หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๕ แรงกบั การเคลอ่ื นที่ของวตั ถุ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
๑. ผลของแรงตอ่ การเปลยี่ นแปลงการเคลือ่ นทขี่ องวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถจุ าเป็นต้องมีแรงเข้ามากระทา เมื่อต้องการเคลื่อนย้าย วัตถุ เราจาเป็นต้องออกแรงดึง ลาก หรือผลัก เพื่อให้วัตถุเหล่าน้ันเคลื่อนท่ี ดังนั้น แรงทม่ี ากระทาต่อวัตถเุ หลา่ นนั้ จึงส่งผลตอ่ การเคล่อื นที่ของวตั ถโุ ดยตรง
เนนิ ทรายที่ถกู กระแสลมพดั เป็นรปู ตา่ ง ๆ
คนลากกระเปา๋ เดินทาง
การที่ทาให้ก้อนกระดาษเคลื่อนที่ต้องอาศัยแรงผลัก ของนิ้วมือท่ีกระทากับช้อนพลาสติก และแรงผลักของช้อน พลาสติกท่ีส่งให้ก้อนกระดาษเคลื่อนท่ี ยิ่งแรงผลักของนิ้วมือ มากชอ้ นพลาสตกิ ก็จะยิง่ สง่ แรงผลักกอ้ นกระดาษมากเช่นกนั
แรงดึงและแรงผลักมผี ลตอ่ การเคลอ่ื นท่ขี องวตั ถุ วทิ ยาศาสตรวแ์ ิทลยะเาทศคาโสนตโลร์ยชี น้ัช้ันปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปทีที ่ี่ี ๓๓
การดึงหรือการผลักเป็นการออกแรงกระทาต่อวัตถุ แรงมีผลต่อ รูปร่างทิศทางหรือการเคลื่อนท่ีของวัตถุ แรงอาจทาให้วัตถุเปล่ียนรูปร่าง เปลี่ยนทิศทางเกิดการเคล่ือนท่ีโดยการเปล่ียนจากที่หนึ่งไปยังอีกท่ีหนึ่ง หรอื หยุดนงิ่ ได้
ถ้าแรงมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศ ทางตรงข้ามกัน จะไม่ทาให้วัตถุเคล่ือนที่ แต่อาจทาให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่างได้ เช่น การ ฉกี กระดาษ การเคล่ือนที่ของวัตถุอาจมีแรงมา เกย่ี วข้องมากกว่าหนง่ึ แรง เชน่ การพายเรือ มีแรงดันของน้าท่ีทาให้เรือลอยตัว แรงผลัก จากกระแสนา้ และแรงผลักจากการพายของ คนท่ีช่วยทาให้เรือเคลือ่ นท่ี
การเคลื่อนท่ขี องเรอื ท่มี ีแรงมาเกี่ยวขอ้ งมากกวา่ หน่ึงแรง วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓
แรง คือ อานาจอย่างหนึ่งที่ทาให้ เตะลูกฟุตบอลให้เคลื่อนทอี่ อกไป วัตถุเปล่ียนสภาพการเคล่ือนท่ีจากอยู่นิ่ง เป็นเคลื่อนท่ี ลักษณะดังกล่าวเรียกว่า การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งนักเรียนอาจจะพบเจอกาเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนท่ีของวัตถไุ ด้ในชีวิตประจาวัน เช่น การเตะลูกฟุตบอลให้เคล่ือนที่ ออกไป การเบรกรถท่ีกาลังเคล่ือนท่ี การตีลกู ขนไก่ การปาสงิ่ ของ วทิ ยาศาสตรวแ์ ิทลยะเาทศคาโสนตโลร์ยชี น้ัชั้นปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทที ี่ี่ ๓๓
กิจกรรมที่ออกแรงผลกั วตั ถุ วิทยาศาสตรวแ์ ิทลยะเาทศคาโสนตโลร์ยชี นั้ชั้นปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปทีที ่ี่ี ๓๓
กิจกรรมที่ออกแรงดงึ วตั ถุ วิทยาศาสตรวแ์ ิทลยะเาทศคาโสนตโลร์ยชี น้ัช้ันปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปีทีท่ี่ี ๓๓
๒. แรงสัมผัสและแรงไมส่ มั ผัสที่มีผลตอ่ การเคล่อื นทข่ี องวัตถุ การออกแรงกระทาต่อวัตถุ เช่น การใช้มือดึงประตู การลากกระเป๋า การผลักรถเข็น เป็นการออกแรงที่วัตถุต้องสัมผัสกัน เพื่อให้วัตถุน้ันเคลื่อนท่ีได้ แต่ในชีวิตประจาวันวัตถุบางชนิดสามารถเคลื่อนที่ได้โดยไม่ต้องสัมผัสเพื่อส่งแรง กระทา เชน่ ปลอ่ ยลูกบอลใหต้ กจากที่สูงลงสงู ทีต่ ่าตามแนวดงิ่
การดึงดดู ของแม่เหลก็
การดึงหรือการผลัก เป็นการออกแรงท่ีเกิดจากวัตถุหนึ่งกระทากับ อีกวัตถุหนึ่งโดยวัตถุท้ังสองอาจสัมผัสหรือไม่ต้องสัมผัสกัน เช่น การออก แรงโดยใช้มือดึงหรือผลักโต๊ะใหเ้ คลื่อนท่ี เป็นการออกแรงทีว่ ัตถตุ ้องสัมผัส กนั แรงจึงเป็น แรงสัมผัส
ส่วนการท่ีแม่เหล็กดึงดูดหรือผลัก ระหว่างแม่เหล็ก เป็นแรงท่ีเกิดข้ึนโดย แม่เหล็กไม่จาเป็นต้องสัมผัสกัน และไม่ จ า เ ป็ น ต้ อ ง สั ม ผั ส กั บ วั ต ถุ ที่ เ ป็ น ส า ร แม่เหล็ก เช่น แท่งแม่เหล็กสามารถส่งแรง ดึงดูดลวดเสียบกระดาษได้ โดยที่ไม่ต้อง สัมผัสกับลวดเสียบกระดาษ แรงแม่เหล็ก จึงเป็น แรงไมส่ ัมผัส
๓. แมเ่ หล็กและสมบัตขิ องแม่เหล็ก โลหะบางอย่าง ไดแ้ ก่ เหลก็ นิกเกิล โคบอลต์ เม่อื เข้าใกล้กบั แม่เหล็กจะได้รับ แรงดึงดูดทาให้โลหะเหล่าน้ันติดอยู่กับแม่เหล็ก ซ่ึงไม่ใช่โลหะทุกชนิดท่ีจะเกิด ปรากฏการณ์เช่นนี้ได้ แต่ถ้านาแม่เหล็กกับแม่เหล็กมาใกล้กัน พบว่าจะเกิดแรง กระทาระหว่างแม่เหล็กนั้น ท้ังชนิดที่เป็นแรงดึงดูดและแรงผลัก ข้ึนอยู่กับขั้วของ แม่เหล็ก วิทยาศาสตรวแ์ ิทลยะเาทศคาโสนตโลร์ยชี น้ัช้นัปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปทีที ่ี่ี ๓๓
แม่เหล็กมีแรงดึงดูดวัตถุบางชนิดได้ เราเรียกวัตถุท่ี แม่เหล็กออกแรงดึงดูดได้ว่า สารแม่เหล็ก สารแม่เหล็ก จะเป็นโลหะ ไดแ้ ก่ เหลก็ นิกเกิล และโคบอลต์
ตะปู เขม็ เยบ็ ผา้ และลวดเสยี บกระดาษ เปน็ วัตถุที่มสี ารแมเ่ หล็ก สว่ นกระดาษ ยาง และผา้ เป็นวัตถทุ ไี่ ม่มีสารแม่เหล็ก วตั ถุทีเ่ ป็นสารแม่เหลก็ วตั ถุที่ไม่เป็นสารแม่เหลก็
แม่เหล็กมีรูปร่างหลายแบบ และหลายขนาด เช่น ทรงกระบอก แ ท่ ง ส่ี เ ห ลี่ ย ม ตั ว ยู ว ง แ ห ว น แม่เหล็กบางแท่งจะมีสัญลักษณ์ แสดงขว้ั เหนือและขว้ั ใต้
แม่เหลก็ มปี ระโยชนใ์ ชท้ าสิง่ ของเคร่อื งใชต้ ่าง ๆ ดังนี้ ๑. ใช้เป็นส่วนประกอบของของใช้ เช่น กล่องดินสอ กระเป๋าถือ ตู้เย็น แม่เหล็กชว่ ยให้ฝาสิง่ ของเหลา่ นี้ปดิ สนทิ กลอ่ งดนิ สอ กระเป๋าถือ ตู้เยน็
๒. ใช้ทาเข็มทิศเพ่ือค้นหาทิศทาง เช่น การเเล่นเรือทางทะเล การขับ เครื่องบิน หรือเดินป่า เข็มทิศจะช้ีไป ทางทิศเหนือเสมอ เขม็ ทศิ
๓. ใช้เป็นส่วนประกอบกระดาน ที่ ท า ด้ ว ย เ ห ล็ ก ส า ห รั บ ติ ด ข อ ง เ ล่ น กระดาษบันทกึ หรือของใชอ้ ื่น ๆ กระดานแม่เหลก็
๔. ใช้แยกวัตถุท่ีมีสารแม่เหล็ก เป็นส่วนประกอบออกจากวัตถุอ่ืน ๆ ได้ เช่น ปั้นจั่นแยกขยะ ปั้นจ่ันยก ของหนัก ๆ เพื่อย้ายวัตถุเหล่าน้ีไปท่ี อนื่ ไดส้ ะดวก ป้นั จ่นั
๕. ใชเ้ ปน็ ส่วนประกอบของเครอื่ งใช้ไฟฟ้าหลายชนิด วิทยุ โทรทศั น์ โทรศพั ท์
๕. ใช้เป็นสว่ นประกอบของเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าหลายชนิด ไมโครโฟน เคร่อื งซักผ้า คอมพิวเตอร์
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
๑. แรงขอ้ ใดทาให้วัตถเุ กดิ การเคล่อื นท่ี ๑. การแกว่งชิงช้า ๒. การก่อกองทราย ๓. การป้ันดนิ นา้ มนั ๔. การดัดลวดโครงดอกไม้
๒. ข้อใดทาให้วตั ถเุ ปลีย่ นแปลงการเคล่อื นท่จี ากวตั ถทุ ก่ี าลงั เคลือ่ นท่เี ป็นหยดุ น่ิง ๑. เด็กหญงิ A ออกแรงเตะตะกร้อสง่ ให้เพอื่ น ๒. เด็กหญงิ B ออกแรงลากโต๊ะเรียนจากมุมหอ้ ง ๓. เดก็ ชาย C ออกแรงรบั ลกู ฟุตบอลทเี่ พอ่ื นเตะมา ๔. เดก็ ชาย D ออกแรงตลี ูกวอลเลยบ์ อลข้ามตาขา่ ยส่งใหเ้ พอื่ น
๓. จากภาพ ขอ้ ใดเป็นผลของแรงทีก่ ระทาต่อวตั ถุ ๑. แรงทาใหว้ ตั ถุเคลอื่ นที่อยแู่ ลว้ เคลอื่ นท่เี ร็วขนึ้ ๒. แรงทาใหว้ ตั ถุเคลอื่ นที่อยู่แลว้ หยดุ นงิ่ ๓. แรงทาใหว้ ตั ถุที่อยนู่ ิง่ เกดิ การเคลือ่ นท่ี ๔. แรงทาใหว้ ตั ถเุ ปลย่ี นแปลงรูปร่าง
๔. ข้อใดเป็นแรงไมส่ ัมผสั ๑. การเปิดหนา้ ตา่ ง ๒. การเตะลกู ฟตุ บอล ๓. การยกกระเปา๋ นักเรียน ๔. การท่แี ม่เหลก็ ผลักระหวา่ งแมเ่ หลก็
๕. ขอ้ ใดแสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งแรงสัมผสั และแรงไมส่ มั ผัสตอ่ การเคลอ่ื นท่ขี องวตั ถไุ ด้ถกู ตอ้ ง ๑. ถบี จกั รยาน - แรงไม่สัมผัส ๒. มะม่วงร่วงจากตน้ - แรงสัมผัส ๓. ก่อกองทราย - แรงไมส่ มั ผัส ๔. เตะลูกฟุตบอล - แรงสมั ผัส
๖. วัตถุในข้อใดท่ีแม่เหลก็ ไม่สามารถดงึ ดูดได้ ๑. ยางลบ กระดาษ ๒. เขม็ เย็บผ้า ตะปู ๓. ลูกกุญแจ เข็มกลดั ๔. ลวดเสียบกระดาษ เขม็ เยบ็ ผา้
๗. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้องเกย่ี วกบั สมบตั ขิ องแม่เหลก็ ๑. ดึงดูดวัตถุไดท้ ุกชนิด ๒. ดงึ ดูดสารแมเ่ หล็กได้ ๓. ขัว้ ต่างชนิดกันจะผลักกนั ๔. ขว้ั ชนดิ เดยี วกันจะดงึ ดูดกัน
๘. ตาราง ผลทีเ่ กิดข้นึ จากการนาแมเ่ หลก็ เข้าใกล้ วัตถบุ างชนิดวัตถุ B ตรงกบั วัตถุในขอ้ ใด ๑. ลวดเสยี บกระดาษ ๒. เข็มเยบ็ ผา้ ๓. กรรไกร ๔. เส้นด้าย
๙. จากภาพ ถา้ แบ่งแทง่ แมเ่ หล็ก 1 แทง่ เป็น 3 สว่ น ขัว้ แมเ่ หลก็ จะอยู่ บรเิ วณสว่ นใดของแทง่ แม่เหล็ก ๑. A และ B ๒. B และ C ๓. A และ C ๔. เฉพาะ B เทา่ นั้น
๑๐. เม่อื นาแทง่ แม่เหล็ก 2 แท่งมาวางใกล้กนั จะได้ผลดังภาพ ข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ ง ๑. A และ D เป็นขวั้ ใต้ ๒. C และ D เป็นข้วั ใต้ ๓. A และ C เป็นข้วั เหนือ ๔. B และ C เปน็ ขั้วเหนอื
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: