็ ังคงมกี ารเฝา ระวังและตดิ ตามปญหายาเสพติดในสถานศึกษาเพื่อเปนการกระตุน สราง ความตระหนกั ในการปองกันยาเสพติดทุกชนิด ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒๕ บทที่ 3 ผลการดําเนนิ งานตามยทุ ธศาสตร 5 ดา น ปจจุบันประเทศไทยประสบปญหาทางสังคมที่สําคัญคือ ปญหายาเสพติด ซึ่งสงผลกระทบตอ เยาวชน อันเปนกําลังสาํ คญั ของประเทศไทยในอนาคต จนตองจัดต้ังศูนยอํานวยการพลงั แผนดินเอาชนะยา เสพตดิ แหงชาติ (คพส) เพอ่ื เอาชนะยาเสพติดอยา งยง้ั ยืน จึงมนี โยบายใหทกุ ภาคสวนเขามามสี ว นรวมในการ ดาํ เนินการ เพ่ือใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย อาํ เภอกดุ ชมุ จึงไดด ําเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ เพื่อขับเคลอ่ื นนโยบาย เปนการบรู ณาการทํางานระหวางนักศึกษา ครู ผูปกครอง ชุมชน ตลอดจนหนว ยงานตางๆ ท่ีเก่ียวของ เพื่อ รว มกันปอ งกนั เกย่ี วกบั ปญ หายาเสพติดภายในสถานศึกษาและชมุ ชน แนวทางการดาํ เนินงาน ผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตรโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ประกอบดวยมาตรการ ๕ ดา น กลยุทธ ๔ ตอ ง ๒ ไม การดําเนินงานการปองกันและแกปญหายาเสพติดในสถานศึกษาดวยกลยุทธศาสตร ๕ มาตรการ ดงั น้ี ๑. ยุทธศาสตรดานการปองกัน ประกอบดว ย กจิ กรรมหองเรียนสีขาว กิจกรรมการเรยี นการสอน ทักษะชวี ติ และกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น ใหผเู รียนใชเ วลาวางใหประประโยชนด ว ยกิจกรรมสรางสรรค เชน การ เลนกีฬา ดนตรี ศลิ ปะ คา ยวชิ าการ กิจกรรมคณุ ธรรม จริยธรรม เปน ตน ๒. ยุทธศาสตรดานการคนหา ประกอบดวยกิจกรรมสํารวจสภาพยาเสพติด ระบบดูแลชวยเหลือ ผเู รียน การเย่ียมบา น การจดั ทาํ ขอ มูลผเู รียนเปนรายบุคคล การคัดกรองผูเรียน เปน ๕กลุม คอื กลุมปลอด กลมุ เสี่ยง กลมุ เสพ กลุมติด และกลมุ คา ๓. ยุทธศาสตรก ารรักษา ประกอบดวย การดูแลชวยเหลือผูเรียน กิจกรรมเสมารักษ กจิ กรรมจิต สงั คมบําบดั ในสถานศกึ ษา การรว มกจิ กรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การสงตอเขารับการบําบัดรกั ษาจาก สถานพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข และหนว ยงานทเี่ กีย่ วของดานการบาํ บดั รกั ษาพนื้ ฟูผตู ิดยาเสพติด ๔. ยุทธศาสตรการเฝาระวัง ประกอบดวยกิจกรรมตูแดงเสมารักษ กิจกรรมลกู เสือตานยาเสพติด สารวัตรนักเรยี น หองเรียนสีขาวและการประสานงานกับหนวยงานในทองถ่ินและหนวยงานที่รับผิดชอบ การปอ งกนั การปองกันและปราบปรามยาเสพติด ๕. ยุทธศาสตรด า นการบริหารจดั การ ประกอบดวย การจัดทําแผนการอํานวยการ กํากับ ติดตาม ประเมินผล และสรุป การนํานโยบายไปสูการปฏิบัติและสนับสนุนสงเสริมการปฏิบัติงานพิจารณาจัดหา มาตรการลงโทษและมาตรการเสริมแรงซงึ่ ๕ มาตรการ ดังกลา วทางสถานศกึ ษาไดป ฏบิ ตั ิ ดังน้ี ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒๖ ยุทธศาสตร 5 ดาน ยุทธศาสตรท ่ี 1 มาตรการดานการปองกนั ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอกุดชุม เปนสถานศึกษาขนาดกลาง จากการทสี่ ภาพเศรษฐกิจ สงั คมท่ีเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วผนวกกับเทคโนโลยีที่ทนั สมัย เขา ถึงทุกระดบั ทาํ ใหม ีความเสี่ยงทจ่ี ะเกดิ การแพรระบาดของยาเสพติด ทางสถานศึกษาจึงไดดําเนินกิจกรรมตาง ๆ เพือ่ เปน การปองกนั การแพรระบาดของยาเสพตดิ โดยจัดกจิ กรรมโครงการ ดงั น้ี ๑.๑ โครงการหองเรียนสีขาว มีวัตถุประสงคเพ่ือใหสถานศึกษาปลอดยาเสพติดทุกชนิด โดยมี คณะกรรมการแบงเปน ตําบล ซ่ึง ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอกุดชุม มี กศน. ตาํ บลจํานวน ๙ แหง จดั เปนหองเรียนสีขาว จํานวน ๑ แหง รวมขบั เคลื่อนโครงการ ดงั น้ี ๑. ฝายการเรยี น มหี นาที่ในการชว ยเหลือใหค าํ แนะนาํ ดา นการเรยี นการบาน โครงงาน หรือปญหา การเรียนในหองเรียน ตองรับผิดชอบแกไขชวยกัน และใหคําแนะนํา คําอธิบาย ช้ีแนะ แหลงเรียนรู และ นาํ เสนอครทู ป่ี รึกษา ๒. ฝายการงาน มีหนา ท่ีใหการดูแลความสะอาดในหองเรียน รักษาของมีคาและทรัพยสมบัติของ หองเรียน วัสดุอุปกรณที่ชํารุด ปองกันอุบัติเหตุภายในหองเรียน จัดสภาพสิ่งแวดลอมในหองเรียนใหนา เรยี น และปอ งกันไมใ หมีพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคเ กิดขน้ึ ในหอ งเรยี น ๓. ฝา ยกจิ กรรม มีหนา ทีก่ ารจัดกิจกรรมสรางสรรค ในหองเรียน และกิจกรรมในทกุ ระดับช้ัน เชน การเลนดนตรี กีฬา ศิลปะ วัฒนธรรม และกิจกรรมในกลุมสนใจของเพ่ือน ๆ เพื่อใชเวลาวางใหเปน ประโยชน ไมไ ปมว่ั สุมหรอื มพี ฤตกิ รรมทไ่ี มเ หมาะสม ๔. ฝา ยกิจการนักเรยี น มีหนา ที่สอดสอ งดูแลความเรยี บรอยทัง้ ในหองเรียนและมุมอับ เชน หองน้ํา หรือที่บริเวณอาคารเรียน แหลงมั่วสุมสูบบุหร่ี ดูแลเพ่ือน หากมีพฤติกรรมท่ีไปเกี่ยวของกับยาเสพติด หรือ พฤติกรรมเส่ียง รวมท้งั ปญหาสว นตัวดานตา ง ๆ ใหค ณะกรรมการหองเรียนแกไ ข แตหากไมสามารถแกไขได ใหนกั ศึกษาบอกครทู ่ีปรึกษาเพือ่ แกไขตอ ไป ๑.2 กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี ดานยาเสพติดและกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนจัดกิจกรรมพัฒนา ผูเรียนและมีการบูรณาการเรื่องโทษและพิษภัยจากยาเสพติด อันตรายจากการสูบบุหร่ี และเครื่องด่ืม แอลกอฮอล ๑.3 ตํารวจ ประสานงานกับสถานีตํารวจภูธรกุดชุม มาจัดกิจกรรมใหความรูเรื่องสารเสพติด อันตรายจากการสบู บหุ ร่ีและการปองกันอบุ ตั ิเหตุ ๑.4 ปราชญ ภูมิปญญาทองถ่ิน มาใหความรูดานการประกอบอาชีพ การปลูกผัก เล้ียงปลา เลี้ยงไก เลยี้ งเห็ดนางฟา และการฝก ทาํ ขนม งานชา ง 1.5 ครูผูสอน ครผู ูสอนทุกคนในสถานศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมพัฒนา ผูเ รยี น ทส่ี อดแทรกเรอ่ื งโทษของสารเสพตดิ ในทกุ กลุมสาระวิชาและทุกกิจกรรมโครงการ 1.6 มีการบูรณาการการเรียนการสอน เรื่องสารเสพติดทุกกลุมสาระการเรียนรู สถานศึกษาได จดั ทาํ แผนการจดั การเรยี นรูทีบ่ รู ณาการเร่อื งสารเสพติดในทกุ กลุมสาระสาระวิชา เชน การจัดปายนิเทศการ เขียนเรียงความ การเขียนคาํ ขวัญ การประชาสัมพันธออนไลนผานเว็บไซตอําเภอ เว็บไซต กศน.ตําบล แฟนเพจและเฟซบุค ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒๗ 1.7 สถานศึกษาไดดําเนินกิจกรรมตอตานยาเสพติด โดยผานกิจกรรมแนะแนว กิจกรรม หองเรียนสีขาว ใหคณะกรรมการของแตละหอง ดําเนินกิจกรรม ไดแก การจัดปายนิเทศวันงดสูบบุหร่ีโลก การเดนิ รณรงคต อตา นยาเสพติด การแขง ขนั กฬี าตานยาเสพตดิ 1.8 สถานศึกษาไดดําเนินกิจกรรมเสริมสรางทักษะชีวิต สราง ๓ ภูมิคุมกันยาเสพติด ผาน กิจกรรมตางๆ ไดแก กิจกรรมสงเสริมนิสัยรกั การอาน กิจกรรมวันสําคัญตา งๆ เชน กิจกรรมวันสําคัญทาง พระพุทธศาสนา วันไหวครู วันพอแหงชาติ วันแมแหงชาติ วันภาษาไทย วันสุนทรภู กิจกรรมตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง การใหความรูเ ร่ืองการประหยัด อดออม การใหความรูเร่อื งความปลอดภัยในการ ใชช ีวติ ในสถานการณป จ จุบัน เปน ตน 1.9 กิจกรรมเย่ียมบานนักศึกษา ผา นโครงการระบบดแู ลชว ยเหลอื ผเู รยี น 1.10 กิจกรรมดานกีฬา ไดจัดกิจกรรมแขงขันกีฬาภายใน และกีฬาระดับกลุมเครือขาย ระดับ ภาค และระดบั ประเทศ 1.11 สถานศึกษาไดจัดกิจกรรมจิตอาสา อาสาสมัคร กศน. กิจกรรม 5 ส ทําความสะอาด บริเวณสถานศึกษา วัด หมูบาน ปลูกตนไมในชุมชน ชวยงานชุมชน เชน งานศพ งานบวช งานประเพณีใน ทอ งถ่นิ เปน ตน 1.12 สถานศึกษาไดร วมกิจกรรมวันสาํ คัญทางพระพุทธศาสนา 1.13 จัดแหลงเรียนรู ท้ังภายใน ภายนอกสถานศึกษา การคนควาขอมูลจากอินเทอรเน็ต หองสมดุ และบรเิ วณรอบ ๆ 1.15 จัดสภาพส่ิงแวดลอมที่ปราศจากพื้นที่เส่ียง สถานศึกษาไดดําเนินกิจกรรมดังนี้ จัด สวนหยอม สวนผัก ใหเ อ้ือตอการจัดกิจกรรมตา งๆ ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒๘ 1. ชื่อโครงการ : โครงการหอ งเรียนสีขาว กศน.อาํ เภอกุดชุม ๒. สอดคลอ งกับนโยบายและจุดเนน ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 256๕ ยทุ ธศาสตรที่ ๑ การจดั การศกึ ษาเพอื่ ความปลอดภยั ขอ 1.1 เพอ่ื สรา งความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา และปอ งกันภัยคุกคามในชีวติ ในรปู แบบตางๆ ขอ 1.2 ปลูกฝงทศั นคติ พฤติกรรม และองคความรทู เี่ กีย่ วขอ ง 3. หลักการและเหตผุ ล ยาเสพตดิ เปน ปญ หาสําคัญระดับชาติทร่ี ฐั บาลถอื เปน นโยบายที่ตอ งเรงดําเนินการแกไขอยางจริงจัง ทั้งนีเ้ พราะปญหายาเสพติดมกี ารแพรร ะบาดในทกุ พื้นท่ีของประเทศไทย ไดท วีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ สง ผลกระทบตอการพฒั นาประเทศและความมน่ั คงของชาติ โรคเอดสเปนโรคติดตอ ที่รา ยแรงท่ีกาํ ลังระบาด อยางรวดเร็วในทุกจังหวัดของประเทศไทยและเปนปญหาเรงดวนท่ีทางรัฐบาลจําเปนตองดําเนินการแกไข ปจ จุบนั มีผตู ดิ เชอ้ื หลายแสนคน และในแตล ะวนั มีผูติดเช้ือเพิ่มข้ึนเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะกลุมเยาวชน ทําใหสูญเสียทรพั ยากรท่มี ีคุณคา ตอการพัฒนาประเทศชาติเปนอยางยิ่ง พฤติกรรมที่ไมพึงประสงคในกลุม เยาวชน ซึง่ เปนพฤติกรรมเบี่ยงเบนท่ีสังคมไมยอมรับ รวมทั้งปญหาอุบัติภัย ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับ นักศกึ ษา การปองกันและแกไขปญหา เปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง โครงการหองเรียนสีขาว จะชวยใหเยาวชน ของ กศน.อาํ เภอกุดชมุ เปนเยาวชนท่ีมีความรู ควบคูดว ยคุณธรรม ไมฝกใฝอบายมุข และไมสรางปญหา ใหก ับสังคม สามารถดํารงตนอยใู นสงั คมไดอ ยา งมคี วามสุข เปนพลเมืองที่มีคุณภาพ พัฒนาประเทศไทยให เจรญิ รงุ เรอื งตอไป 4. วตั ถปุ ระสงคข องโครงการ 4.๑ เพ่ือใหนักศึกษาท่ีมีปญหา ไดรับความชวยเหลือ ไดรับคําปรกึ ษา ไดรับคําแนะนําท่ีถูกตอง เหมาะสม จากผูท่ีเปนแกนนาํ และครทู ปี่ รึกษา 4.๒ เพ่อื ใหม นี ักศกึ ษาแกนนําในหองเรียนดแู ลชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ตกั เตอื น แนะนําเพื่อน ใน การปอ งกนั และแกไขปญ หายาเสพติด โรคเอดส การตั้งครรภกอ นวัยอนั ควร อบายมขุ และ อุบัตภิ ยั 4.๓ เพอ่ื ใหผบู รหิ ารสถานศกึ ษาและบุคลากรทเ่ี ก่ยี วของมคี วามรู ความเขา ใจ ตระหนกั ถึงพิษภัย ยาเสพติด ปญหาโรคเอดส การตัง้ ครรภกอ นวยั อนั ควร อบายมขุ และอุบตั ิภยั 4.๔ สงเสริมและสนบั สนุนใหมีนักศึกษาแกนนําประจําหอง และครูท่ปี รึกษามีการบริหารจัดการ ไดอบรม สัมมนาเพอื่ สนับสนุนกิจกรรม และติดตามประเมินผล 5.เปาหมาย 5.๑ ดา นปริมาณ ๑) นกั ศกึ ษา กศน.อาํ เภอกุดชุม เขา รว มโครงการหองเรียนสีขาว ทุกหอ งเรยี น ทกุ ระดบั ชั้น 5.๒ ดา นคณุ ภาพ ๑) นักศึกษาทุกคนท่ีเขารว มโครงการหองเรียนสีขาว เกิดความตระหนักในการแสวงหาแนวทาง สง เสรมิ ปอ งกัน และแกไ ขปญ หายาเสพติด โรคเอดส การตงั้ ครรภกอนวัยอนั ควร อบายมุข และอุบตั ิภัย ๒) นกั ศกึ ษาทุกคนทเี่ ขารวมโครงการหองเรียนสีขาว เกิดกระบวนการรวมคิด รวมปฏิบัติในการ ดูแลเอาใจใสหองเรียนใหนาดู นาอยู นาเรียน และเปนศูนยรวมกิจกรรมในชั้นเรียน และปลอดจาก อบุ ตั ภิ ัย ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๒๙ ๓) สถานศึกษามีระบบขอมูลสารสนเทศ และแหลง เรียนรูการปองกันยาเสพติด โรคเอดส การ ต้งั ครรภก อนวยั อันควร อบายมขุ และอบุ ัตภิ ัย 6. กจิ กรรมและขั้นตอนการดาํ เนินงาน กิจกรรม ระยะเวลา ๔.๑ จดั ทาํ แผน โครงการหองเรยี นสีขาว พฤศจิกายน ๒๕๖5 ๔.๒ เสนอโครงการเพอ่ื ขออนุมตั ิ พฤศจิกายน ๒๕๖5 ๔.๓ ประชมุ คณะครู ผูเกย่ี วของ พฤศจกิ ายน ๒๕๖5 ๔.๔ แตง ต้งั คณะกรรมการดําเนินงาน ทีมนํา ทีมประสาน ทมี ทาํ ธนั วาคม ๒๕๖5 ๔.๕ อบรมนกั ศกึ ษาแกนนาํ ธนั วาคม ๒๕๖5 ๔.๖ สมัครเขา รว มโครงการ กุมภาพันธ 2566 4.7 ทาํ บนั ทกึ ขอตกลง (MOU) พฤศจกิ ายน 2565 – กุมภาพันธ 2566 ๔.๗ จัดซอื้ วัสดอุ ุปกรณท่ีเก่ียวของ พฤศจกิ ายน 2565 – กุมภาพนั ธ 2566 ๔.๘ ดําเนินการตามโครงการนิเทศ ติดตามระยะที่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๖6 ๔.๙ ดําเนนิ การตามโครงการนเิ ทศ ติดตามระยะท่ี ๒ มกราคม ๒๕๖6 ๔.๙ กํากับนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล มกราคม ๒๕๖6 ๔.๑๐ ดาํ เนินการตามโครงการนเิ ทศ ตดิ ตามระยะที่ ๓ กมุ ภาพันธ 2566 ๔.๑๑ ดําเนินการตามโครงการนเิ ทศ ตดิ ตามระยะที่ ๔ กุมภาพันธ 2566 ๔.๑๒ กาํ กบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล มนี าคม ๒๕๖6 ๔.๑๓ รายงานผลการดาํ เนนิ โครงการ มีนาคม ๒๕๖6 7. งบประมาณ ไมใชงบประมาณ 8. การประเมนิ ผล ตวั บง ชีค้ วามสําเร็จ วธิ ีการวัดและ เครอ่ื งมือท่ใี ช ประเมนิ ผล 6.1 นักศึกษา เกดิ ความตระหนกั ในการแสวงหา แบบประเมนิ แนวทางสงเสริมปอ งกันและแกไขปญ หายาเสพติด ประเมิน แบบสังเกต โรคเอดสและอุบัติภยั สมั ภาษณ ๖.๒ นกั ศึกษาเกดิ กระบวนการรว มคิด รว มปฏิบัติใน สังเกต การดแู ลเอาใจใสห องเรยี นใหนา ดู นา อยู นา เรยี น และเปนศนู ยร วมกิจกรรมในชนั้ เรียน และปลอดจาก อบุ ัติภัย ๖.๓ นักศึกษามีระบบขอมูลสารสนเทศและแหลง เรยี นรู การปองกนั ยาเสพติด โรคเอดสการตงั้ ครรภก อ นวยั อนั ควร อบายมุขและอุบัตภิ ัย ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๓๐ 9. ผลทีค่ าดวาจะไดรบั 9.1 นกั ศกึ ษาทกุ คนท่เี ขา รวมโครงการหอ งเรยี นสีขาว เกิดความตระหนกั ในการแสวงหาแนวทาง สง เสริมปอ งกนั และแกไ ขปญ หายาเสพตดิ โรคเอดส การต้ังครรภก อนวัยอนั ควร อบายมขุ และอบุ ัตภิ ยั 9.2 นักศึกษาทุกคนทเ่ี ขา รว มโครงการหอ งเรียนสีขาว เกดิ กระบวนการรวมคดิ รว มปฏิบัติในการ ดูแลเอาใจใสหองเรียนใหนาดู นาอยู นาเรียน และเปนศูนยรวมกิจกรรมในช้ันเรียน และปลอดจาก อบุ ตั ิภัย 9.3 สถานศึกษามีระบบขอ มูลสารสนเทศ และแหลงเรียนรูการปองกันยาเสพติด โรคเอดสการ ต้งั ครรภกอ นวัยอนั ควร อบายมขุ และอบุ ัติภยั ลงชือ่ ..............................................ผเู สนอโครงการ (นางสาวบษุ บา กองศรมี า) ครู กศน.ตําบล ลงชอื่ .................................................ผอู นุมตั โิ ครงการ (นางสาวียะ พันธฤุ ทธ์ิ) ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอกดุ ชุม ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชุม สาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั ยโสธร

๓๑ คาํ สัง่ แตง ตั้งคณะกรรมการดาํ เนนิ งานตามโครงการหอ งเรียนสีขาว ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๓๒ ๑.ชอื่ โครงการ : โครงการอบรมระบบมาตรฐานความปลอดภยั ในสถานศึกษา MOE Safety Center ใหกบั นักศึกษา กศน. ๒. ความสอดคลองนโยบายและจดุ เนน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 จุดเนน การดําเนนิ งาน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ดานที่ 1. ดานการจดั การเรยี นรูคุณภาพ ขอ 1.2 ขับเคล่ือนการจัดการเรียนรูท่ีสนองตอบยุทธศาสตรชาติ และนโยบายของ รฐั มนตรวี า การและรฐั มนตรชี วยวาการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดา นที่ 2 ดานการสรา งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ขอ 2.5 สงเสริมการจัดการศึกษาของผูสูงอายุ เพ่ือใหเปน Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดาํ รงชวี ิตท่ีเหมาะกับชว งวัย ขอ 2.6 สงเสริมการจัดการเรียนรูเพ่ือเตรียมความพรอม/การปฏิบัติตัวสําหรับสตรีตั้งครรภ และจัดกจิ กรรมการเรียนรสู ําหรบั แมและเดก็ ใหเ หมาะสมกบั บริบทของชมุ ชนและชวงวัย ขอ 2.11 สรา ง อาสาสมัคร กศน. เพื่อเปนเครือขายในการสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา ตลอดชีวิตในชมุ ชน ๓. หลกั การและเหตุผล ดวยศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอกุดชุม มีความตระหนักใน ความสําคัญ และเล็งเห็นความจําเปนที่ผูท่ีมีสว นเกี่ยวของทุกฝา ย จะตองรวมกันหาแนวทางที่เปน รปู ธรรม ในการดูแลชว ยเหลอื นักศึกษาใหไดเรียนรอู ยางมีความสุข เปนไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่จะดูแลตนเอง ใหป ลอดภัยทา มกลางสภาพแวดลอ มทางสงั คมอบุ ัติเหตแุ ละอบุ ตั ภิ ัยท่ีจะกอใหเกิดความเสียหายแกนักศกึ ษา ซึ่งสอดคลองกับนโยบายของรัฐมนตรีวาการและรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ ดานความ ปลอดภัยสถานศึกษา โดยใหนักศึกษาสามารถเขาถึงระบบ MOE Safety Center เม่ือมีความรสู ึกไม ปลอดภัยและมีความประสงคจะรองทุกข รองเรียน หรือเตอื นใหทราบวาสถานศึกษาแหงหนึ่งกําลงั เกิดภัย อยางหนงึ่ อยางใดใน 4 กลุมภัย ไดแก1) ภยั ทเี่ กดิ จากการใชค วามรนุ แรงของมนุษย(Violence) 2) ภัยที่เกิด จากอุบัติเหตุ(Accident) 3) ภัยท่ีเกิดจากการถูกละเมิดสิทธิ์ (Right) และ 4) ภัยท่ีเกิดจากผลกระทบตอ สุข ภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) สามารถรองทุกขรองเรียน หรือเตือน โดยผานระบบ MOE Safety Center มายังศูนยค วามปลอดภยั ภายในสถานศึกษา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอําเภอกุดชุม จึงนํานโยบายดังกลาวมาปรับใชในภารกิจและความรับผิดชอบเพื่อใหนักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืนๆ ตลอดจนผูม าติดตอราชการปลอดภัย จากอุบัติเหตุ เหตุราย อุบัตภิ ัย ภัย พิบัติ ส่ิงทเ่ี ปนอันตราย ทัง้ ตอจติ ใจ ชวี ิต ทรพั ยสิน และรักษาทรพั ยสนิ ของทางราชการ ดงั นัน้ ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอกดุ ชมุ จึงจัดทําโครงการอบรม ระบบมาตรฐานความปลอดภัยในสถานศึกษา MOE Safety Center ใหกับนักศกึ ษา กศน. เพื่อใหผูใช สถานศึกษา และผูมาติดตอมคี วามปลอดภัยจากอุบัติเหตุ และรกั ษาทรัพยสนิ ของทางราชการ รวมทั้งสราง ตน แบบการดาํ เนนิ การความปลอดภัยในสถานศึกษา อันสงผลใหการขับเคลื่อนโนบายและจุดเนน บรรลุผล สําเร็จตอไป ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๓๓ ๔.วัตถปุ ระสงค 4.1 เพอ่ื ใหนกั ศึกษา มคี วามรูความเขาใจเกยี่ วกบั ระบบการคมุ ครองความปลอดภยั ในสถานศึกษาและ สามารถใชง านระบบได 4.2 เพ่ือใหค รู นกั ศึกษา บคุ ลากร และผมู าติดตอราชการเกิดความเชือ่ มนั่ ในการดําเนินงานดานความ ปลอดภยั ของสถานศกึ ษา ๔.๓ เพื่อใหนักศึกษา มีความรูความเขาใจเก่ียวกับ ภัยที่ เกิดจากผลกระทบตอสุขภาวะทางกายและ จติ ใจเร่อื งพษิ ภัยของยาเสพติด ๕. เปา หมาย ๕.๑ เชิงปรมิ าณ - เปาหมายตามนโยบายสาํ นกั งาน กศน.กาํ หนด ขยายผลใหนักศกึ ษา จํานวน ๑๐๐ คน - เปาหมายตามโครงการเพอ่ื ใหเกนิ เปา หมายท่ีกาํ หนด ขยายผลใหนกั ศึกษา จาํ นวน 150 คน ๕.๒ เชิงคุณภาพ นักศึกษา กศน.อําเภอกุดชุม รอยละ 80 มีความรูความเขาใจระบบการรักษา ความปลอดภัยในสถานศึกษาและมีความรูและวิเคราะหพิษภัยของยาเสพติดและนําความรูไปชวยเหลือ เพื่อน หรือคนใกลช ดิ ทีต่ ิดยาเสพติดได 6. วิธกี ารดําเนนิ งาน กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค กลมุ เปา หมาย เปา หมาย พ้นื ทดี่ าํ เนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 1.วางแผน/ บุคลากร กศน. กศน.อ.กุดชุม 25 พ.ค.65 - ประชุมชีแ้ จง -เพ่อื สรา งแนวปฏิบัติ -คณะบุคลากร อําเภอกุดชมุ กศน.อ.กดุ ชมุ 1 มิ.ย.65 บคุ ลากร อยา งชัดเจน ทุกคน 19 คน กศน.อ.กุดชุม 1๐ มิ.ย.65 18,390 2.จดั ทาํ บุคลากร กศน. โครงการฯ/ -สรางความเขา ใจ -คณะบคุ ลากร อาํ เภอ กศน.อ.กดุ ชุม บาท เสนอ ทกุ คน 19 คน โครงการฯ - บคุ ลากร กศน. ๑๗ มิ.ย. 65 3. ดาํ เนนิ การ - เพ่ือใหผ เู ขา รับการ -คณะบคุ ลากร อําเภอ 19 คน ตามกิจกรรม ฝกอบรมไดร ับความรู ทุกคน - นักศึกษา กศน. เกีย่ วกับระบบความ จํานวน ๑๕๐ คน 4. รายงานผล ปลอดภัยของสถานศกึ ษา - เอกสาร และเขา ใชง านระบบได -เพื่อใหเขา รบั การ ฝกอบรมไดร บั ความรูและ วิเคราะหพิษภยั ของยา เสพตดิ ไดแ ละนาํ ความรู ไปชว ยเหลอื เพื่อน หรอื คนใกลช ดิ ทตี่ ิดยาเสพตดิ ดว ยความเขาใจ สรปุ โครงการ -คณะบคุ ลากร ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๓๔ 7. วงเงนิ งบประมาณท้งั โครงการ งบประมาณ :งบจัดกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น จาํ นวน 18,390 - บาท (หน่ึงหมืน่ เปดพันสามรอ ยเกา สบิ บาทถวน) รายละเอียด ดังนี้ ๑. คาวัสดุ = 1๑,๓40 บาท 2. ปายโครงการฯ 3 ปา ย = ๑,๕๐๐ บาท ๓. คาอาหารวางและเครอื่ งดมื่ ม้ือละ 25 บาทx 1 มื้อx 150 คน = 3,750 บาท ๔. คาวทิ ยากร ๓ คน x ๖๐๐ บาท = ๑,๘๐0 บาท รวมเปนเงินทงั้ สิน้ 18,390 บาท (หนึ่งหมนื่ เปด พันสามรอ ยเกาสิบบาทถวน) หมายเหตุ ขอถวั จา ยเทา ที่จายจรงิ ทกุ รายการ 8. แผนการใชง บประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 (ต.ค.6๔-ธ.ค.6๔) (ม.ค.6๕-มี.ค.6๕) (เม.ย.6๕-มิ.ย.6๕) (ก.ค.6๕-ก.ย.6๕) ๑. ประชุมบุคลากร ๒. สาํ รวจความ 18,390 ตอ งการ ๓. จดั ทําโครงการฯ/ เสนอขออนุมัติ โครงการ ๔. ดําเนินการตาม โครงการ ๕. นิเทศ/การ ประเมินผลการดาํ เนิน โครงการ 9. ผูร บั ผิดชอบโครงการ ครผู ูชว ย นายวิเชยี ร คาํ เบา เมือง 10. เครอื ขา ย สถานีตํารวจภูธรกดุ ชุม อาํ เภอกุดชุม จงั หวัดยโสธร สถานีอนามยั เฉลิมพระเกยี รติฯ บานแดง ตาํ บลโพนงาม อาํ เภอกดุ ชมุ จงั หวัดยโสธร 11. โครงการทเี่ ก่ยี วของ - 12. ผลลัพธ (OUTPUT) นักศึกษาศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอกุดชุม มี ความรคู วามเขาใจการรักษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๓๕ 13. ตัวชว้ี ดั ผลสาํ เร็จของโครงการ ๑3.1 ตัวชีว้ ดั ผลผลติ นกั ศึกษา กศน.อาํ เภอกุดชุม จํานวน ๑50 คน มีความรูเก่ียวกับระบบความปลอดภัยของ สถานศึกษาและมีความรูความเขา ใจในพิษภัยของยาเสพติดและนําความรูไปชวยเหลือเพือ่ น หรือ คนใกลชิดท่ีตดิ ยาเสพตดิ ดว ยความเขาใจ ๑3.2 ตัวชว้ี ดั ผลลัพธ นักศึกษา กศน.อําเภอกุดชุม รอยละ80 มีความม่ันใจในระบบความปลอดภัยของ สถานศึกษาและเขาใชง านระบบความปลอดภยั ของสถานศึกษาไดแ ละมคี วามรูและวเิ คราะหพิษภัย ของยาเสพติดและนําความรูไปชว ยเหลอื เพ่อื น หรอื คนใกลชดิ ทตี่ ดิ ยาเสพตดิ ได 14.การติดตามและประเมินผล ๑4.1. สงั เกต และสอบถาม ๑4.2. แบบประเมินความพงึ พอใจ ลงช่อื ..............................................ผเู สนอโครงการ (นายวิเชยี ร คําเบา เมอื ง) ครูผชู วย ลงชอ่ื ..............................................ผเู หน็ ชอบโครงการ (นางบุศรา คมจติ ร) ครูชาํ นาญการ ลงชอื่ .................................................ผอู นุมตั ิโครงการ (นางสาวียะ พันธฤุ ทธ์ิ) ผูอาํ นวยการ กศน.อําเภอกดุ ชมุ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชุม สํานกั งาน กศน.จงั หวดั ยโสธร

๓๖ มีการจดั กจิ กรรมเพื่อสรางความเขาใจระบบการรักษาความปลอดภัยในสถานศกึ ษาและมี ความรแู ละวเิ คราะหพิษภัยของยาเสพติด โครงการอบรมระบบมาตรฐานความปลอดภัยในสถานศกึ ษา MOE Safety Center ใหกบั นกั ศกึ ษา กศน. ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๓๗ 1. ช่อื โครงการ : โครงการฝกอบรม เร่อื ง “มหศั จรรยพืชทางเลือกกญั ชาและกญั ชง”การขออนุญาตและ ขอกฎหมายท่คี วรรูเกย่ี วกับการเพาะปลกู เพ่ือใชประโยชน 2. ความสอดคลองตามยุทธศาสตรและจดุ เนนการดําเนินงาน 2.1 กรอบยุทธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ.2561-2580) ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 ดานความมั่นคง 1.3 สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อปองกันและแกไขปญหาภัยคุกคาม ในรูปแบบใหม ทง้ั ยาเสพตดิ การคามนุษย ภยั จากไซเบอร ภัยพบิ ัตจิ ากธรรมชาติ โรคอุบตั ใิ หม ฯลฯ ยุทธศาสตรท ี่ 3 ดานการพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย 3.3 สงเสริมการจดั การเรยี นรูท ่ที ันสมยั และมปี ระสิทธิภาพ เอ้อื ตอ การเรียนรสู ําหรับทกุ คนสามารถ เรียนไดทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย นาสนใจ สนองตอบความตองการของชุมชน เพื่อพัฒนา ศักยภาพการเรียนรูของประชาชน รวมทั้งใชประโยชนจากประชาชนในชุมชนในการรวมจัดกิจกรรมการ เรยี นรูเพ่อื เชือ่ มโยงความสมั พันธของคนในชมุ ชนไปสกู ารจัดการความรูของชมุ ชนอยางย่ังยืน 1) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรทู ปี่ ลูกฝง คุณธรรม สรางวินยั จิตสาธารณะความรบั ผิดชอบตอ สวนรวม และการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมรูปแบบตางๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนบั สนนุ ใหมีการจัดกิจกรรมเพ่ือปลกู ฝงคุณธรรม จริยธรรมใหก ับบุคลากรในองคก ร 3.4 เสริมสรางความรวมมือกับภาคีเครือขาย ประสาน สงเสริมความรวมมือภาคีเครือขายท้ัง ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมทง้ั สงเสริมและสนับสนุนการมีสว นรวม ของชุมชนเพือ่ สรางความเขาใจ และใหเกดิ ความรว มมือในการสงเสริม สนับสนุน และจดั การศกึ ษาและการ เรยี นรูใ หก บั ประชาชนอยางมีคุณภาพ 2.2 สอดคลอ งกบั จุดเนน การดําเนนิ งานสํานกั งาน กศน.ประจําปง บประมาณ 2565 2. ดานการสรางสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตท่ีเนนการพัฒนาทักษะทจี่ ําเปนสําหรับแตละชวงวัย และ การจดั การศกึ ษาและการเรียนรทู เ่ี หมาะสมกับแตละกลุมเปาหมายและบรบิ ทพื้นที่ 2.4 สง เสรมิ การจัดการศึกษาของผูสูงอายเุ พื่อใหเปน Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดํารงชีวิตทเี่ หมาะกบั ชวงวัย 3. สอดคลอ งกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตอ เนอ่ื ง ประเด็นท่ี 1.1 ผูเรียนการศึกษาตอเน่ืองมีความรูความสามารถหรือทักษะและหรือคุณธรรมเปนไปตาม เกณฑก ารจบหลกั สูตร ประเด็นที่ 1.2 ผูจบหลักสูตรการศึกษาตอเนื่องสามารถนาความรูไปใชหรือประยุกตใชในฐานคา นิยมรวม ของสังคม ประเดน็ ที่ 1.3 ผจู บหลกั สูตรการศกึ ษาตอ เนอ่ื งทน่ี าํ ความรไู ปใชจนเห็นเปน ประจกั ษหรือตัวอยางทีด่ ี มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการเรียนรกู ารศกึ ษาตอเนอ่ื ง ประเด็นที่ 2.1 หลกั สตู รการศกึ ษาตอ เนือ่ งมีคุณภาพ ประเด็นท่ี 2.2 วิทยากรการศึกษาตอเนื่องมีความรูความสามารถหรือประสบการณตรงตามหลักสูตร การศกึ ษาตอ เนือ่ ง ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๓๘ ประเด็นที่ 2.3 สอื่ ท่เี อือ้ ตอการเรยี นรู ประเดน็ ที่ 2.4 การวดั และประเมินผลการศกึ ษาตอเนือ่ ง ประเดน็ ท่ี 2.5 การจัดกระบวนการเรยี นรกู ารศึกษาตอ เนอ่ื งมีคุณภาพ 4. หลกั การและเหตุผล กัญชงและกัญชาจัดเปนยาเสพติดใหโทษประเภทท่ี ๕ ตามพระราชบัญญตั ิยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ แตในทศวรรษที่ผานมา มีรายงานการศึกษาวิจัยทั้งในประเทศและตางประเทศนําเสนอประโยชน ทางการแพทยของตาํ รบั ยาทีม่ ีสวนผสมของกัญชงและกญั ชา ขอมูลทางเภสัชวิทยาของสารสกัดกัญชงกัญชา ประโยชนข องกัญชาในดานพืชเศรษฐกิจ และสารสกัดกัญชงและกัญชาที่ประยุกตใชทางการแพทยได อนึ่ง ปลายป พ.ศ.๒๕๕๙กฎหมายไทยไดอนุญาตใหปลูกและครอบครองกัญชงไดในเง่ือนไขที่กําหนด ตอมาใน เดอื น กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา ไดป ระกาศ “ปลดลอ็ ค” กญั ชาทางการแพทย กลา วคืออนุญาต ใหหนวยงาน วิสาหกิจและบุคคลในกลุมท่ีกําหนดสามารถขออนุญาตปลูกกัญชาเพ่ือใชประโยชนทาง การแพทยและการศึกษาวิจัยได อยางไรก็ตามขณะน้ีประชาชนทัว่ ไป กลุมผูปวยที่ประสงคขอรบั การรักษา ดว ยตํารับยาท่ีมีสวนผสมของ กัญชา หนวยงานภาครัฐวิสาหกิจชุมชนและกลุมบคุ คลท่ีประสงคปลูกกัญชง กัญชา และครอบครองกัญชาเพื่อประโยชน ทางการแพทยยังขาดความรูความเขาใจในเร่อื งกฎเกณฑตางๆ ในการขออนุญาตปลูกกญั ชา เพ่อื ประโยชนของตาํ รับยาทม่ี ีสว นผสมของกญั ชาขอมลู ทางเภสชั วิทยาของสาร สกดั กัญชา รวมท้งั ประโยชนของการใชกัญชงและกญั ชาทางการแพทยจากความสาํ คัญดังกลาว กศน.อําเภอ กุดชุม จึงไดจัดโครงการฝกอบรม เรอ่ื ง “มหัศจรรยพืชทางเลือกกัญชาและกัญชง”การขออนุญาตและขอ กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับการเพาะปลูกเพ่ือใชประโยชนใหกับกลุมเปาหมาย เพ่ือเสริมสรางความรูความ เขา ใจ เกี่ยวกับการใชกัญชงและกัญชาและขยายผลใหประชาชนในพ้ืนท่ีไดรับความรูการขออนุญาตและขอ กฎหมายทคี่ วรรูเกย่ี วกบั การเพาะปลูกเพ่ือใชป ระโยชนอยางถูกตอ งตอ ไป 5 .วตั ถปุ ระสงค 5.1 เพอ่ื เสริมสรางความรคู วามเขาใจ เกีย่ วกับการใชก ัญชงและกญั ชา 5.2 ขยายผลใหประชาชนในพ้ืนทไี่ ดร ับความรูการขออนุญาตและขอ กฎหมายทค่ี วรรูเก่ียวกบั การ เพาะปลกู เพื่อใชป ระโยชนอยางถกู ตอ ง 6. เปา หมาย เชงิ ปริมาณ ประชาชนทั่วไป จากพนื้ ที่ 9 ตําบล จาํ นวน 24 คน เชิงคณุ ภาพ ผูเขารว มกิจกรรม มคี วามรูความเขาใจ เก่ียวกบั การใชกัญชงและกัญชา และมีความรูเขาใจในการ ขออนญุ าตและขอ กฎหมายท่ีควรรเู กยี่ วกับการเพาะปลูกเปน พืชเศรษฐกิจ เพ่ือใชประโยชนอยางถกู ตอ ง ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๓๙ ๗. วิธีการดําเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค กลุมเปาหมาย เปาหมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ ผบู รหิ ารและ 19 คน กศน.อําเภอ มิถนุ ายน 65 4,400 บาท 1.สํารวจชุมชน/ความ เพอื่ วางแผนการจัด บคุ ลากร กศน. กุดชุม วิทยากร /ภาคี เครอื ขาย เครือขายอาํ เภอ มิถนุ ายน 65 ตอ งการของ กจิ กรรมอยางเปนระบบ เครอื ขาย การจัดการ กดุ ชุม ผบู รหิ ารและ ศึกษา กศน.อําเภอ มถิ ุนายน 65 กลุมเปาหมาย และเปน ข้ันตอน ผูรบั ผิดชอบ กศน.อาํ เภอ กดุ ชุม โครงการ กุดชุม กศน.อาํ เภอ มถิ ุนายน 65 2.ประสานเครอื ขาย/ เพือ่ การจดั เตรียม ครู กศน.ตาํ บล กศน.อําเภอ กดุ ชมุ กุดชมุ กศน.อําเภอ กรกฎาคม วิทยากรทีส่ ามารถให หลักสตู รกิจกรรม คณะทาํ งาน กศน.อาํ เภอ กดุ ชุม 65 กดุ ชุม กศน.อําเภอ 18 ความรใู นเนื้อหาวชิ า ประชาชน ท้งั 9 จํานวน 24 กุดชุม ตําบล จํานวน 24 คน กรกฎาคม 3.จัดทาํ หลักสตู ร/ เพอ่ื วางแผนการจัด คน กศน.อําเภอ 65 19 คน กุดชุม โครงการและขออนมุ ัติ กจิ กรรมและอนมุ ตั ิการ ครู กศน.ตาํ บล 20 กรกฎาคม โครงการฯ จัดกจิ กรรม 65 4.แตง ตง้ั คณะกรรมการ เพ่ือการมอบหมาย ในการดาํ เนนิ งาน หนา ท่ีรับผิดชอบในการ จดั กจิ กรรม 5.จัดเตรยี ม วัสดุ จัดเตรยี มสถานที่ สอื่ อปุ กรณ ส่ือ ความรใู น อุปกรณทใ่ี ชใ นการจดั การจัดกจิ กรรม กจิ กรรม 6.จัดกจิ กรรมตาม 1. เพื่อเสรมิ สรางความรู โครงการ ความเขา ใจ เกยี่ วกบั การ -วทิ ยากรบรรยายให ใชก ญั ชงและกัญชา ความรู ใหผ รู ว มกิจกรรม 2. ขยายผลใหประชาชน มีสวนรว มแลกเปล่ียน ในพื้นทไ่ี ดร บั ความรูการ เรยี นรูระหวา งผูเขา อบรม ขออนญุ าตและขอ -ถอดบทเรียน กฎหมายท่คี วรรเู กย่ี วกับ การเพาะปลกู เพื่อใช ประโยชนอ ยา งถูกตอ ง 7.สรปุ รายงานผลการ เพ่อื ปรับปรงุ แกไ ขและ ดาํ เนินงาน พัฒนาการดําเนนิ โครงการ ๘. งบประมาณบญั ชีจัดสรร ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ คา จัดกิจกรรม กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน งบดาํ เนนิ งาน รหัสงบประมาณ ๒๐๐๐๒๓๖๐๐๔๐๐๐๐๐๐ แผนงาน:พื้นฐานดานการพัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย ผลผลิตที่ ๔ ผูรบั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ จํานวน 4,400 บาท (สพี่ นั ส่ีรอ ยบาทถว น) ดงั น้ี - คาอาหาร ( 70 บาท * 24 คน ) = 1,680 บาท - คา อาหารวางและเครอื่ งด่มื (24 คน * 25 บาท * 2 มื้อ) = 1,200 บาท - คาตอบแทนวิทยากร 1 คน * 200 บาท * 5ช่วั โมง = 1,000 บาท - คา วสั ดุ = 520 บาท รวมเปนเงินทงั้ สิน้ = 4,400 บาท (สี่รอยสส่ี บิ บาทถว น) หมายเหตุ : ทกุ รายการถัวจายตามท่จี า ยจริง ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๔๐ ๙. แผนการใชจ า ยงบประมาณ ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ (ต.ค.-.ธ.ค. ๖๔) (ม.ค. –มี.ค. ๖๕) (เม.ย.– มิ.ย. ๖๕) (ก.ค. – ก.ย. ๖๕) กจิ กรรมหลัก 4,400บาท 1.สํารวจชมุ ชน/ความตอ งการของ กลุมเปาหมาย 2.ประสานเครือขาย/วิทยากรท่ี สามารถใหค วามรูในเนือ้ หาวชิ า 3.จดั ทาํ หลกั สูตร/โครงการและขอ อนุมตั โิ ครงการฯ 4.แตง ต้ังคณะกรรมการในการ ดําเนินงาน 5.จัดเตรียม วสั ดุ อปุ กรณ สือ่ ความรูใ นการจัดกจิ กรรม 6.จดั กิจกรรมตามโครงการ -วิทยากรบรรยายใหความรู ใหผูรวม กิจกรรมมสี ว นรว มแลกเปล่ียนเรยี นรู ระหวางผูเขาอบรม -ถอดบทเรียน 7.สรปุ รายงานผลการดาํ เนนิ งาน 10. ผูร ับผิดชอบโครงการ นางสาวสริ ิกร แสงกลา ครู กศน.ตาํ บล 11. เครอื ขาย - ผนู าํ ทอ งถน่ิ - โรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตําบล - สถานีตาํ รวจภูธรกดุ ชมุ 12. โครงการทเ่ี กีย่ วของ - โครงการจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน - โครงการจัดการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทักษะชวี ิต 13. ผลลพั ธ (Outcome) 13.1) ผลผลิต (Outputs) กลุม เปาหมาย มีความรู ความเขา ใจ เก่ยี วกับเรือ่ งกญั ชง-กญั ชา โดยไมผิดกฎหมาย 13.2) ผลลพั ธ (Outcome) ประชาชนมีความรเู บอื้ งตนเกยี่ วกับกัญชงกญั ชารูจักโทษประโยชนของกญั ชงกญั ชา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๔๑ 14. ดัชนชี ้ีวดั ผลสาํ เรจ็ ของโครงการ 14.1) ตัวช้วี ดั ผลผลติ - รอยละ 100 ของกลุมเปาหมายเขารวมกิจกรรมการ มีความรูความเขาใจในการขอ อนุญาตปลูกกญั ชงกญั ชาเพอ่ื ใชป ระโยชนและเกย่ี วกับการเพาะปลกู เปน พืชเศรษฐกิจอยา งถกู ตอ ง 14.2) ตวั ชวี้ ัดผลลพั ธ - รอยละ 80 ของกลุมเปา หมายมีความรู ความเขาใจ เก่ียวกบั การ ขอมูลทางเภสัชวิทยา ของสารสกดั กญั ชง กัญชา รวมท้ังแนวทางการใชกัญชงและกัญชาเปนพืชเศรษฐกิจและสามารถขยายผลไป ยงั คนในครอบครวั และประชาชนในพนื้ ที่ไดอยา งถูกตอง ๑5. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ - ประเมนิ ความพงึ พอใจ - สรปุ รายงานผลดาํ เนนิ โครงการ - รายงานการติดตามการนาํ ความรูไปใชของผเู รียน (แบบ กศตน. ๒๒) ลงช่ือ....................................ผูเสนอโครงการ ลงชือ่ ..........................................ผเู ห็นชอบโครงการ (น.ส.สิรกิ ร แสงกลา) (นายวิเชียร คําเบา เมอื ง) ครู กศน.ตาํ บล ครูผูชว ย ลงช่ือ.......................................ผอู นมุ ตั โิ ครงการ (นางสาวียะ พนั ธฤุ ทธ์ิ) ผูอํานวยการ กศน.อาํ เภอกุดชมุ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชุม สํานกั งาน กศน.จงั หวดั ยโสธร

๔๒ มกี ารจัดกิจกรรมเพือ่ สรางความเขาใจ เรือ่ ง มหศั จรรยพืชทางเลอื กกญั ชาและกญั ชง การขอ อนญุ าตและขอกฎหมายในการปลูกเพ่อื ใชป ระโยชน นักศึกษา กศน. สามารถนาํ ความรู เพ่อื นาํ ไปใชป ระโยชน และเปนพืชเศรษฐกจิ ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๔๓ ๑. ชือ่ โครงการ : โครงการสง เสริมทกั ษะดานกฬี า นกั ศกึ ษา กศน. ตา นยาเสพตดิ ปง บประมาณ ๒๕๖5 ๒. สอดคลองนโยบาย/จดุ เนน ยทุ ธศาสตรท่ี ๒ ยุทธศาสตรด า นการสรางความสามารถในการแขง ขัน ขอท่ี ๒.๑ เรง ปรับหลกั สตู รการจัดการศึกษาอาชีพ กศน.เพื่อยกระดบั ทักษะอาชพี ของประชาชน ๓. สอดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเรียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ประเดน็ ที่ ๑.๖ ผเู รียนการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานมีสขุ ภาวะทางกาย และสุนทรยี ภาพ ๔.หลักการและเหตุผล การเลน กฬี าเปนการออกกาํ ลงั กายที่ดี ทําใหรางกายสุขภาพพลานามยั แข็งแรงปลอดจากโรคภัยไข เจบ็ และยังทําใหเ ยาวชนไมม่วั สมุ เกยี่ วกับยาเสพติด ทาํ ใหนักศึกษา กศน. ในแตละตําบลมีสขุ ภาพท่ีแข็งแรง และมีคุณภาพท่จี ะชว ยกนั พฒั นาหมบู า น ตาํ บลและประเทศชาติใหค วามเจริญยง่ิ ข้ึน ฉะน้ัน เพื่อเปนการปลูกฝงนักศึกษา กศน.และประชาชนใหหันมาสนใจดานกีฬา กศน.อําเภอ กดุ ชุม ไดม องเหน็ ความสาํ คญั การสงเสริมกีฬาเปน อยางมากและเปนการเช่ือมความสามัคคี และใชเวลาวาง ใหเ กดิ ประโยชนจ ึงไดจัดใหมโี ครงการสงเสริมทักษะดานกีฬา นักศึกษา กศน. ตานยาเสพติด ปงบประมาณ ๒๕๖5 ขึ้น ๕. วตั ถปุ ระสงค 1. เพอ่ื สงเสรมิ สุขภาพ พลานามัยแกน ักศึกษา กศน.อาํ เภอกดุ ชมุ ใหเ ลน กฬี าเพื่อสขุ ภาพ และรจู ักใชเวลาวางใหเปนประโยชน 2. เพื่อสง เสริมใหนกั ศกึ ษา กศน.อาํ เภอกุดชมุ รรู กั สามัคคี รูแ พ รชู นะ รูอ ภยั เลน กฬี าดว ยนํา้ ใจ เปนนกั กฬี า ๖. กลมุ เปาหมาย เชงิ ปริมาณ บุคลากร กศน.อําเภอกดุ ชุมและนักศึกษา กศน.อําเภอกุดชุม ท้งั ๙ตาํ บล จํานวน 90 คน เชงิ คณุ ภาพ นกั ศกึ ษา กศน.อาํ เภอกุดชมุ รูร ักสามัคคี รูแ พ รชู นะ รอู ภัย เลนกฬี าดวยนา้ํ ใจ เปน นกั กีฬา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๔๔ ๗.วธิ ดี ําเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค กลมุ เปาหมาย เปาหมาย พนื้ ที่ ระยะเวลา งบ ประมาณ ๑.ประชมุ วาง เพื่อชแี้ จงกําหนด บุคลากร กศน. ๑๗ คน กศน.อําเภอ พฤษภาคม แผนการ แผนการดําเนนิ อําเภอกดุ ชมุ ท้ัง ๙ 9๐ คน กุดชุม 2565 - ดําเนนิ งาน ตําบล ๑ คน กศน.อาํ เภอ -เพ่อื ทราบความ นักศึกา กศน.อําเภอ 9๐ คน กดุ ชมุ พฤษภาคม - 2.สาํ รวจความ ตองการผูเขา รวม กุดชมุ ทั้ง ๙ ตําบล กศน.อาํ เภอ 2565 ตองการ โครงการ -บุคลากร กศน. 5 คน กดุ ชุม กลมุ เปา หมาย -เพอ่ื เปน แนวทางใน อําเภอกดุ ชุม ๑ คน สนามกีฬา กรกฎาคม - การปฏิบตั ิงาน นักศึกา กศน.อาํ เภอ จังหวัดยโสธร ๒๕๖5 3. เขยี น กดุ ชมุ ทง้ั ๙ ตําบล โครงการ/ขอ เพือ่ ใหน ักศกึ ษา กศน. สนามกีฬา ๑๑ ๕๔,๔50 อนมุ ตั โิ ครงการ อําเภอดุ ชมุ เลน กฬี า คณะกรรมนเิ ทศ จงั หวดั ยโสธร สิงหาคม บาท รรู กั สามัคคี รูแพ กศน.อําเภอ 2565 ๔.ดาํ เนนิ การ รชู นะ รูอภยั เลน กีฬา นายเมทนี ผลจันทร กุดชมุ จัดการแขงขัน ดว ยน้ําใจ เปนนกั กีฬา ๑๑ - ตามโครงการ สิงหาคม สง เสริมทักษะ -เพื่อตดิ ตามการ 2565 ดานกีฬา ดําเนนิ นงานตาม นักศกึ ษา กศน. โครงการ ๑๕ ตานยาเสพติด -เพอ่ื สรุปผลสําเรจ็ ตาม สงิ หาคม ปงบประมาณ เปา ประสงค 2565 ๒๕๖5 5.นเิ ทศ/การ ประเมนิ ผลการ ดาํ เนินโครงการ 6.สรปุ ผลการ ดาํ เนนิ โครงการ/ ๘.งบประมาณ งบอุดหนนุ ทั่วไป เงินอดุ หนุน การจัดการเรยี นการสอน ๑. คาอาหาร 9๐ คน X ๗๐ บาท X 2ม้อื = ๑2,6๐๐ บาท บาท ๒. คาน้ําดืม่ อาหารวา ง 9๐ คน x ๒5 บาท = 2,25๐ บาท บาท ๓. คา วัสดุ = 1,50๐ บาท บาท ๔. คาปา ย = ๕๐๐ บาท บาท 5. คา จางเหมารถ 2 คนั = 2๐,0๐๐ 6. คา ชุดกฬี า ๔๒ ชุด x 300 บาท = ๑๒,๖๐๐ 7. คาขบวนพาเหรด = ๕,00๐ รวม = ๕๔,๔50 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร

๔๕ ๙. แผนการใชจ า ยงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ (ต.ค. – ธ.ค.๖๔) (ก.ค. – ก.ย.๖๕) ๑.ประชมุ วางแผนการดําเนินงาน (ม.ค. – มี.ค.๖๕) (เม.ย.– มิ.ย.๖๕) 2.สาํ รวจความตอ งการกลมุ เปา หมาย ๕๔,๔50บาท 3. เขยี นโครงการ/ขออนมุ ตั โิ ครงการ ๔.ดาํ เนนิ การจัดการแขงขันตามโครงการ สง เสริมทกั ษะดา นกีฬา นกั ศกึ ษา กศน. ตา นยาเสพติด ปงบประมาณ ๒๕๖5 5.นเิ ทศ/การประเมนิ ผลการดาํ เนนิ โครงการ 6.สรปุ ผลการดาํ เนินโครงการ/ ๑๐.ผูร ับผิดชอบโครงการ นายเมทนี ผลจันทร ครู กศน.ตําบล ๑๑. เครอื ขาย/ ท่เี กย่ี วของ คณะกรรมการองคก รนักศึกษา กศน.อาํ เภอกดุ ชุม ๑๒. โครงการทเี่ ก่ยี วของ - โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา ดา นงานการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน - โครงการสง เสรมิ สขุ ภาพ นักศกึ ษา กศน. ดูแลสุขภาวะทางกาย สรา งสนุ ทรยี ภาพ ใหชีวิตและ จติ ใจอยางย่งั ยนื 13. ผลลัพธ (Outcome) ผลผลิต (Outputs) เพอื่ สง เสรมิ สขุ ภาพ พลานามยั แกนักศึกษา กศน.อําเภอกุดชุม ใหเ ลนกีฬาเพ่ือสุขภาพและรจู ัก ใชเวลาวา งใหเ ปนประโยชน ผลลัพธ (Outcome) นกั ศึกษา กศน.อําเภอกุดชมุ รรู กั สามคั คี รแู พ รูชนะ รูอ ภัย เลน กฬี าดว ยนา้ํ ใจ เปนนกั กฬี า 14.ดัชนตี ัวชี้วดั ผลสาํ เรจ็ ของโครงการ 14.1) ตัวชวี้ ัดผลผลิต (Output) รอยละ 80 นักศึกษา กศน.อําเภอกุดชมุ เลนกฬี าเพ่อื สขุ ภาพและรูจ กั ใชเ วลาวางใหเปน ประโยชน 14.2) ตัวชวี้ ัดผลลพั ธ (Outcome) รอยละ 80 นกั ศึกษา กศน.อําเภอกุดชมุ รรู ักสามคั คี รูแพ รชู นะ รอู ภัย เลนกีฬาดว ยนาํ้ ใจเปน นักกฬี า ๑๕. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ - แบบประเมินความพงึ พอใจ ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอกุดชมุ สํานักงาน กศน.จังหวัดยโสธร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook