Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สถาบันสังคม

สถาบันสังคม

Published by ณัฐชยา ดีสุยา, 2020-01-24 04:41:26

Description: สถาบันสังคม

Search

Read the Text Version

บทท่ี 13 สถาบันสังคม (Social Institution) การทม่ี นุษยมาอยรู ว มกันเปน สังคม สถาบนั สังคมเปนโครงสรางของสังคมสวนหน่ึงท่ี มคี วามสาํ คญั ตอ สมาชกิ และสังคม ทําใหส มาชกิ ปฏบิ ตั ติ ามสถานภาพและบทบาทของตน และ ทําใหส งั คมดาํ รงอยูไดอ ยางเปนระเบียบเรยี บรอ ย ในปจจุบันยังมีความสับสนเกี่ยวกับความหมายของ “สถาบันสังคม” เนื่องจากคําน้ี เปนคําที่ใชกันท่ัวไปโดยแพรหลาย เชน สถาบันวิจัยสังคม สถาบันสิ่งแวดลอม สถาบัน ประชากรศาสตร สถาบันโรคมะเรง็ เปน ตน และมักจะคิดกันวาสถาบันสังคม คือองคการทาง สังคม เชน บริษัท หางราน โรงเรียน มหาวิทยาลัย และโรงพยาบาล เปนตน การเขาใจ ความหมายของสถาบันทางสังคมอยางถูกตอง จึงเปนสิ่งสําคัญของการศึกษาทางสังคมวิทยา เน่อื งจากสถาบัน มีความเกีย่ วของกบั มนุษยซ ึ่งอยรู วมกนั เปน สังคม จึงอาจเรียกวาเปน สถาบัน ทางสงั คม หรอื สถาบนั สงั คม บทน้ีจะกลาวถึงรูปแบบของกลุมที่มีวิธีการดําเนินกิจกรรมตางๆ เพ่ือใหจุดมุงหมาย ของกลมุ สัมฤทธผิ ล กลุมจดั ตั้งตา งๆ กลายมาเปนโครงสรางทางสังคมที่สําคัญ และโครงสราง ทางสังคมจงึ ถกู เรียกวา สถาบนั ความหมายของสถาบัน มีนักสังคมวิทยาหลายทาน ไดใหความหมายของ “สถาบัน” ไวตางๆ กัน ดังตอไปนี้ (ฉววี รรณ วรรณประเสริฐ, 2522 : 52) เบียรสเต็ดท (Bierstedt) ไดใหความหมายวา สถาบัน คือ ท่ีรวมของวิถีการ กระทําบางสิง่ บางอยาง เดวิส (Kingsley Davis) ไดใหความหมายวา สถาบัน เปนชุดวิถีประชา (Folkways) จารตี ประเพณี (Mores) และกฎหมาย (Laws) ท่ีสรางขึ้น ซึ่งมีหนาทีต่ า งๆ เฮิรซเลอร (J.O. Herzler) ไดใหความหมายวา สถาบัน คือ ส่ิงสําคัญตางๆ ของ การสรา งการยอมรบั และสนับสนนุ วถิ ที างความประพฤติในสงั คม ฮอรตันและฮั้น (Paul B. Horton and Chestor L. Hunt) ไดใหความหมายวา สถาบันคือท่ีรวมของความสัมพันธทางสังคม (Social relationships) ซ่ึงแสดงใหเห็นในรูปของ คา นิยมและการปฏบิ ัติ เพ่อื สนองความตองการพ้นื ฐานตา งๆ ของสงั คม

210 ประเสริฐ แยมกลิ่นฟุง (2532 : 6 – 65) อธิบายวา ความหมายตามตัวของสถาบัน แปลวา “ส่ิงที่ต้ังขึ้นมา” ในสังคมศาสตร หมายถึง วิถีชาวบาน จารีตและกฎหมายตางๆ เก่ียวกับเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง ซ่ึงทําหนาที่สําคัญในสังคม ประชาชนมีความรูสึกผูกพันกับบรรทัดฐาน เหลานี้ แสดงออกมาในความเช่ือมั่นในความถูกตอง การเคารพในสัญลักษณ (symbols) ตางๆ ที่เก่ียวของ และพรอมที่จะปองกันรักษาใหดํารงอยูตอไป สถาบันเปนที่รวมและเปน ผรู กั ษาคณุ คา สาํ คัญในสงั คมนนั้ อุบล เสถียรปกกิ รณกรณ (2528 : 174 – 175) กลา ววา สถาบนั ในทางสังคมวิทยา เปนความคิดเกี่ยวกับสิ่งท่ีเปนนามธรรม คือเปนความคิดเกี่ยวกับหลักการและวิธีปฏิบัติที่คน ท่ัวไปถือวามีความสําคัญสําหรับการอยูรอด ความสงบสุขและความเจริญกาวหนาของสังคม ในทุกสังคมจะตองมีการจัดการหรือกําหนดระเบียบเก่ียวกับปญหาหรือการหนาที่ (Function) สําคัญของสังคม เชน การปกครอง การเศรษฐกิจ การศึกษา การศาสนา ครอบครัว เปนตน หลักการและวิธีปฏิบัติในเร่ืองเหลาน้ี เมื่อไดยึดถือปฏิบัติกันมานานและคนทั่วไปมี จิตใจหรืออารมณผูกพันยึดมั่น (Sentiments) จะกลายเปนสภาพของสถาบัน เชน เก่ียวกับ การปกครองและการเมือง ก็ไดมีสถาบันตางๆ มากมาย เชน สถาบันชาติ พระมหากษัตริย รัฐธรรมนูญ คณะรัฐมนตรี รัฐสภา พรรคการเมือง เปนตน สถาบันแตละอยางนี้ อาจเรียก รวมกันวา เปนสถาบนั การเมอื ง “สถาบัน” (Institution) มีรากศัพทมาจากคําวา “สถาปนา” แปลวา การจัดต้ังข้ึน หรือการเกิดขึ้นเปนรูปราง มีความคงทนถาวร ซึ่งแสดงวาเปนสิ่งท่ีจัดต้ังข้ึนอยางเปนระเบียบ มกี ารจัดระบบภายในอยางถูกตอ งเหมาะสม (พัทยา สายห,ู 2522 : 139 – 140) สถาบัน คือ กระบวนการหรือการรวมกลุมที่มีระบบเปนตัวกําหนดวาจะตองทํา อยางไร มีการจัดระเบียบอยางเครงครัดภายใตบทบาทของแตละบุคคลท่ีสัมพันธกับผูอ่ืน มี เสถยี รภาพทสี่ มาชกิ สว นมากยอมรับ ยากตอ การเปลี่ยนแปลง จากคํานิยามทกี่ ลาวไวขางตน พอสรุปความหมายของคําวา “สถาบัน” ทางสังคมวิทยา ไดดงั นี้ สถาบนั คอื รูปแบบทีถ่ ูกจดั ตัง้ ขน้ึ อยางมรี ะบบ ภายใตส ถานภาพและบทบาท เพ่ือ กจิ กรรมของกลมุ จนไดดาํ เนินไปสเู ปา หมายอยางราบรื่น และกอใหเกดิ ความม่นั คงตอสงั คม

211 ความหมายของสถาบนั สงั คม สุพัตรา สุภาพ (2522 : 76) ไดใหความหมายวา “สถาบันสังคม” หมายถึง กระบวนการซึ่งมีการรวมกลุมสมาคมกันก็ดี หรือมีวิธีการตางๆ ที่ไดจัดต้ังขึ้นอยางมีระบบ (Organization) มีระบบ (Systematized) และม่นั คง (Stabilized) นิเทศ ตนิ นะกุล (2544 : 20) กลา ววา สถาบนั สังคม คือแบบแผนพฤตกิ รรมที่เปน มาตรฐานของสงั คมท่มี เี พื่อแกปญ หาพ้ืนฐานของสังคม และมีหนา ท่ีทท่ี าํ ใหส ังคมคงสภาพอยูได พัทยา สายหู (2522 : 140) ไดใหความหมายไววา “สถาบันสังคม” หมายถึง กลุมคนที่รวมกันแนนอน ดวยวัตถุประสงคที่จะกระทําการตอกัน ระหวางกันและรวมกัน และ หมายรวมถึงแบบอยางของการกระทําทางสังคมท่ีกําหนดไวอยางชัดเจน แนนอน เปนส่ิงท่ี ปฏบิ ัตสิ บื ตอกันมา ประเสริฐ แยมกล่ินฟุง (ม.ป.ป. : 18 – 20) ไดใหความหมายและอธิบายไววา “สถาบันสังคม” ในทางสังคมศาสตร หมายถึง บรรทัดฐานทางสังคม เชน วิถีประชา จารีต และกฎหมายตางๆ ในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง ซ่ึงทําหนาท่ีสําคัญของสังคม สมาชิกมีความรูสึก ผกู พนั กับสิ่งเหลานี้ มีความเช่ือมั่นในความถูกตอง การเคารพในสัญลักษณตางๆ ท่ีเก่ียวของ และพรอมท่ีจะปองกันรักษาใหดํารงอยูตอไป สถาบันจึงเปนที่รวมและรักษาคุณคาสําคัญใน สังคม ณรงค เส็งประชา (2541 : 84) ไดใหความหมายไววา “สถาบันสังคม” คือ กลุม ของบรรทัดฐานทางสงั คมท่ีจัดไวเปนหมวดหมูอยางมีระบบ เพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติกิจกรรม ตามคานิยมและตามความจาํ เปน หรอื ความตอ งการของผคู นในสงั คมนน้ั ๆ อุบล เสถียรปกิกรณกรณ (2528 : 173) ไดกลาวถึงความหมายของคําวา สถาบัน สงั คม ของนกั สังคมวิทยาชาวตางประเทศ ไวดงั น้ี อารโนล ดับเบ้ิลยู กรีน (Arnold W. Green) กลาววา สถาบัน หมายถึงองคการ (Organization) ที่มวี ถิ ปี ระชาและกฎศีลธรรมเปนแนวทางกําหนดหนาที่ของสมาชิกทั้งหลายใน สังคม สถาบันที่เปนพื้นฐานและสากล คือ สถาบันการสมรส และครอบครัว ความรูเก่ียวกับ ประเพณีการแตงงาน และครอบครัวของแตละสังคม จะชวยใหเขาใจลักษณะความแตกตาง ของแตละสงั คมไดเปน อยา งดี ลอวร่ี และ แรนกิน (Lowry & Rankin) อธิบายวา สถาบันสังคม หมายถึง ขนบธรรมเนียมประเพณี (Customs) และความประพฤติตางๆ ซึ่งสมาชิกสวนใหญของสังคม นั้นยอมรบั ปฏิบตั แิ ละถอื วา มอี ิทธพิ ลตอ พฤตกิ รรมของมนษุ ยใ นสงั คมนั้นๆ

212 แฮร่ี จอหนสัน (Harry Johnson) กลาววา สถาบันทางสังคม หมายถึง ระบบ บรรทดั ฐาน (Normative Pattern) ซ่ึงเปนทย่ี อมรบั ของสงั คม โดยท่มี นษุ ยส ามารถนาํ บรรทดั ฐาน นัน้ มาประยุกตใชใ นระบบความสัมพนั ธต า งๆ กนั ดร.บุญสนอง บุณโยทยาน กลาววา สถาบันสังคมวิทยา หมายถึง ท้ังสิ่งท่ีเปน รูปธรรม (concrete) สังเกตเห็นไดและท่ีเปนนามธรรม (abstract) มองเห็นไมได แตก็เปน ส่ิงท่ีมีอยู รูปธรรม เชน การประกอบพิธีทางศาสนา การสมรส การดําเนินในดานการ ปกครองและการเมอื ง (การลงคะแนนเสยี งเลือกตั้ง การเปลีย่ นรฐั บาลและอื่นๆ) สวนในดานที่ เปนนามธรรมก็คือส่ิงท่ีเปนปทัสถาน (บรรทัดฐาน) สังคมตางๆ ซ่ึงมนุษยรูอยูแนนอนวามีอยู แมจะมิไดบ นั ทึกไวเปนลายลักษณอักษรก็ตาม สถาบันในวิชาสังคมวิทยา หมายถึง ทุกส่ิงทุก อยางท่ีมีลักษณะแสดงใหเห็นวา พฤติกรรมของมนุษยที่เกี่ยวกับส่ิงนั้นเปนไปในแบบของการ รวมมือกัน โดยรวมมือกันอยางถาวร และเปนการรวมมือภายใตกฎเกณฑใดกฎเกณฑหนึ่ง นอกจากนั้น การที่พฤติกรรมชุดใดชุดหนึ่งของมนุษยจะเปนพฤติกรรมท่ีเรียกวาสถาบันได พฤติกรรมนั้นจะตองมีลักษณะเฉพาะตัวและเปล่ียนแปลงยาก มนุษยท่ีประพฤติปฏิบัติรวมกัน (group behavior) โดยมีกฎเกณฑและเปนระยะเวลานานนี้ ตองประพฤติรวมกันโดยรูตัว ถึงแมวาจะเปนการปฏิบัติโดยอัตโนมัติเน่ืองจากความเคยชินก็ตาม ท่ีสําคัญอีกอยางหนึ่ง คือ ความประพฤติปฏิบัติในสังคมที่จะเปนสถาบันไดตองเปนไปอยางเปนกิจจะลักษณะ ไมใชการ ปฏบิ ตั อิ ยางเปน กนั เอง จากความหมายตางๆ ขางตน พอสรุปความหมายของสถาบันสังคมไดวา หมายถึง ท่ีรวมของบรรทัดฐาน ระเบียบ แบบแผน หรือแนวทางปฏิบัติอยางเปนระเบียบระบบ เปนที่ ยอมรับของคนสวนใหญในสังคมอยางเปนทางการ มีความมั่นคง ไมเปล่ียนแปลงงาย เพื่อ ตอบสนองความตองการและการดาํ รงอยขู องสังคม สาเหตุของการเกดิ สถาบนั สงั คม สถาบันสังคมเปนผลสืบเนื่องมาจากมนุษยมีความตองการทางรางกายตางๆ เม่ือ มนุษยเกิดความตองการ มนุษยก็จะหาวิธีการเพื่อบําบัดความตองการ และจากประสบการณ ตลอดจนการทดลองและผิดพลาด (trials and errors) มนษุ ยจ งึ ไดสรา งระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับ การหาทางมาบําบัดความตองการตางๆ เหลาน้ันขึ้น พอสรุปไดวา สถาบันสังคมเกิดจาก สาเหตสุ ําคัญดงั นี้ 1. ความตองการของมนุษย ท้ังความตองการทางกายและความตองการทางจิตใจ ทาํ ใหรวมกันเปน สถาบนั เพ่ือตอบสนองความตอ งการดงั กลาว

213 2. การเพิ่มของประชากรมนุษยมากขึ้น ทําใหความตองการตางๆ ของมนุษยเพิ่ม มากขนึ้ จงึ รวมกนั เปน สถาบันงายข้ึน และเกิดขนึ้ ตลอดเวลา 3. สถาบันสังคมเปนเครื่องมือท่ีสําคัญในการจัดระเบียบทางสังคม เพราะเปนกลุม ของบรรทัดฐาน ซึ่งเปนท่ียอมรับของสังคมวาเปนสิ่งที่มีความจําเปนตอสังคม ตองสราง และ ดาํ รงรักษาไวใหคงอยูตลอดไป 4. เปนวัฒนธรรมหรือแบบอยางของพฤติกรรมที่สมาชิกของสังคมประพฤติปฏิบัติ สืบตอ กนั มาเปน เวลานาน จนเปน ท่ียอมรบั กันโดยท่ัวไปและเปนส่ิงจาํ เปน ท่ตี องมใี นสงั คม 5. เกิดจากสติปญญาของมนุษย ท่ีตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปนของการ ดําเนินชีวิตรวมกันในลักษณะของสถาบัน เพ่ือความสงบสุข ความสะดวกสบาย และความ เจรญิ กาวหนา ของมนุษยและสงั คม 6. ความเจริญกาวหนาและการขยายตัวของสังคม ทําใหสถาบันสังคมที่มีอยูไม สามารถตอบสนองความตอ งการท่ีเพิ่มข้นึ ของสมาชิกได จึงเกดิ สถาบนั สังคมใหมข น้ึ อยเู สมอ ลกั ษณะของสถาบันสังคม สถาบันสงั คมมีลักษณะสําคัญดังตอ ไปน้ี 1. มีลักษณะเปนรูปธรรม คือ เปนกลุมคนท่ีรวมกันเพ่ือกระทําการใหบรรลุ วัตถุประสงครว มกนั มีสถานทีด่ ําเนินการ มวี ัสดอุ ุปกรณทใ่ี ชในการดําเนนิ งานตา งๆ 2. มีลักษณะเปนนามธรรม คือ เปนบรรทัดฐานทางสังคมหรือแบบอยางของ พฤติกรรมทใ่ี ชร ว มกนั ของสมาชิกในสังคม 3. เปนระเบียบแบบแผนของความสัมพันธทางสังคม ซึ่งกําหนดรูปแบบของ ความสัมพันธร ะหวา งสมาชกิ ในสังคม 4. มีการกําหนดสถานภาพและบทบาท หรือตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบของ สมาชกิ ไวอยา งแนนอน เปน ทางการ และเปน ระบบ 5. มีความม่ันคงถาวร คือ ดํารงอยูไดเปนเวลายาวนาน ไมส้ินสุด เปลี่ยนแปลง หรือลม เลกิ ในเวลาอันรวดเร็ว

214 องคประกอบของสถาบนั สงั คม จากความหมายและลักษณะของสถาบันสังคม สรุปไดวา สถาบันสังคมมีองคประกอบ ที่สาํ คัญดังตอไปนี้ 1. สมาชกิ คือ กลมุ คนท้งั กลมุ คนทเี่ ปน ผดู าํ เนินงานและสมาชกิ โดยทวั่ ไป 2. วตั ถปุ ระสงคห รอื เปาหมาย ซ่งึ เกิดจากความตองการรว มกนั ของสมาชกิ 3. บรรทัดฐานหรือระเบียบแบบแผนในการดําเนินงาน เพื่อกําหนดบทบาทและ หนา ที่ของสมาชกิ และความเปนระเบียบระบบของสถาบนั สังคม 4. สัญลักษณหรอื ส่ิงแทน เพอ่ื เปน สง่ิ ยดึ เหนีย่ วใหส มาชิกยดึ มัน่ ในสถาบัน 5. กิจกรรมของสถาบันทน่ี ําไปสูว ัตถุประสงคห รอื เปา หมายของสมาชิก 6. ส่ิงอํานวยความสะดวกในการดําเนินงานของสถาบัน เชน สถานท่ีดําเนินการ วัสดุ ครภุ ัณฑ และอุปกรณตา งๆ 7. ผลประโยชนท่ีสมาชิกไดรับจากกิจกรรมของสถาบัน ซึ่งตอบสนองวัตถุประสงค หรอื เปาหมายของสมาชิก 8. การยอมรับของสมาชิกและผูคนในสังคม ทําใหสถาบันมีสมาชิกเพิ่มข้ึนและมี ความคงทน ถาวร ดาํ รงอยูไ ดเ ปนเวลายาวนาน หนาทข่ี องสถาบนั สงั คม สถาบนั สังคมมหี นาทสี่ าํ คัญดังตอไปนี้ 1. ตอบสนองความตองการและความจําเปน ตา งๆ ของมนุษยและสงั คมมนุษย 2. กําหนดรูปแบบพฤตกิ รรมของบุคคลในสังคม เพ่ือใหความสัมพันธทางสังคมเปน ระเบียบระบบตามที่สงั คมตอ งการ 3. ควบคุมรูปแบบพฤติกรรมของบุคคลและความสัมพันธทางสังคม ใหเปนไปตาม บรรทัดฐานของสงั คม 4. รักษาสืบตอและถายทอดทางวัฒนธรรมในสังคม ทําใหวัฒนธรรมเปนมรดกทาง สังคมจากคนรุนกอ นไปสคู นรุนหลงั และรุนตอ ไปโดยไมมีการสิน้ สุด 5. จัดระเบียบและระบบของสังคม ใหเหมาะสมกับการขยายตัวและความเจริญ กาวหนาของสังคมท่ีเกิดข้ึนอยูตลอดเวลา เพ่ือความสุขและความสะดวกสบายของมนุษยและ สงั คม 6. หนาท่เี ฉพาะอนื่ ๆ ตามภาระหนา ที่ของสถาบนั สังคมแตละประเภท

215 สถาบนั สังคมทส่ี าํ คญั สถาบันสังคม เปนสวนประกอบสําคัญของโครงสรางสังคม (Social structure) ซึ่ง เปรียบเทียบเสมือนเสาของบาน หากเสาไมดีบานก็พังได สถาบันสังคมสําคัญๆ ที่เก่ียวของ กบั กลมุ คนในสงั คม พอจะแยกไดดงั น้ี ในสงั คมดอยพัฒนา หรือกําลังพัฒนา เปนสังคมท่ีมีระดับเทคโนโลยีระดับปานกลาง มักมีสถาบนั สังคมพนื้ ฐานที่สาํ คัญ 5 สถาบัน คือ สถาบันครอบครัว สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบนั เศรษฐกจิ สถาบนั การศึกษา และสถาบนั การศาสนา ในสังคมท่ีมีเทคโนโลยีระดับสูง คือ สังคมท่ีพัฒนาแลว หรือในสังคมอุตสาหกรรม จะมีสถาบันสังคมจํานวนมาก นอกจากสถาบันพ้ืนฐาน 5 สถาบันดังกลาวแลว อาจมีสถาบัน สังคมอื่นๆ ดวย ไดแก สถาบันนันทนาการ สถาบันการแพทยและสาธารณสุข สถาบัน วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และสถาบนั สือ่ สารมวลชน พอสรุปไดวา สถาบันสังคมโดยทั่วไปจะประกอบดวยสถาบันท่ีสําคัญ 5 สถาบัน คือ 1. สถาบนั ครอบครวั และการสมรส (Family and Marriage Institutions) 2. สถาบนั เศรษฐกจิ (Economical Institutions) 3. สถาบนั การเมอื งและการปกครอง (Political and Governmental Institutions) 4. สถาบันศาสนา (Religious Institutions) 5. สถาบันการศึกษา (Educational Institutions) 1. สถาบันครอบครวั และการสมรส (Family and Marriage Institutions) ครอบครัวเปนสถาบันสังคมท่ีสําคัญที่สุด เปนหนวยของสังคมที่มีความสัมพันธ และความรวมมือใกลชิด เปนสถาบันที่มีความคงทนที่สุด และยังไมเคยปรากฏวาสังคมมนุษย ใดไมมีสถาบันครอบครัวปรากฏอยู เพราะมนุษยทุกคนจะตองอยูในสถาบันนี้ เน่ืองจากเปน สงั คมกลมุ แรกท่ีเราจะตอ งเผชญิ ตงั้ แตแรกเกิดเติบโตในครอบครัว ครอบครวั จะใหต าํ แหนง ชื่อ และสกุล ซึ่งเปนเครื่องบอกสถานภาพ และบทบาทในสังคมที่เรามีสวนรวมดวย ตลอดจน กําหนดสทิ ธแิ ละหนา ทที่ ส่ี มาชิกมตี อกนั และตอสงั คม สถาบันครอบครัว เปนสถาบันที่เกิดจากแนวคิดที่จะตอบสนองชีวิตดานความรัก การมีเพศสัมพันธ การสืบสายโลหิตและเผาพันธุ กระบวนการเลี้ยงดู อบรมขัดเกลาสมาชิก ใหมของสังคม สัตวทั้งหลายจะมีเฉพาะการผสมพันธุ แตมนุษยจะมีการสมรสเพ่ิมเขามา

216 เพื่อใหวิถีการดําเนินชีวิตของผูคนในสังคมดําเนินการไปไดดวยความเรียบรอย ดังนั้นสถาบัน ครอบครัว จึงจะเร่มิ ตนจากการสมรสหรือการแตง งาน การสมรส การสมรส คือ การท่ีชายหญิงมีความสัมพันธทางเพศในรูปที่สังคมยอมรับ โดย แตละสังคมจะมีกฎเกณฑระเบียบแบบแผนสําหรับคูสมรสเพื่อความถูกตอง เชน บางสังคม การสมรสจะสมบูรณแบบจะตองผานพิธีกรรมทางศาสนา สวนมากจะกําหนดการจดทะเบียน สมรสเปน หลกั สาํ คัญท่ีสุดในการปฏบิ ตั ิ Malinowski ไดกลาว “การสมรสเปนสัญญาท่ีท้ังสองฝายตกลงกันวา จะมีบุตร และรวมกันเลย้ี งดูบตุ รน้ันสบื ไป มากยิง่ กวาทจี่ ะเปน เรื่องความสัมพนั ธระหวา งเพศ” ทางสังคม วทิ ยาถอื วา การสมรส คอื การทีช่ ายคนหนงึ่ แสดงตนใหส ังคมไดประจักษวาเขาท้ังสองจะรวม ความเปน อยูโดยปฏิบัติตามวิธกี ารของกฎหมาย และขนบธรรมเนยี มประเพณที ี่ใชอ ยใู นทอ งถน่ิ นัน้ และโดยผลแหง การนี้ ทงั้ สองฝา ยยอมเกิดสทิ ธแิ ละหนาท่ีตอกนั และกัน การเลือกคูส มรส การเลือกคูสมรสของคนในแตละสังคม จะมีความแตกตางกันในหลากหลาย ลกั ษณะ แตทส่ี าํ คัญพอสรุปไดดังนี้ 1. การเลือกคูสมรส โดยยึดหลักความใกลเคียง คลายคลึงกับตนหรือไม ซึ่ง แยกออกเปน 2 ทฤษฎี คือ 1.1 The Theory Homogamy คือ ทฤษฎีท่ีชายหรือหญิงมีความโนมเอียง ท่ีจะรักใครเพศตรงกันขามที่มีความคลายกับตนในดานบุคลิกลักษณะ ทัศนคติ รสนิยม สติปญญา การศกึ ษา เช้อื ชาติ อาชพี และศาสนา 1.2 The Theory Heterogamy คือ ทฤษฎีที่สมรสกับคนท่ีแตกตางไปกับ ตน เชน อาจจะตางชั้นตางวรรณะ คนมีความรูแตงกับคนไมมีความรู หรือคนตางสัญชาติ ตา งศาสนา คนเรียบรอ ยแตงกับคนชางเจรจา คนผิวดํากบั คนผวิ ขาว เปน ตน 2. การเลือกคูสมรส โดยยึดหลักของความเปนญาติพี่นอง หรือมีความสัมพันธ กนั ทางสายโลหติ หรือไม ซง่ึ จะแยกเปนลักษณะ คือ 2.1 การสมรสกับบุคคลนอกวงศวาน (Exogamy) หลักการที่สําคัญก็คือ หามการสมรสระหวางบุคคลในครอบครัว ตระกูล หมูบาน เผาชน หรือกลุมชนเดียวกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งหามการสมรสระหวางบุคคลที่สืบสายโลหิตโดยตรง เชน หามมิใหบิดา สมรสกับบุตรี มารดากบั บุตร หรือพี่นอ งรว มบิดามารดาเดยี วกนั

217 2.2 การสมรสกับบุคคลภายในวงศวาน (Endogamy) คือ การสมรสภายใน กลุมของตน (หามการสมรสกับบุคคลนอกวงศวาน) โดยคํานึงถึงขอบเขตในเรื่องเช้ือชาติ ชนั้ ของบุคคล วฒั นธรรม ศาสนา และลทั ธิการเมือง แบบของการสมรส ในทุกสังคม ยอมมีแบบของการสมรสผิดแผกกันออกไป บางทองถ่ินกฎหมาย หรือประเพณนี ยิ มกาํ หนดการมคี สู มรสเพยี งคนเดียว ในบางทองถ่ินมีประเพณีอนุญาตใหผูชาย มีภรรยาไดหลายคน และในบางทองถิ่นยอมใหผูหญิงมีสามีไดหลายคนในเวลาเดียวกัน โดยท่ัวไป แลว อาจสรุปไดว า แบบของการสมรสมอี ยู 4 แบบ คอื 1. Monogamy เปนครอบครัวแบบชายหน่ึงหญิงหน่ึง เรียกวา ผัวเดียวเมีย เดียว เปนแบบที่นิยมกันมากท่ีสุดในปจจุบัน อาจจะเปนเพราะสภาพทางเศรษฐกิจไมอํานวย หรือปริมาณชายหญิงไลเลี่ยกัน สังคมสวนมากจะกําหนดเปนลายลักษณอักษร (เปนรูป กฎหมาย) เชน ไทย แถบยุโรป และอเมริกา ฯลฯ (คือใหมีการจดทะเบียนสมรสไดเพียงคน เดียว ยกเวนจะไดห ยารา งกันเสยี กอ น แตมีเหมอื นกันในบางแหงหา มการหยา ดว ย) 2. Polygamy (Plural marriage) เปนแบบคูสมรสชายหญิงมากกวา 1 คนข้ึน ไป เรียกวา มากผวั มากเมยี ซ่ึงแบง เปน 2.1 Polygyny มีชาย 1 คนตอหญิงหลายคน เรียกวา มากเมีย ซึ่งใน บางประเทศแมจะมีกฎหมายหาม แตในทางปฏิบัติมีมากมาย เชน สังคมแอฟริกา ไทย (ถา มีฐานะดหี รอื มีเหตุผลอนื่ ศาสนาอสิ ลามอนญุ าตใหมีภรรยาได 4 คน) จนี เปน ตน 2.2 Polyandry มีหญิง 1 คนตอชายมากกวา 1 คน เรียกวา มากผัว (ซึ่งในประเทศที่เจริญแลวถือวาผิดศีลธรรม) อาจจะพบไดในหลายแหง หรือในสังคมท่ีหญิง นอยแตมีจํานวนชายมาก เชน ใน Marquesand Island ท่ีหญิง 1 คนมีชายหลายคน ยิ่งมี ชายเปนจาํ นวนมากข้ึนเทาไร ก็แสดงวาหญิงนั้นม่ังมีมากข้ึนเทาน้ัน เพราะชายคือเครื่องแสดง ฐานะของหญิง ซึ่งเปนเพราะวฒั นธรรมทอ งถนิ่ นั้นๆ กาํ หนด 3. Promiscuity สําสอน คือ หญิงชายมีความสัมพันธทางเพศกับใครก็ได โดยไมตองมีแบบแผน มเี ฉพาะในสังคมบางแหง เชน พวกฮิปปบางกลุม 4. Group marriage เปนการสมรสเปนกลุม คือ ชายทุกคนท่ีเกิดมาเมื่ออายุ ถึงเกณฑท่ีกําหนด ชายดังกลาวจะมีภรรยาได 1 คน และภรรยาของตนจะถูกแบงปนใหกับ คนอ่ืนๆ ในระดับอายุเดียวกัน ซ่ึงประเพณีแบบนี้จะปรากฏในแอฟริกาบางเผา คือ พวกมาไซ (Masai) และชนบางเผาในเกาะนวิ กินี (New Guinea)

218 ขอ หา มในการสมรส (Incest Taboo) ในทุกยุคทุกสมัยและทุกสังคม มักปรากฏอยูเสมอวา มีขอหามบางประการ เก่ียวกับการสมรส ซ่ึงไดแก ความสัมพันธทางสายโลหิต อายุของชายหญิงท่ีแตกตางกัน ความไมเ ทา เทียมกันระหวางชนชนั้ และขอ หา มเก่ียวกบั วงศาคณาญาติ เปนตน ครอบครัว ความหมายของครอบครัว Burgess กับ Locks ไดใหคําจํากัดความของครอบครัววา จะตองมีลักษณะ สาํ คญั 4 ประการ ดังตอ ไปนี้ คอื 1. ครอบครัวประกอบดวยบุคคลที่มาอยูรวมกันโดยการสมรส หรือความผูกพัน ทางสายโลหิต หรือการมีบุตรบุญธรรม การสมรสแสดงถึงความสําคัญระหวางสามีกับภรรยา สวนความผกู พนั ทางสายโลหติ คือความสัมพนั ธร ะหวา งพอ – แม รวมท้งั บตุ รบญุ ธรรม 2. สมาชิกของครอบครัวเหลาน้ี อยูรวมกันภายในครัวเรือนเดียวกัน หรือ บางครงั้ ก็แยกกันไปอยตู า งหาก สมัยโบราณครวั เรือนหนงึ่ จะมสี มาชกิ สามสชี่ ว่ั อายุคน ปจ จุบัน ครวั เรอื น (โดยเฉพาะในประเทศพฒั นาแลว ) จะมีขนาดเลก็ ประกอบดวย สามี ภรรยา และ ลูกหน่ึง หรอื สองสามคน หรอื ไมมเี ลย 3. ครอบครัวเปนหนวยของการติดตอโตตอบระหวางบุคคล เชน สามี ภรรยา พอ แม ลูก พ่ี นอง โดยสังคมแตละแหงจะกําหนดบทบาทของแตละครอบครัวไว ซ่ึงก็ ขึ้นอยูกับประเพณีของแตละแหง ซ่ึงหมายความวาไมใชเพียงตางคนตางกิจ ตางคนตางอยู แตตางคนตางมีปฏิกิริยาเชิงสัมพันธตอกัน เชน รักกัน เอาใจใสกัน ส่ังสอนกัน จิตใจผูกพัน กัน เปนตน 4. ครอบครัวถายทอดรักษาวัฒนธรรม สมาชิกจะถายทอดและรับแบบของ ความประพฤติในการปฏิบัติตอกัน เชน ระหวางสามี ภรรยา และลูก เม่ือผสมผสานกับ วัฒนธรรมที่นอกเหนือไปจากครอบครัว ก็จะไดแบบของความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติตอกัน และตอ ผูอ่ืน พจนานกุ รมศพั ทส ังคมวิทยา อังกฤษ – ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2524 : 142) ไดใหความหมายไววา “สถาบันครอบครัว” เปนสถาบันสังคมข้ันมูลฐานท่ีประกอบดวยชาย หน่ึงหรือมากกวาหน่ึงอยูรวมกันกับหญิงหน่ึงหรือมากกวา โดยมีความสัมพันธทางเพศที่สังคม อนมุ ตั ิพรอ มดว ยสทิ ธแิ ละหนา ท่ีท่สี ังคมยอมรบั โดยทั่วไปแลว ครอบครวั แบง ออกเปน 4 ประเภท โดยลําดับจากจาํ นวนที่ปฏบิ ัตกิ นั มากไปสูที่ปฏิบัติกันนอยดังนี้ คือการมีคูสมรสคนเดียว การมี ภรรยาหลายคนคราวเดยี วกัน การมีสามีหลายคนคราวเดียว และการแตงงานกลมุ

219 สพุ ตั รา สุภาพ (2542 : 66) ไดใหความหมายไววา “สถาบนั ครอบครวั ” หมายถึง กลมุ บุคคลที่มารวมกนั โดยการสมรส โดยทางสายโลหติ หรือโดยการรับเล้ียงดู (คือ เปนบุตร บญุ ธรรมก็ได ปกตแิ ลว หมายรวมถงึ ครอบครัวทปี่ ระกอบดวยสามแี ละภรรยา โดยไมม บี ุตรของ ตนเอง) มีการกอตั้งข้ึนเปนครอบครัว มีปฏิกิริยาโตตอบซ่ึงกันและกันในฐานะที่เปนสามีและ ภรรยา เปนพอและแม เปนลูกชายลูกสาว เปนพ่ีเปนนอง โดยการรักษาวัฒนธรรมเดิม และ อาจจะมกี ารสรา งสรรควัฒนธรรมใหมเ พ่มิ เตมิ ก็ได สรุปแลวครอบครัว หมายถึง กลุมบุคคลที่มารวมกันโดยการสมรส โดยทาง สายโลหิต หรือโดยการมีบุตรบุญธรรม มีความสัมพันธกัน มีปฏิสัมพันธในฐานะที่เปนสามี และภรรยา เปนพอและแม เปนลูกชายลูกสาว เปนพ่ีเปนนอง โดยการรักษาวัฒนธรรมเดิม และอาจจะมีการสรางสรรคว ัฒนธรรมใหมเ พมิ่ เติมก็ได ประเภทของครอบครัว การจาํ แนกประเภทของครอบครวั อาจพจิ ารณาไดโ ดยใชห ลกั เกณฑดงั ตอไปนี้ 1. จาํ นวนของสมาชิกในครอบครวั แบง เปน 3 ประเภท คอื 1.1 Nuclear family หรือครอบครัวเดี่ยว คือ ครอบครัวที่ประกอบดวย บิดา มารดา และบุตรเทาน้นั 1.2 Extended family หรือครอบครัวขยาย คือ ครอบครัวท่ีประกอบดวย บิดา มารดา และบุตรรวมทั้งญาติพ่ีนอง เชน ปู ยา ตา ยาย พ่ี ปา นา อา ซ่ึงอาศัยอยู ภายในครอบครัวเดียวกนั 1.3 Polygamous family หรือครอบครัวซอน คือ ครอบครัวที่ประกอบดวย สามหี น่ึง ภรรยาหลายคน ครอบครวั แบบนี้จึงเปน ครอบครัวเดีย่ ว 2 ครอบครัว หรือมากกวา ทมี่ สี ามีและพอ แมรว มกันและอยใู นครัวเรอื นเดยี วกัน 2. ทอ่ี ยอู าศัยของคสู มรส แบงเปน 3 ประเภท คอื 2.1 Patrilocal family คือ ครอบครัวท่ีคูสมรสใหมเขาไปรวมอยูอาศัยกับ ครอบครวั ของบิดามารดาของฝา ยเจาบา ว 2.2 Matrilocal family คือ ครอบครัวที่คูสมรสใหมอาศัยอยูรวมกับบิดา มารดาของฝายเจา สาว 2.3 Neolocal family คือ ครอบครัวที่คูสมรสใหมแยกตัวออกไปอยูตางหาก จากครอบครวั บดิ ามารดาของตน 3. ความเปน ใหญใ นครอบครัว แบง เปน 3 ประเภทคอื 3.1 Partriarchal family คือ แบบของครอบครัวที่ผูชาย (หรือพอ) เปน ใหญในครอบครัว เชน ครอบครวั คนจีน

220 3.2 Matriarchal family คือ แบบของครอบครัวท่ีผูหญิง (หรือแม) เปน ใหญใ นครอบครัว เชน ครอบครวั ของพวกเอสกิโมบางเผา 3.3 Equalitarian family ไดแก ครอบครัวท่ีผูชายและผูหญิง (หรือพอและ แม) มคี วามเสมอภาคกัน คือ มสี ิทธเิ สรภี าพเทา เทยี มกัน 4. ความสมั พนั ธทางสายโลหติ แบงเปน 2 ประเภท คอื 4.1 Patrilineal เกี่ยวของกับการสืบสายโลหิตทางฝายพอ เด็กที่เกิดมา ตองเปนสมาชิกในกลุมญาติ (kinship group) ของฝายพอ คือ เด็กมีความสัมพันธกับญาติ ทางฝายพอ เทา น้ัน 4.2 Martrilineal เกย่ี วขอ งกบั การสืบสายโลหิตทางฝายแม (ซ่ึงตรงกันขาม กบั Patrilineal) 4.3 Bilineal คือ ครอบครัวที่สืบสายโลหิต และสืบทอดมรดกท้ังฝายบิดา และมารดา โดยถอื วาญาติท้งั สองฝาย มีความสําคญั เทาเทียมกัน หนาที่ของสถาบนั ครอบครวั สถาบนั ครอบครวั มหี นาทด่ี ังตอไปนี้ 1. สรางสมาชิกใหมใหแกสังคม ดวยการใหกําเนิดบุตร ทําใหสังคมสามารถ ดํารงอยูและสืบตอ ไปไดอ ยางมนั่ คงถาวร 2. ควบคุมพฤติกรรมทางเพศของบุคคลในสังคมใหเหมาะสม ในรูปของการ สมรส ซึ่งคูสมรสตองปฏิบัติตนตามสถานภาพและบทบาทของแตละฝาย คือ สามี – ภรรยา ตามทส่ี ังคมกาํ หนด ทําใหป ญหาทางเพศในสงั คมลดลง 3. เล้ียงดูสมาชิกใหมของสังคม คือ บุตรของตนใหพนจากภัยอันตรายตางๆ และเจริญเตบิ โตอยา งมคี ุณภาพ เปน สมาชิกที่ดีของสงั คม 4. การใหความรัก ความอบอุน ความหวังและกําลังใจใหแกสมาชิก ทําให สมาชกิ มขี วัญกาํ ลังใจ และมคี วามม่นั คงทางจติ ใจ ดํารงชีวิตอยใู นสงั คมอยางมคี วามสุข 5. การขัดเกลาทางสังคม โดยการอบรมสั่งสอนใหบุตรปฏิบัติตามบรรทัดฐาน ทางสังคม ปลูกฝงคุณลกั ษณะนสิ ยั ใหเปนสมาชิกทดี่ ขี องสังคม 6. การกาํ หนดสถานภาพ และบทบาทของบคุ คล เชน เพศ ลําดับของสมาชิก ในครอบครัว ชนชั้น ภูมิลําเนา ซึ่งบุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามบรรทัดฐานของแตละ สังคม 7. หนาที่ทางเศรษฐกิจ คือ เปนท้ังหนวยผลิตและหนวยบริโภคที่สําคัญของ ระบบเศรษฐกิจ 8. รักษาเพ่ิมพูนและถายทอดทางวัฒนธรรมของสังคมใหแกสมาชิก ทําให วฒั นธรรมในสงั คมดาํ รงอยตู อ ไป

221 2. สถาบนั เศรษฐกจิ (Economic Institutions) เปน สถาบันสังคมท่ีชวยตอบสนองความตองการท่ีจําเปน คือ ปจจัยพื้นฐานของ มนุษย อันไดแก อาหาร เคร่ืองนุงหม ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค และปจจัยท่ีจําเปนตอความ สะดวกสบายตางๆ ในการดํารงชีวิต สถาบันเศรษฐกิจ จึงมีความสําคัญเชนเดียวกับสถาบัน ตางๆ ท่กี ลาวมาแลว ความหมายของสถาบนั เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ (Economy) มรี ากศัพทม าจากคาํ ภาษากรกี วา “Oikonomia” แปลวา การจัดการบานชอง ตอมาไดขยายความหมายเปนการดูแลกิจการของรัฐ หมายถึง เศรษฐกิจ การเมืองของรัฐบาล (สุนติ ย แปนนาบอน, ม.ป.ป. : 1) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542 : 1106) ไดใหความหมายไววา เปน งานอันเกี่ยวกับการผลติ การจําหนายจายแจกและการบรโิ ภคใชส อยสิ่งตางๆ ของชมุ ชน สรุปไดวา เศรษฐกิจ หมายถึง กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรที่มี อยูอยางจํากัด ดวยวิธีการตางๆ เพ่ือสนองความตองการอันไมมีที่สิ้นสุดของมนุษยใหไดมาก ท่ีสุด สถาบันเศรษฐกิจจึงเปนสถาบันสังคมท่ีกลาวถึงกิจกรรมข้ันพื้นฐานของมนุษยเพื่อความ อยรู อด ซง่ึ เกยี่ วกับพฤตกิ รรมหลักท่สี าํ คัญ 3 ประการ อันไดแก การผลิต การแจกจําหนาย และการบรโิ ภค นกั สังคมวทิ ยา ไดใ หความหมายของ “สถาบันเศรษฐกจิ ” ไวดังน้ี สุพัตรา สุภาพ (2522 : 139) ไดสรุปความหมายของสถาบันทางเศรษฐกิจไว ดังนี้ สถาบันทางเศรษฐกิจน้ัน เปนสถาบันที่กลาวถึงวิธีการอยูรอดของมนุษยในดานตางๆ ต้ังแตดานการผลิต การจําแนกแจกจาย หรือการแลกเปลี่ยนและการบริโภค สถาบันนี้จึงเปน เคร่ืองมือที่ดีในวงจํากัด ประกอบกับมนุษยมีความตองการทางดานวัตถุมากข้ึน มนุษยจึงตอง หาวธิ ีการบางอยา งเพือ่ ใหค วามตองการของตนไดบ รรลผุ ล โดยมนุษยไ ดใชวิธีการทางเศรษฐกิจ เพ่ือสนองความตองการของตน ตั้งแตระยะแรกๆ จนถึงปจจุบัน เชน การหาอาหารดวยการ ลาสัตว เล้ียงปลา ตกปลา ทํานา แลกเปล่ียน คาขายและการอุตสาหกรรม สถาบัน เศรษฐกิจจึงไมใชหนวยงานอิสระ แตเปนหนวยงานหน่ึงของวัฒนธรรม เพราะเปนสถาบันที่มี ทัง้ อทิ ธิพลและรบั อทิ ธิพลจากหนวยงานอืน่ ๆ เปนสถาบันท่ีมนุษยจะขาดเสียมิได ณรงค เส็งประชา (2541 : 102) ไดใหความหมายและอธิบายไววา “สถาบัน เศรษฐกิจ” เปนสถาบันท่ีชวยสนองความตองการของบุคคลและสังคม ทั้งในส่ิงบริโภคและ อุปโภค กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ไดแก การผลิต การบริโภค และอุปโภค การแลกเปล่ียน และการแจกจาย ซ่ึงในแตละสังคมอาจจะแตกตางกัน แตมีเปาหมายเหมือนกัน คือ การกินดี อยดู ขี องสมาชิกในสังคม

222 สุพัตรา สุภาพ (2542 : 90) ไดใหความหมายไววา “สถาบันเศรษฐกิจ” เปน สถาบันเกี่ยวกับวิธีการอยูรอดของมนุษยในดานตางๆ ทั้งดานการผลิต การวิภาคหรือการ แลกเปลี่ยน และการบริโภค จากความหมายท่ีกลาวมาแลว สรุปไดวา “สถาบันเศรษฐกิจ” หมายถึง สถาบันที่ เก่ียวของกับกิจกรรมพ้ืนฐานเพื่อความอยูรอดของมนุษย ซ่ึงไดแก การผลิต การแลกเปล่ียน การแจกแจง และการบริโภค ท้ังน้ีมีจุดประสงคเพ่ือการมีชีวิตรอด และการอยูดีกินดีของ สมาชิกในสงั คม องคประกอบของสถาบนั เศรษฐกิจ สถาบันเศรษฐกิจมอี งคประกอบทส่ี ําคัญ ดงั ตอไปน้ี 1. องคการ หรือกลุมคนท่ีเกี่ยวของกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซ่ึงกําหนด โครงสรางในการบริหาร สถานภาพและบทบาทของบุคคลตามความรูความสามารถในลักษณะ ของการแบงงานกนั ทาํ (Division of Labor) 2. ระบบความเช่ือในทางเศรษฐกิจ ซ่ึงเก่ียวของกับคานิยมทางวัฒนธรรม ของสงั คม อันเปน พน้ื ฐานสาํ คญั ของโครงสรางและหนาที่ของสถาบนั เศรษฐกจิ ในแตล ะสงั คม 3. เทคโนโลยี หรือเครื่องมือเครื่องใช ท้ังท่ีเปนเครื่องมือและเทคนิคการผลิต และการกระจายสินคาไปสูผูบริโภค 4. การผลิตสินคาและบริการ ตามความตองการของสมาชิกและคนในสังคม อนื่ ๆ ทีม่ ีความเก่ยี วของสัมพนั ธกนั ระบบของเศรษฐกจิ ระบบของเศรษฐกิจในปจ จบุ นั มี 3 ระบบ คือ 1. ระบบทุนนยิ ม (Capitalism) มลี ักษณะสําคัญ คอื 1.1 เอกชนมกี รรมสิทธใ์ิ นทรัพยสินและปจจัยการผลิต ทัง้ ทางตรงและทางออม รวมท้ังมอี าํ นาจในการตดั สนิ ใจการผลิตอยางเตม็ ท่ี 1.2 ผบู รโิ ภคมีเสรภี าพในการเลือกซอ้ื สนิ คาและบริการตา งๆ ไดอยางเสรี 1.3 มีการแขงขนั ในการผลิตมาก เพ่ือใหไ ดกําไรมากทสี่ ุด 1.4 การแจกจา ยสนิ คา และบริการใหแกส มาชิกในสังคม ข้ึนอยูกับอํานาจซ้ือ หรือเงนิ ที่แตล ะคนครอบครอง

223 2. ระบบสังคมนิยม (Socialism) มลี ักษณะสําคญั คือ 2.1 รฐั เปน เจาของปจจัยการผลติ และทรพั ยสนิ เพยี งฝายเดยี ว 2.2 รัฐบาลเปนผูตัดสินใจในกระบวนการทางเศรษฐกิจทั้งหมด หนวยผลิต ตา งๆ เปนของรัฐ 2.3 ใชอุดมการณเปนแรงจูงใจในการผลิต โดยการใหเอกชนยอมสละกําไร และผลประโยชนสวนตนเพื่อประโยชนสุขของสว นรวม 2.4 มุงกระจายรายไดใหเทาเทียมกัน โดยการลดความแตกตางระหวาง แรงงานท่ีใชกําลังกายและสมอง การแจกจายผลผลิตเปนไปตามความจําเปนของผูบริโภค ไมใชต ามอํานาจการซอ้ื หรอื เงนิ ท่คี รอบครอง 3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) เปนการนําเอาระบบเศรษฐกิจ ทนุ นิยมและสงั คมนยิ มมาปรับใชร วมกัน มลี กั ษณะที่สาํ คญั คอื 3.1 รัฐเปนเจาของปจจัยการผลิตที่สําคัญๆ อันเกี่ยวของกับสาธารณูปโภค ตางๆ เชน การคมนาคมสื่อสาร ไฟฟาและพลังงาน การชลประทาน การธนาคาร เปนตน สว นการผลิตโดยทว่ั ๆ ไป เปดโอกาสใหเ อกชนเปนเจาของการผลติ และบรกิ ารได 3.2 รฐั บาลและเอกชนตา งมสี วนในการตดั สนิ ใจในกระบวนการทางเศรษฐกจิ รว มกนั เพราะหนวยผลติ ตา งๆ เปน ทงั้ ของรฐั และเอกชน 3.3 ใชการจูงใจทางเศรษฐกิจ ท้ังในรูปของอุดมการณและผลตอบแทนใน รปู ของกาํ ไร 3.4 มุงกระจายรายไดใหแกบุคคล กลุมบุคคลในสังคมอยางเทาเทียมกัน หรือเปนธรรม ในปจจุบันระบบเศรษฐกิจแบบผสม กําลังไดรับความนิยมอยางกวางขวาง เพราะเปนการนําสวนที่ดีของระบบเศรษฐกิจทุนนิยมกับสังคมนิยมมาใชรวมกันนั่นเอง จะเห็น ไดจากการที่ประเทศทุนนิยมพยายามนําอุดมการณ และวิธีการกระจายผลประโยชนของระบบ สังคมนิยมมาใช ในขณะเดียวกันประเทศสังคมนิยมก็นําวิธีการครอบครองปจจัยการผลิต ผลผลิต และแรงจูงใจในการผลิตของระบบทุนนิยมมาใช คนในระบบทุนนิยมจึงเรียกรองท่ีจะ ใหเปลี่ยนแปลงบางส่ิงบางอยางไปเปนสังคมนิยม สวนคนในระบบสังคมนิยมก็เรียกรองให เปลยี่ นแปลงบางส่ิงบางอยางไปเปนทนุ นยิ ม

224 ระบบเศรษฐกจิ ในรูปแบบตา งๆ (ปฬาณี ฐติ วิ ฒั นา, 2523 : 107 – 109) เมื่อพิจารณาตามข้ันตอนของความเจริญทางเศรษฐกิจ จะแบงออกเปนสองแบบ ดวยกัน คือ ระบบเศรษฐกิจแบบดั้งเดิม (primitive and darchaic economy) และระบบ เศรษฐกิจสมัยใหม (modern economy) ซง่ึ ระบบเศรษฐกจิ ประการหลังนยี้ ังแบงออกไดอ ีกสาม ประเภท คือ ระบบทุนนิยม (capitalism) ระบบสังคมนิยม (socialism) และระบบทุนนิยม ใหม (neocapitalism) ลกั ษณะสาํ คัญของระบบเศรษฐกิจแบบตา งๆ มดี งั ตอไปนี้ คือ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบด้งั เดิม ระบบเศรษฐกิจแบบน้ี กลไกของการตัดสินใจวาจะผลิตอะไร จํานวนเทาใด โดยวิธีใด แบงปนใหใครไดบางนั้น เปนหนาที่ขององคการทางครอบครัว ศาสนา และ การเมอื ง หรอื รัฐบาลกลาง การตัดสินใจตางๆ เหลาน้ีดําเนินไปโดยอาศัยกลไกสองอยาง คือ การตอบแทนกัน (reciprocity) และการแจกจายใหม (redistribution) “การตอบแทนกัน” หมายถึง การที่ครัวเรือนยินดีใหผลิตผลไดบางสวนแกญาติมิตรหรือครัวเรือนอื่น โดยมีพันธะ ทางออมท่จี ะตองจา ยผลิตผลอยางเดยี วกนั หรอื แตกตา งกนั คนื ในเวลาตอมา พฤติกรรมแบบน้ี ก็คือการแลกเปล่ียนผลิตผลกันระหวางครัวเรือนตางๆ ซ่ึงทําหนาที่เปนท้ังผูบริโภคและผูผลิต พรอมๆ กันไปในตัวน่ันเอง “การแจกจายใหม” หมายถึง การที่ครัวเรือนตางๆ ตองนํา ผลผลิตสงมอบใหแกอํานาจสวนกลางหรือองคการศาสนา เพ่ือใชในการบริโภคใหบริการแก ชุมชน และเก็บไวเปนกองทุนสําหรับใชในภาวะวิกฤตท่ีครัวเรือนตางๆ ตองการความชวยเหลือ กลไกท้ังสองอยางน้ี เปนเครื่องมือสําคัญในการแกปญหาเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนในสังคมในฐานะ เปนสื่อกลางในการแลกเปล่ียนมีอยูไมมากนัก การแลกเปล่ียนจึงมักจะเปนไปในลักษณะแลก ผลผลิต (barter) เน่ืองจากความหางไกลและโดดเด่ียวของชุมชน ทําใหความสัมพันธของ ครัวเรือนตางๆ ในชุมชนนั้นใกลชิดกันมาก และชีวิตภายในชุมชนมีลักษณะผูกพันอยางมาก และความสัมพันธทางเครือญาติและประเพณี มีบทบาทมากในการกําหนดพฤติกรรมทาง เศรษฐกิจ ปจจุบันรูปแทของระบบเศรษฐกิจแบบนี้เกือบจะสูญหายไปพรอมๆ กับการ เปลีย่ นแปลงทางสงั คมและเศรษฐกจิ แตก ย็ ังมีชมุ ชนบางแหงในภมู ภิ าคที่หางไกลและโดดเด่ียว ของบางประเทศท่ียังคงผลิตเพื่อการยังชีพของตัวเอง การคาขายระหวางกันก็มีนอยมาก ตวั อยา งเชน สังคมชาวเขา และบา นท่อี ยูโ ดดเดี่ยวในบางภมู ิภาคของไทยและประเทศอน่ื ๆ 2. ระบบเศรษฐกิจใหม 2.1 ระบบทนุ นิยม (capitalism) 2.2 ระบบสังคมนิยม (socialism) 2.3 ระบบทุนนยิ มใหม (neocapitalism)

225 ระบบทุนนยิ ม (capitalism) ระบบทุนนิยม หรือระบบเศรษฐกิจเสรี (free enterprise economy) มี ลักษณะสาํ คญั อยู 4 ประการ คอื 1. เอกชนมกี รรมสิทธ์ใิ นทรัพยสินและปจจยั การผลิตทั้งทางตรงและทางออม 2. ครัวเรือนหรือผูบริโภค มีเสรีภาพในการเลือกซื้อสินคาและบริการตางๆ ที่มีอยู หนวยธุรกิจมีเสรีภาพในการดําเนินธุรกิจ (freedom of enterprose) นอกจากน้ี อํานาจการตัดสินใจในการผลิตสินคาใด ในจํานวนเทาไร ผลิตโดยวิธีใดและผลิตเพ่ือใคร เหลานี้ดําเนินไปโดยเอกชน คือ ครัวเรือนและหนวยธุรกิจ โดยรัฐบาลไมเขามาเก่ียวของเลย ยกเวนในกิจการบางอยางที่เอกชนไมสามารถเขาไปดําเนินการได เพราะตองอาศัยทุนจํานวน มหาศาล เปนตนวา การประปา การคมนาคมขนสง เปนตน อยางไรก็ดี ถาเอกชนพรอมท่ี จะเขา ไปดาํ เนนิ กจิ การเหลานี้ รัฐบาลก็จะปลอ ยใหเ อกชนทาํ โดยไมเ ขา ไปแขง ขนั 3. จะตองมีการแขงขัน (competition) มากคือ มีหนวยธุรกิจจํานวนมาก แขงขันกันในการผลิต โดยพยายามลดตนทุนการผลิตใหต่ําท่ีสุด เพ่ือใหไดกําไรมากท่ีสุด ใน ระบบนแ้ี รงจูงใจท่สี ําคญั อยูทกี่ ําไร 4. การแจกแจงสินคาและบริการ เพื่อสนองความตองการของผูบริโภคนั้น เปนตน ตามอํานาจซื้อหรือเงินของแตละคน เราจึงเห็นไดวาระบบทุนนิยมนี้ สินคาบางอยาง ฟุมเฟอยมาก ก็ยังมีผูผลิตออกมาขายมาก ขณะท่ีสินคาทั่วไปบางอยางยังขาดแคลนอยู เพราะคนรํ่ารวยมีอํานาจซื้อมากกวา หรือมีเสียงที่จะลงใหมีการผลิตสินคาฟุมเฟอยมากกวา นน่ั เอง จากลักษณะ 4 ประการ ของระบบทุนนิยมดังกลาวนี้ กลไกท่ีจะชวยทํา การตัดสินใจวา จะใชทรัพยากรผลิตสินคาอะไร ผลิตอยางไร และผลิตเพ่ือใคร น้ัน ก็คือ กลไกตลาด (marker mechanism) ซึ่งผูบริโภคและผูผลิตจะทําการเสนอซื้อและเสนอขายตาม ราคาตา งๆ กนั จนทงั้ สองฝายตกลงกันได ระบบสังคมนยิ ม (socialism) ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หรือระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจาก สว นกลาง (centrallyplanned economy) มีลักษณะสําคญั 4 ประการ ดังน้คี อื 1. รัฐเปนเจาของปจจัยการผลิตและทรัพยสิน (ยกเวนสินคาสําหรับการ บริโภคท่วั ๆ ไป) ในระบบนจ้ี งึ ไมมกี รรมสทิ ธทิ์ รพั ยส นิ โดยเอกชน 2. รัฐบาลกลางเปนผูที่จะตัดสินใจในการใชทรัพยากรของชาติ ท้ังในดาน การบริโภคและการผลิต โดยมีการวางแผนจากสวนกลาง เมื่อกําหนดเปาหมายแลวก็จะ มอบหมายใหห นว ยผลิตตา งๆ ของรฐั ดาํ เนนิ ตาม

226 3. ระบบสังคมนิยมใชอุดมการณเปนแรงจูงใจ คือ ยอมสละกําไร หรือ ประสิทธิภาพผลผลติ บางสว นในกรณที ่จี ะชว ยใหประชาชนสว นใหญมฐี านะดขี ึ้น 4. มุงกระจายรายไดใหเทาเทียมกัน โดยพยายามลดความแตกตางระหวาง แรงงานที่ใชก าํ ลังและสมอง การแจกจา ยผลผลติ นั้นเปนไปตามความจําเปนของผบู ริโภค จากลักษณะสําคัญทั้ง 4 ประการน้ี หนวยเศรษฐกิจเรียกไดวารัฐบาลเปนผู มีบทบาททุกอยางท้ังหมด ระบบสังคมนิยมก็มีหลายระดับ แตละประเทศนํามาดัดแปลงให เหมาะสมกับสภาพของตน โดยสอดคลอ งกับรปู แบบทางการเมอื งของประเทศ ระบบทุนนิยมใหม (neocapitalism) ระบบทุนนิยมสมัยใหม หรือระบบเศรษฐกิจแบบผสม (mixed economy) มี ลกั ษณะสาํ คญั 4 ประการ ดังนี้ 1. ระบบทนุ นิยมใหม ยังคงยดึ ถือระบบกรรมสิทธใ์ิ นทรพั ยส นิ โดยเอกชน 2. มีการเปล่ียนแปลงในพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจ คือ รัฐเขามามี บทบาทอยางมากในการควบคุมดูแลใหเศรษฐกิจของชาติดําเนินไดดี ขณะที่ครัวเรือนก็ยังคงมี อํานาจอยู และหนวยธุรกิจนั้นไดเกิดนักบริหารอาชีพเขามาควบคุมการดําเนินงานของธุรกิจ แทนเจาของกิจการมากข้ึนทุกที คือ ในระบบทุนนิยมใหมน้ีความเปนเจาของกิจการและการ บริหารกิจการ (ownership and control) จะคอยๆ แยกตัวออกจากกันมากขึ้นทุกที การ จดั ต้ังบรษิ ทั มหาชนข้นึ ในประเทศไทย แสดงวา แนวโนม ในดา นน้เี ร่ิมเกิดข้ึนแลว 3. การแขงขันเริ่มลดลง หนวยธุรกิจใหญๆ เร่ิมเกิดขึ้นจากการรวมกิจการ เล็กๆ เขาดวยกัน โดยวิธีการตางๆ ทําใหเกิดลักษณะทุนนิยมใหม คือ มีหนวยธุรกิจใหญๆ อยูนอยราย ซ่ึงสามารถควบคุมกิจการน้ันไวไดเปนสวนใหญ การผูกขาดนี้จะเกิดขึ้นในกิจการ หลัก 2 ประการ คือ ดานการคา และการอุตสาหกรรมอยางหนึ่ง และดานการธนาคารอีก อยางหน่ึง และในทายทส่ี ดุ กิจการหลกั ทั้งสองอยางนี้มแี นวโนม ทร่ี วมตัวเขาดว ยกนั อกี 4. รัฐบาลเขามามีบทบาทเพ่ิมข้ึนในดานเศรษฐกิจ เพื่อแกไขขอบกพรองที่ มีอยูในระบบทุนนิยมเดิม โดยเฉพาะอยางยิ่งเขามาดูแลมิใหมีการผูกขาดในกิจการตางๆ ท่ี เปนภัยตอสังคม เชน มีพระราชบัญญัติปองกันการคากําไรเกินควร หรือการวางแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมขึน้ มา เชน กรณปี ระเทศไทย และประเทศดอยพฒั นาอื่นๆ หนาทขี่ องระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจทุกรูปแบบ มีกลไกท่ีสามารถทําการตัดสินใจในเร่ืองตางๆ ดังนี้ คอื

227 1. การตัดสินใจวาจะผลิตสินคาและบริการชนิดใด เปนตนวา จะผลิต สินคาประเภททุน หรือผลิตสินคาเพื่อบริโภค ผลิตสินคาสําหรับการทหารหรือสินคาประเภท พลเรือน เปนตน 2. ตดั สินวาจะผลิตสินคามากนอยเพียงใด เชน จะผลิตเคร่ืองจักรมากนอย เพียงใด จะผลิตเครื่องอุปโภคท่ัวไปเทาไร หนาท่ีน้ีนับวาสําคัญมาก เพราะถาหากมีการใช ทรัพยากรเต็มท่ีแลว การเพิ่มผลผลิตสําหรับสินคาประเภทหน่ึง ยอมหมายถึงความจําเปนท่ี จะตองลดการผลิตสินคาประเภทอื่น ฉะนั้น ระบบเศรษฐกิจทุกรูปแบบจึงจําเปนจะตองมีกลไก หรอื องคก ารทท่ี ําหนาทีด่ านนีใ้ หค รบถวน 3. ตัดสินใจวาจะใชวิธีการผลิตอยางไร เชน เม่ือไดมีการตัดสินใจผลิต สินคาอยางใดอยางหนึ่งในจํานวนหนึ่งแลว ก็จะตัดสินใจวาจะใชวิธีการผลิตแบบไหน จะใช วิธีการผลิตโดยใชเคร่ืองจักรหรือโดยใชแรงงานคน จะใชวิธีการผลิตแบบขนาดใหญหรือวิธีการ แบบขนาดยอ ม เปนตน 4. ทําการตัดสินใจวาจะแบงปนผลผลิตท่ีไดสรางขึ้นมาน้ันอยางไร ใครจะ ไดรับสวนแบงมาก ใครจะไดรับนอย เปนตนวา มีการแบงปนกันโดยหลักวาใครเปนเจาของ ทรัพยากร โดยอาศัยกลไกตลอดหรือแบงปนตามหลักแหงความจําเปนโดยการวางแผนจาก สว นกลาง การตัดสินใจเกี่ยวกับ 3 ประการแรก เปนปญหาดานการผลิต สวนขอที่ 4 เปนปญหาดานการแลกเปลี่ยนและการแบงปน (distribution) นอกจากน้ี การตัดสินใจในแตละ เร่ืองยอมมีความสัมพันธกับเรื่องอ่ืนอยางใกลชิด เปนตนวา ในการผลิตสินคาใดในจํานวน เทาใด ก็ตองทราบกอนวาสินคาที่จะผลิตขึ้นมา มีการแบงปนใหบุคคลกลุมไหนบาง ทํานอง เดยี วกัน การเลอื กผลิตวธิ ีใดก็จําเปนจะตองทราบวา สินคาที่จะเลือกผลิตน้ันมีลักษณะอยางไร กอน 3. สถาบนั การปกครอง (Governmental Institutions) สถาบันการเมืองการปกครอง เปนสถาบันที่ตอบสนองความตองการของชีวิต และสังคมในการเสริมสราง ปองกัน และรักษาความสงบเรียบรอยของสังคม ระบบการ ปกครอง ตางมีแบบแผนความสัมพันธเฉพาะ มีระเบียบ วิธีการในการสรางความมั่นคง ความปลอดภัย และความสงบเรียบรอยแกประชาชนของรัฐแตกตางกันไปตามระบบการเมือง การปกครองของแตล ะสังคม

228 ความหมายของการเมอื งและการปกครอง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525 อธิบายคําวา “การเมือง และการปกครอง” ไวด งั นี้ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542 : 116, 646) 1. งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผนดิน เชน วิชาการเมือง ไดแก วิชาที่วาดวยรัฐ การจัดสว นแหง รฐั และการดําเนนิ งานแหง รัฐ 2. การบริหารประเทศเฉพาะท่ีเกี่ยวกับนโยบายในการบริหารประเทศ เชน การเมอื งระหวางประเทศ ไดแก การดําเนินนโยบายระหวา งประเทศ 3. กิจการอํานวยหรือควบคุมการบริหารราชการแผนดิน เชน ตําแหนงการเมือง ไดแก ตําแหนงซึ่งมีหนาท่ีอํานวย (คณะรัฐมนตรี) หรือควบคุม (สภาผูแทนราษฎร) การบริหารแผนดนิ สวนการปกครองนัน้ หมายถึง ดูแล คุมครอง ระวงั รักษา บรหิ าร จรูญ สุภาพ (2514 : 3) อธิบายวา การเมือง (ระบบการเมือง) เปนแบบแผน ของความสัมพันธร ะหวา งมนษุ ยทเี่ ก่ยี วขอ งกับอาํ นาจและการปกครองเปน ประการสําคญั สุพัตรา สุภาพ (2522 : 111 – 112) อธิบายวา สถาบันการปกครอง เปน สถาบันที่เกาแก เปนสิ่งสากลและเปนสิ่งสําคัญตอทุกสังคม ทุกกาลสมัย ปจจุบันสถาบันการ ปกครองมีฐานะเหนือสถาบันอ่ืน มีอํานาจในการนําประสาน ปกครองและคํ้าจุนสถาบันท้ังหลาย โดยใชการควบคุมทางกฎหมาย เพ่ือกําหนดใหกิจกรรมตางๆ ดําเนินไปภายในขอบเขต และ เหมาะสม เชน การดําเนินชีวิตครอบครัวการศึกษา การประกอบการงานตางๆ และอื่นๆ สถาบันการปกครองเปนสถาบันที่จําเปน เพราะมนุษยมีจุดออนและยังไมสมบูรณในตัวเอง มี การตอสู ขัดแยง เอาเปรียบ มีตัณหา มักจะมีความโนมเอียงที่จะละเมิดปทัสสถานของสังคม ตองเผชิญปญหาและสรางปญหา เชน อาชญากรรม ดังนั้นจึงตองมีสถาบันการปกครองเพ่ือ ชว ยแกปญหาตางๆ ชวยนาํ ทางที่ถูกตอง ชวยการประสานงานและการดํารงชีวิตของบุคคลให ดํารงอยูไดอยางสันติสุข ชวยวางแผนและกําหนดนโยบายของสวนรวม ใหหลักประกันคุมครอง เสรีภาพของบุคคล สรางดุลยภาพระหวางเสรีภาพกับการควบคุม เพ่ือความมั่นคงของชีวิต บคุ คลและการดํารงอยูของสังคม ณรงค เส็งประชา (2541 : 106) ไดใหความหมายและอธิบายไววา สถาบัน การเมืองการปกครอง เปนกลุมของบรรทัดฐาน เก่ียวกับการใชอํานาจ เพ่ือรักษาความเปน ระเบียบเรียบรอยของสังคม และกําหนดอํานาจอธิปไตย ในการดําเนินชีวิตของผูคนในสังคม เพ่ือควบคุมดูแลใหผูคนในสังคมปฏิบัติตามบรรทัดฐาน ปองกันไมใหเกิดการไรระเบียบทาง สังคม เพราะบุคคลตางกม็ ีความตองการจะกระทําในส่ิงตางๆ ถาหากไมมีขอกําหนดกฎเกณฑ ไมม ีการบังคับใหท ําตามกฎเกณฑก็จะเกิดการละเมดิ อธปิ ไตยของบุคคลอนื่

229 จากความหมายท่ีกลาวมาแลว สรุปไดวา “สถาบันการเมืองการปกครอง เปน กลุม ของบรรทัดฐานหรือระเบียบแบบแผนตางๆ ทางดานการเมืองการปกครอง เพ่ือใชอํานาจ ในการบริหารสังคมใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอย ใหการอยูรวมกันของสมาชิกในสังคม เปนไปดวยความสงบสุข และเพือ่ ใหเกดิ ความเจริญรุงเรืองแกส ังคม องคป ระกอบของสถาบันการเมอื งการปกครอง สถาบันการเมืองการปกครอง มีองคประกอบที่สําคัญ ดังน้ี (สนธยา พลศรี, 2545 : 161 – 162) 1. กฎหมาย กฎหมายเปนเคร่ืองมือสําคัญของสถาบันการเมืองการปกครอง โดยมรี ัฐธรรมนญู เปนกฎหมายสูงสดุ กฎหมายอ่นื ๆ ท่นี าํ มาใชตองไมขัดแยงกับรฐั ธรรมนญู 2. อํานาจอธิปไตย อํานาจอธิปไตยเปนอํานาจตามที่รัฐธรรมนูญกําหนดมี 3 ประการ คอื อาํ นาจนิตบิ ญั ญัติ อาํ นาจบรหิ าร และอํานาจตุลากร 3. ผูใชอํานาจอธิปไตย กลาวคือ ผูใชอํานาจนิติบัญญัติคือรัฐสภา ผูใชอํานาจ บริหาร คือ คณะรัฐมนตรี หรือรัฐบาล ผูใชอํานาจตุลากร คือ ศาลหรือตามท่ีแตละสังคม กําหนด 4. นโยบายของผูใชอํานาจบริหาร ที่ใชในการดําเนินงาน เพ่ือตอบสนองความ ตองการของสมาชิกในสงั คม 5. ผปู ฏบิ ัติงานใหเปนไปตามนโยบาย ไดแก ขา ราชการ พนกั งานระดับตางๆ 6. อาณาบริเวณหรือพื้นที่การปกครองท่ีสถาบันการปกครองมีอํานาจในการ ควบคมุ ดูแล 7. ประชาชนหรือสมาชิกของสังคม ท่ีมีอยูภายใตการควบคุมดูแลของสถาบัน การเมืองการปกครอง ลักษณะการเมืองและการปกครอง (ยนต ชุมจติ , 2528 : 75 – 76) รูปแบบการเมืองและการปกครองของประเทศตางๆ ในโลกมีแตกตางกันไปตาม ความเช่ือของประชาชน หรือของผมู อี ํานาจในประเทศน้ันๆ สรุปแลว ระบบการเมอื งการปกครอง แบงไดเ ปน 3 ประเภทใหญๆ ดังน้ี 1. ระบบเผด็จการบีบคั้น (totalitarianism) การปกครองแบบนี้มีลักษณะที่ สาํ คญั คอื 1.1 อาํ นาจทางการเมืองอยกู ับคนกลมุ เดียว 1.2 ผนู ํามีอํานาจสูงสุดในกลมุ 1.3 ความคิดเหน็ ของผนู ําถือวา ถูกตอง

230 1.4 ผนู ําต้งั ตนเองขึน้ ปกครองประเทศดวยกาํ ลัง 1.5 ผูนาํ แตล ะแหงแตละคนนยิ มแตกตา งกัน เชน ฮติ เลอร นยิ มอตุ สาหกรรม เพราะตองการพลงั ทางการผลติ นายพลเปรองของอารเยนตนิ า นยิ มกรรมกร เพราะชวยหนุน อทิ ธิพลทางการเมือง 1.6 ผูนํากับประชาชนมีความตองการขัดแยงกัน กลาวคือ ผูนําตองการ อาํ นาจ แตป ระชาชนตองการเสรภี าพ 1.7 ผนู ําเปน คนกําหนดวถิ ีชีวิตใหประชาชน 1.8 ระบบน้ีเชอื่ วาฐานะของรฐั บาลสาํ คญั กวา ชวี ติ ประชาชน 2. ระบบเผด็จการแบบอัตตาธิปไตย (authoritarianism) ระบบนี้มีความ เขมงวดกวดขันกบั ประชาชนนอยกวา ระบบแรก ลกั ษณะสาํ คญั ของระบบน้ี มดี งั นี้ 2.1 อาํ นาจเปน ของรฐั 2.2 อํานาจเปนของคนกลุมเดยี ว 2.3 กลุมที่มีอาํ นาจเปน รฐั บาล 2.4 รัฐบาลไมต อ งรับผดิ ชอบตอ ประชาชน ระบบการปกครองแบบน้ี ไมเปนระบบการปกครองแบบเผด็จการบีบคั้น แต ทวาระบบการปกครองแบบเผด็จการบีบคั้น มีสวนเปนเผด็จการแบบอัตตาธิปไตยดวย วิธีการ ปกครองแบบน้ีท่ีเห็นไดชัด ไดแก การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชในสมัยโบราณ และ การปกครองของประเทศที่ดอยพัฒนาบางประเทศ 3. ระบบประชาธิปไตย (democracy) การปกครองในระบบประชาธิปไตย นับไดวาเปนการปกครองที่คํานึงถึงศักดิ์ศรีในความเปนคนของผูอยูในปกครองอยางแทจริง ทั้งนี้เพราะมนุษยทุกคน ยอมปรารถนาท่ีจะยอมนับถือและรักษาไวซึ่งความสําคัญของตนเอง อยูชั่วตลอดชีวิต มนุษยทุกคนปรารถนาไดเสรีภาพ ความเสมอภาคในโอกาส ความเจริญ กาวหนา ของตนเอง และความมศี กั ดิ์และสิทธ์ิในการเปนเจาของ ตลอดการมีสิทธ์ิมีเสียงในการ ปกครองบานเมอื งดวย ความหมายของประชาธปิ ไตย คาํ วา “ประชาธิปไตย” มาจากภาษาอังกฤษวา เดมอกเครซี (Democracy) ซึ่ง มาจากภาษากรีกวา เดมอกเครเทีย (Demokratia) แปลวา ปกครองโดยประชาชน (Government by the People) พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน (2542 : 656) คําวา “ประชาธิปไตย” เปน คาํ นาม แปลวา ระบอบการปกครองท่ถี ือมติปวงชนเปน ใหญ การถือเสียงขา งมากปนใหญ

231 หลักเกณฑส ําคัญของประชาธิปไตย 1. เชือ่ ในอาํ นาจอธปิ ไตยของประชาชน (Popular Sovereighty) ซึง่ ถือวา ความ ตองการของปวงชน เพือ่ ผลประโยชนร วมกนั ของสังคมเปนส่งิ ทีจ่ ะตองดาํ เนินตามอํานาจอธิปไตย ของปวงชนนี้ แสดงใหเห็นไดจากการเลือกต้ัง (Election) ประชาชนจะเลือกคนที่จะไปทําหนาที่ “ปกครอง” แทนตนในองคก ารปกครองสงู สดุ ของประเทศนัน้ คอื รัฐบาล (Government) ระบอบประชาธิปไตย เปนระบอบการเมืองการปกครองที่พัฒนาแลว ท่ี จะตอ งปกครองไปตามกฎหมายหรอื เปนไปตามหลักนติ ธิ รรม (The Rule of Law) กฎหมายใน ระบอบประชาธิปไตยน้ัน ผูออกกฎหมายจะตองไดรับเลือกต้ังมาจากราษฎร และเลือกโดย ราษฎร 2. เช่ือในหลักเสรีภาพ เสรีภาพในระบอบประชาธิปไตยไมไดหมายความวาทํา อะไรก็ได แตหมายถึงการที่บุคคลสามารถกระทํา หรืองดเวนการกระทําการส่ิงใดส่ิงหนึ่งได โดยไมละเมิดผูอื่น คือ ไมทําใหผูอ่ืนเดือดรอน ซึ่งจะถูกกําหนดโดยกฎหมายที่ไดรับความ ยินยอมเห็นชอบจากประชาชนโดยตรงหรอื โดยออม 3. เชื่อในหลักความเสมอภาค เสมอภาคในที่นี้หมายถึง ความเสมอภาคพ้ืนฐาน ที่พอจะทําใหประชาชนในสังคมเดียวกันเทาเทียมกันไดในประเด็นสําคัญ มิไดหมายความวา เทาเทียมกันทุกเรื่อง ซึ่งเปนไปไมได ความเสมอภาคที่สําคัญ คือ เสมอภาคตามกฎหมายที่ กฎหมายจะตองใชกับทุกคนโดยเสมอกันและโดยยุติธรรม เสมอภาคทางสังคมไมมีการแบง ชนช้ันวรรณะเพื่อดูถูกดูแคลนเอารัดเอาเปรียบกัน เสมอภาคในโอกาสที่จะใชความสามารถที่ ตนมใี นทางสุจรติ ไดเตม็ ท่ี เสมอภาคในทางการเมอื งที่จะเลือกตัวแทนหรือท่ีจะสมัครรับเลือกต้ัง และเสมอภาคในการไดร บั หลกั ประกนั ความมั่นคงทางเศรษฐกิจในอัตราหนง่ึ 4. เชอ่ื ในหลักเหตุผลและหลักภราดรภาพของมนุษย คือ จะตองยึดเหตุผลเปน สําคัญ นอกจากนั้นยังตองรักใครใหความเคารพซึ่งกันและกันในสังคมดวย จึงจะรวมมือกันทํา ประโยชนแ กส งั คมสว นรวมได 5. มรี ฐั บาลและกลไกของรัฐบาลทส่ี อดคลอ งและดําเนนิ การตามหลักเกณฑ รปู แบบของประชาธปิ ไตย รูปแบบของประชาธปิ ไตย จะแบง เปน 3 รูปแบบ คอื 1. ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (Parliamentary Democracy) รัฐบาลท่ีฝายนิติ บัญญัติประกอบดวย ผูแทนราษฎรท่ีประชาชนเลือกมาโดยตรง และผูแทนราษฎรคัดเลือก นายกรัฐมนตรี โดยนายกรัฐมนตรีเลือกหารัฐมนตรีรวมคณะเปนฝายบริหาร โดยการรับรอง ยนิ ยอมของสภาผูแทนราษฎร ฝายนติ ิบัญญตั อิ อกกฎหมายและควบคุมการบริหารของฝายบริหาร สวนฝายบริหารก็บริหารงานไปตามกฎหมายและนโยบายท่ีแถลงตอสภา สภาผูแทนราษฎร

232 สามารถซักถามรัฐมนตรีหรืออภิปรายทั่วไป เพื่อลงมติไมไววางใจฝายบริหารได ฝายบริหารก็ มสี ิทธยิ ุบสภาเพือ่ ใหมีการเลอื กต้ังใหมได 2. ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดี (Presidental Democracy) ประชาชน เลือกประธานาธิบดีเปน ฝายบริหาร ซ่ึงประธานาธิบดีจะแตงต้ังรัฐมนตรีรวมคณะเอง ทําหนาที่ บริหารและกําหนดนโยบายตามกฎหมาย สวนฝายนิติบัญญัติน้ันประชาชนก็เลือกสมาชิก สภาผูแทนราษฎรทําหนาท่ีออกกฎหมาย ตางฝายตางทําหนาที่ของตนจนครบเทอม โดยไมมี การยุบสภาหรือลงมติไมไววางใจ ประชาธิปไตยแบบนี้ประธานาธิบดีทําหนาท่ีเปนฝายบริหาร และประมขุ แหงรัฐ เชน ประเทศสหรฐั อเมริกา 3. ประชาธิปไตยแบบผสมกึง่ รัฐสภาหรือกึง่ ประธานาธิบดี (Semi-Parliamentry or Semi-President) เปนแบบท่ีประธานาธิบดีซ่ึงมีฐานะเปนท้ังประมุข และหัวหนาฝายบริหาร ประธานาธิบดีแตงต้ังนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอ่ืนๆ ประชาชนเลือก สมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนฝายนิติบัญญัติ ทําหนาท่ีออกกฎหมายและควบคุมการบริหาร ของคณะรัฐมนตรี ประธานาธิบดียุบสภาใหมีการเลือกตั้งใหมได แตสภาลงมติไมไววางใจ ประธานาธิบดีไมได ทําไดกับนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีเทานั้น ตัวอยางประเทศที่ใช ประชาธปิ ไตยแบบน้ี คอื ฝรง่ั เศส สรุปแลว การปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย จะเปนการปกครองของประชาชน โดยประชาชนและเพ่ือประชาชน ซึง่ ความเปนประชาธปิ ไตยนั้น จะมีลักษณะท่สี ําคญั ดังน้ี 1. สามัคคีธรรม หมายถึง ความรวมมือ รวมใจ ความพรอมเพรียงของหมู คณะในการดาํ เนินงานตางๆ 2. คารวธรรม หมายถึง การเคารพยกยองใหเกียรติซึ่งกันและกัน ตลอดจน ยอมรบั ฟง ความคิดเห็นและขอ เสนอแนะของสมาชิกในกลุมดว ย 3. ปญญาธรรม หมายถึง การใชสติปญญา ความรูความสามารถของคน รวมท้ังของหมูคณะในการวินิจฉัย ตัดสินเร่ืองราว หรือในการแกปญหาตางๆ ใหสําเร็จลุลวง อยา งราบรืน่ และนอกจากน้ียงั รวมไปถึงการใชปญญาในการลงมติหรือการยอมรับขอเสนอใดๆ ของกลมุ ดว ย หนา ท่ขี องสถาบันการเมืองและการปกครอง (ยนต ชุม จิต, 2528 : 76 – 77) หนาท่ีของสถาบันการเมืองและการปกครอง ยอมหมายถึงหนาท่ีของฝายบริหาร หรือฝายทมี่ สี ว นในการจัดการปกครองประเทศ ซึง่ โดยทว่ั ไปฝายปกครองหรือฝายรัฐบาลจะตอง ทําหนา ทท่ี ส่ี ําคัญ ดังตอไปน้ี 1. รักษาความมั่นคงปลอดภัยของชาติ กลาวคือ ตองรักษาเอกราชของชาติให ปลอดภยั จากการรกุ รานของศตั รูภายนอก

233 2. บําบัดทุกขบํารุงสุขใหราษฎร เชน ปราบปรามโจรผูรายที่ทําลายความสงบ สขุ ของประชาชน รวมท้ังการสงเสรมิ สวสั ดิภาพใหแ กประชาชนอยา งทวั่ หนา 3. พัฒนาการทางดานเศรษฐกิจ คือ การชวยใหประชาชนมีรายไดดีขึ้น มี ความเปนอยูอยางสุขสมบูรณ มีการผลิตเครื่องอุปโภคอยางพอเพียงกับความตองการของ ประชาชน เปน ตน 4. จดั ใหป ระชาชนไดร ับการศึกษาอยางแทจริง โดยเฉพาะการศึกษาภาคบังคับ และในโอกาสเดียวกันก็ตองปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาใหดีย่ิงข้ึน ท้ังสวนกลางและสวน ภูมิภาค 5. สรางความสัมพันธระหวางประเทศ ท้ังนี้เพ่ือความมั่นคงปลอดภัยของชาติ และเพื่อความรว มมอื ในทางการเมอื ง เศรษฐกิจ หรือการศกึ ษา 6. หารายไดบํารุงประเทศชาติ เชน การเรียกเก็บภาษีจากราษฎรอยางเปน ธรรม การคา ขายกบั ตางประเทศ การประกอบการสาธารณปู โภค เปนตน 7. สงเสริมศีลธรรมและวัฒนธรรมแกคนในชาติ โดยการกําหนดนโยบายหรือ วางแผนใหหนวยงานทเ่ี กย่ี วของรบั ไปดาํ เนินการ 8. สงเสริมดานสุขภาพอนามัยใหแกประชาชน เชน สงเสริมการกีฬา การ รักษาพยาบาลผเู จ็บปวย เปนตน 9. จัดสรรสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ใหประชาชน เชน การติดตอสื่อสาร การขนสง เปนตน 10. สงเสรมิ และควบคุมการใชทรัพยากรธรรมชาตอิ ยางประหยดั และเปนประโยชน ใหมากท่ีสดุ รวมท้งั การรกั ษาความสมดลุ ของธรรมชาติ เพ่ือปอ งกันการเกิดมลพิษตา งๆ ดว ย 4. สถาบนั ศาสนา (Religions Institutions) ความหมายของศาสนา “ศาสนา” ตามความเช่ือของสังคมตะวันตกมีลกั ษณะท่สี ําคญั 4 ประการ คอื 1. ความเชือ่ ในเรื่องพระเจา สรางโลกและสรรพสิง่ ตางๆ ในโลก 2. พระเจา เปนผสู รางคําสอนทง้ั ท่เี ปนธรรมจรรยาและกฎหมาย 3. ความเช่ือบางอยา งท่มี ีลักษณะอจนิ ไตย (สง่ิ ท่ีอยูเหนือวิสัยของมนุษยธรรมดา จะคิดถึงได) กลาวคือ เช่ือไปตามคําสอนนั้นโดยไมคํานึงถึงขอพิสูจนตามหลักเหตุผลในทาง วทิ ยาศาสตร 4. การมอบตนและการกระทําตลอดจนสิ่งอ่ืนใด ถวายแดพระเจาดวยความ จงรักภกั ดี (Submit Oneself to the god) (อานนท อาภาภิรมย, 2525 : 76)

234 พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ ทรงอธิบายไววา ศาสนา คือ หลักธรรมท่ีทําใหมนุษยกลายสภาพจากความเปนคนเยิงและสัตวปา ทําใหสัตวปากลาย สภาพเปนมนุษย สามารถอยูรวมกันไดกับมนุษยที่มิใชผูมีสภาพเปนคนเยิง และมิใชเปนผูมี สภาพเปนสัตวป า ทัง้ หลาย พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน (2542 : 1100) อธิบายวา ศาสนาเปนลัทธิ ความเชื่อถือของมนุษยอันมีหลัก คือ แสดงกําเนิดและความสิ้นสุดของโลก เปนตน อัน เปน ไปในฝา ยปรมมตั ถประการหนง่ึ แสดงหลักธรรมเก่ียวกับบุญบาป อันเปนไปในฝายศีลธรรม ประการหน่งึ พรอมท้ังลัทธิพิธีท่ีกระทําตามความเห็นหรอื ทําตามคําสง่ั สอนในความเช่ือนน้ั ๆ เสถียร พันธรังสี (2519 : 12) อธิบายวา ตามขอตกลงของกลุมผูวิจัยศาสนา และความเชื่อตามโครงการวิจัยพื้นฐานจิตใจของประชาชนชาวไทยสาขาปรัชญา สาขาวิจัย แหงชาติ ครั้งท่ี 2/2506 กําหนดวา ศาสนาจะตองประกอบดวยลักษณะทั้งหมดหรือสวนมาก ดงั ตอไปนี้ 1. มีศาสดาผูตงั้ 2. มีคําสอนเกีย่ วกับศีลธรรมจรรยา 3. มีหลกั ความเชื่ออันเปน ทีห่ มาย 4. มพี ิธีกรรม 5. มสี ถาบันทางศาสนา ศาสนา คือ “คําสอนของศาสดาผูประกาศและต้ังศาสนานั้นข้ึน เพ่ือแนะ แนวทางใหแ กผ ทู ่ีปรารถนาความสขุ พึงปฏบิ ตั ิตามหลักที่สงั่ สอนไว” (เสถยี รโกเศศ, 2515 : 11) พอสรุปความหมายของศาสนาไดวา หมายถึง คําส่ังสอนของศาสดาหรือผู ประกาศศาสนาที่บุคคลโดยท่ัวไปใหความยอมรับ นับถือ เล่ือมใสและศรัทธา แลวยึดมั่นมา เปนแนวทางปฏิบัติ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อความสงบ และเปนสุขในการดําเนินชีวิตของตนเอง และการอยรู วมกนั ในสังคม องคประกอบของศาสนา สุพัตรา สุภาพ (2523 : 114) อธบิ ายวา โดยท่วั ไปศาสนาจะประกอบดว ย 1. มผี ปู ระกาศหรอื ศาสดา คือ ผูสอนหรือกอตั้งศาสนา ท่ีมีปรากฏหลักฐานอยู ในประวัตศิ าสตร 2. มคี ําสอนในศาสนา รวมทงั้ กฎเกณฑเ กยี่ วกบั การปฏิบตั ิดังกลาว คือ ขอความ ท่ที องจําสบื ตอกันมาแลว จารกึ ไวในคมั ภรี  3. มีผูสืบตอหรือผูแทนเปนทางการของศาสนานั้นๆ หรือผูรับคําสอนน้ันมา ปฏบิ ัติ ซึ่งไดแก พระ หรือนกั บวช ซ่ึงมีคณุ สมบัติตามท่แี ตล ะศาสนากําหนดไว

235 4. มีศาสนสถาน คือ เปนสถานท่ีเคารพหรือเปนท่ีตั้ง หรือเปนปูชนียสถาน เชน วดั โบสถ วิหาร เปนตน 5. มีสัญลักษณ เคร่ืองหมาย หรือสิ่งแทน พิธีกรรมรวมท้ังปูชนียวัตถุ (ท่ี เคารพบูชา เชน พระพุทธรูป ไมกางเขน เปนตน) 6. เปนเรอ่ื งท่เี ชอ่ื ถอื ได และมีการปฏิบตั ิตามความเชือ่ ถอื น้นั ทุกศาสนาไมจําเปนจะตองมีองคประกอบครบทั้ง 6 ขอ แมจะขาดขอใดขอหน่ึง ก็ยังนับวา เปน ศาสนา เพราะมอี งคป ระกอบอ่ืนๆ เชน ศาสนาขงจื๊อ มแี ตศาสดา ไมมีนักบวช หรือแมแตศาสนาของชาวอียิปตและแบบิโลเนียก็ไมมีองคศาสดา หรือศาสนาฮินดูและชินโตก็ ไมมีศาสดาเชนกัน แตคนยงั นบั ถอื เปนศาสนา สาเหตขุ องการเกิดสถาบันศาสนา 1. ความไมรูความไมเขาใจในสภาพธรรมชาติ หรือสิ่งแวดลอมท่ีอยูรอบตัวของ มนุษย เน่ืองจากขีดความสามารถของความรูมีจํากัด เมื่อมีปรากฏการณตางๆ ท่ีเปน ประโยชนก็เกิดความนิยมนับถือและยึดเอาเปนที่พ่ึงและสักการบูชา เชน การเช่ือถือและบูชา ในดวงอาทติ ย ดวงจนั ทร และดวงดาวตา งๆ แมนา้ํ ลําคลอง ตน ไม ภูเขา เปน ตน 2. ความกลัวของมนุษยในเร่ืองภัยและอันตรายตางๆ เห็นชัดในสังคมด้ังเดิม หรอื สงั คมทีย่ งั ไมเ จรญิ ที่มนุษยก ลัวปรากฏการณธรรมชาตหิ รือํานาจลกึ ลบั ที่ตนยังหาคําตอบ ในสมัยน้ันไมได เม่ือเกิดความกลัวก็ตองหาทางขจัดความกลัว โดยการกราบไหวบูชา บนบาน ศาลกลาวดว ยวิธกี ารตางๆ 3. ความตอ งการท่ีพึง่ ทางใจของมนุษย เปนความตองการท่ีจะใหมีสิ่งยึดเหน่ียว เพ่ือเปนเปาหมายในการกระทําตางๆ เชน บางคนหอยพระเพ่ือใหมีกําลังใจในการเดินทาง เปนตน 4. ความตองการรูแจงเห็นจริง เปนการใชเหตุผลเพ่ือเขาใจชีวิต เปนศาสนาท่ี ไมถือเทพเจาเปนผูสรางโลกหรือเปนศูนยกลางแหงศาสนา เชน ศาสนาพุทธที่ใหใชปญญา ข้ันสูงสดุ ท่ีทําใหร ูแจงเหน็ จริง และหลุดพน จากทกุ ข 5. เพื่อผลประโยชนของชุมชน โดยทุกคนปฏิบัติตามบรรทัดฐานเดียวกัน เพื่อ จะไดอ ยูรวมกนั อยางเปน สุข และเปนระเบยี บเรยี บรอ ย 6. ความเช่ือถือในบรรพบุรษุ มนุษยเคารพบชู าในบรรพบุรุษของตน แมวาตาย ไปแลวกม็ ีความเช่อื วาวญิ ญาณยงั คงสถติ อยใู นโลก เพอ่ื คอยทําหนาท่ีปกปองคุมครองลูกหลาน ไมใหประสบความทุกขและภัยอันตรายตางๆ ทําใหเกิดการเซนไหวบูชาบรรพบุรุษในรูปแบบ ตา งๆ ข้นึ 7. ความเช่ือถือในผูนําสังคม เชน หัวหนาเผา ผูนํารัฐ นักรบ ประมุขของ ประเทศ หรือบุคคลที่สังคมยกยองเทิดทูนเนื่องจากไดสรางคุณงามความดีไวใหกับสังคม เมื่อ

236 ตายไปแลวกย็ งั คงไดรบั การเคารพนบั ถอื ในรูปของการบวงสรวง การสกั การะตางๆ นอกจากน้ี ผูนํายังมีอิทธิพลตอการโนมนาวจิตใจ หรือบังคับใหคนในสังคมยอมรับนับถือศาสนาใดศาสนา หนึ่งที่ตนเชื่อถอื ศรทั ธากไ็ ดอ กี ดว ย 8. ความสามารถในการจัดองคการทางศาสนาของมนุษย ทําใหมนุษยจัดต้ัง สถาบนั ศาสนาและดําเนนิ กจิ กรรมสบื ตอกนั มาจนถงึ ปจ จบุ ัน 9. ความสามารถในการเผยแผศาสนาขององคการทางศาสนาตางๆ ทําใหศาสนา เปน ท่ีเชื่อถือและยอมรบั ของผคู นทัง้ ในสงั คมของตนและสงั คมอน่ื ๆ ประเภทของศาสนา ศาสนาแบง ออกเปน 4 ประเภท คือ 1. เอกเทวนิยม (Monotheism) คือ ลัทธิที่เช่ือในเร่ืองพระเจาองคเดียว เชน ศาสนาครสิ ต ศาสนาอสิ ลาม 2. พหุเทวนิยม (Polytheism) คือ ลัทธิที่เช่ือในเรื่องพระเจาหลายองค เชน ศาสนาพราหมณ ฮนิ ดู 3. สัพพัตถเทวนยิ ม (Pantheism) คือ ลัทธิท่ีเชื่อวามีพระเจาอยูทุกหนทุกแหง เชน ศาสนาของพวกชาวเขา 4. อเทวนยิ ม (Atheism) คอื ลัทธิทไี่ มเชื่อในเรอ่ื งพระเจา เชน ศาสนาพทุ ธ หนา ท่ขี องสถาบันทางศาสนา (สุพัตรา สุภาพ, 2522 : 128) มนุษยในแตละสังคมซึ่งมีศาสนาตางกันถือวา ศาสนาท่ีตนยึดถือเปนสถาบันท่ี ชวยใหเกิดผลดีนานาประการ กลายเปนความเช่ือม่ันวามนุษยอาจไดรับประโยชนจากสถาบัน ศาสนา หนาท่ีหลักหรือบทบาทสําคัญของศาสนา จึงอยูที่การใหคุณคาหรือประโยชนตางๆ ที่ ใหแ กทั้งบุคคลและสงั คม ซึ่งพอจะสรุปไดดงั น้ี 1. การปกปองคุมครองและเพ่ิมพูน เชน เชื่อวาศาสนาจะคุมครองภัยพิบัติตางๆ ทั้งในยามปกติและในยามวิกฤติการณ และเพ่ิมพูนความอุดมสมบูรณตางๆ ใหกับสังคม เชน ความอดุ มสมบรู ณในทางพืชพนั ธธุ ญั ญาหาร 2. เปนพื้นฐานของกฎศีลธรรมของสังคม สถาบันศาสนาจะกอใหเกิดอํานาจ บังคับแกกฎเกณฑตางๆ ทางศีลธรรมและทางสังคม และเปนพ้ืนฐานของหลักจริยธรรม ซึ่ง เปนเคร่ืองกําหนดแนวทางและนโยบายทางสังคมดวย กลาวโดยยอสถาบันทางศาสนามีหนาท่ี ดังน้คี ือ 2.1 เปนพ้ืนฐานและกอใหเกิดอํานาจบังคับในลักษณะท่ีอยูเหนือกฎเกณฑ โดยทว่ั ไปทางโลกหรือทางกฎหมาย 2.2 เปน พนื้ ฐานของคุณคาทางจริยธรรม

237 2.3 กอใหเกิดหลักการทางจริยธรรม ซ่ึงเปนโครงสรางและเคร่ืองนําทาง สาํ คัญของนโยบายทางสังคม 2.4 พิธีกรรมทางศาสนาจะกอใหเกิดความสําคัญแหงคุณคาบางประการของ กลมุ เชน ประเพณีการทําบญุ สนุ ทาน กอใหเ กิดความสาํ คญั ของคุณคาแหงการบุญกุศลลึกซึ้ง อีกย่งิ ข้นึ 3. เปนพื้นฐานสําคัญของอํานาจรัฐ เชน ในระบบการปกครองท่ีไมมีการแยก อาณาจกั รออกจากศาสนจักร ทีย่ อมใหศ าสนจกั รเปน ใหญน นั้ กจิ กรรมทางการเมืองหรือการใช อํานาจรฐั ขน้ึ อยกู บั ประมขุ ทางศาสนา 4. สถาบนั ทางศาสนาอาจจะเปนแหลงที่กอใหเกิดการสมาคมและนันทนาการใน หมูประชาชน เชน พิธีทําบุญ ทําใหเกิดความสัมพันธอยางใกลชิดในหมูประชาชน เกิด การละเลนตางๆ หรือประเพณีท่ีเก่ียวกับการนันทนาการ (การกีฬาหรือการละเลน) อันสงเสริม การทําบญุ ดงั ท่ีอาจจะพบเหน็ ในสังคมไทย (งานวัด) เชน บุญทอดกฐิน หรอื บุญทอดผาปา ในบางสังคม ศาสนาไดกอใหเกิดสิ่งอันเปนความงดงามและอารยธรรม เชน สถาปตยกรรมศิลปะระดับสูง ปูชนียสถานท่ีสวยงาม ประติมากรรมของวัตถุอันละเอียดออน จิตรกรรมอันเลอเลิศ ซ่ึงเปนอมตะ กอใหเกิดความหฤหรรษทางใจ ความสงบทางจิต ความสุข ทางอารมณ และความรสู กึ ในดา นสุนทรยี ภาพ 5. สถาบันทางศาสนากอใหเกิดพฤติกรรมที่เปนคุณประโยชนในมวลมนุษย เอ้อื เฟอ เผ่ือแผ ความเมตตากรณุ าและอปุ การะชว ยเหลอื กนั รวมตลอดจนถึงความรกั ใครต อ กนั 6. สถาบันศาสนา ทําหนาท่ีเสมือนเปนกลไกสําคัญในการควบคุมทางสังคม เพ่ือใหเกิดความประพฤติและพฤติกรรมอันถูกตอง เพื่อนําไปสูความสงบสุข ความเปนระเบียบ และศีลธรรมอันดี เชน คําสอนหรือกฎเกณฑทางศาสนาที่ยับยั้งมิใหมีการประพฤติช่ัว หรือ เบียดเบียนกันระหวางสตั วโ ลก 5. สถาบันการศึกษา (Educational Institutions) การศึกษาเปนกิจกรรมพื้นฐานของมนุษยในสังคม และการศึกษาเปนส่ิงจําเปน สําหรับมนุษยทุกคน เพราะมนุษยตองอยูรวมกับผูอ่ืน จึงจําเปนตองเรียนรูส่ิงตางๆ ในสังคม สังคมจะดํารงอยูไดก็ตอเมื่อมีการถายทอดส่ิงตางๆ ไปสูคนรุนใหม ตลอดจนใหมีการปฏิบัติ ตามท่ีกลุมคาดหวังไว แตละสังคมจึงจําตองมีการอบรมส่ังสอนสมาชิกไมทางใดก็ทางหน่ึง อัน ท่ีจริงแลวมนุษยเริ่มมีการศึกษาต้ังแตมนุษยเริ่มรูจักคิดพิจารณาสิ่งรอบตัว และพยายามเขาใจ และหาทางอยูรอดกับสิ่งแวดลอมน้ันๆ ซึ่งเปนการตอบสนองการอยูรอดและความอยากรูอยาก เห็นของมนุษย ความรูดังกลาวเริ่มต้ังแตการรูจักใชกอนหินขวางปาสัตวมาเปนอาหารและ วิวัฒนาการเรื่อยๆ จนสามารถมีอิทธิพลเหนือสิ่งแวดลอมในบางอยาง และเน่ืองจากสังคม

238 ซับซอนขึ้น มนุษยจึงตองหาทางแกไขปรับปรุงใหเขากับสังคมท่ีพัฒนาไป การศึกษาของ มนษุ ยจ ึงไมส น้ิ สุดและเปนกระบวนการท่มี อี ยูตลอดไป ความหมายของการศกึ ษา คําวา การศึกษามีผใู หค วามหมายไวต า งๆ กัน ดงั ตอ ไปนี้ การศกึ ษา คอื การสรางสมและการถายทอดความรูประสบการณของมนุษยเพ่ือ การแกปญหา และยังใหเกิดความเจริญ การศึกษามีความจําเปนตอเนื่องและตองการ เปล่ียนแปลงแกไขระบบการอยูเสมอ การศึกษามีความหมายกวางไกล และลึกกวาการเรียน หนงั สอื และการไปโรงเรยี น การศกึ ษากอ ใหเ กิดความเจริญทางพุทธิปญญา จิตใจ สังคม และ พลานามัย การศึกษาดําเนินอยูเปนลํ่าเปนสัน ในสถานศึกษา การศึกษาไมใชการเรียนรูเพื่อ หารัก แตเปนการใหความคิด การศึกษาเปนการโนมนาวทําใหบุคคลเกิดความประจักษใจและ พัฒนาความสามารถของตนใหรูวาตนทําอะไร ไดมากกวาการฝกอาชีพเฉพาะอยาง (เอกวิทย ณ ถลาง, 2524 : 4) รังสรรค ธนะพรพันธุ (2518 : 54 – 55) ไดใหคํานิยามของการศึกษา 5 ประการ คือ 1. การศกึ ษา คือ ขบวนการทจ่ี ะชวยใหเด็กนําเอาความคิดความอานในตัวของ เขาเองออกมาใชอ ยางดีท่สี ดุ 2. การศกึ ษา คือ ขบวนการท่ีจะพัฒนาความสามารถของทุกคนโดยความสามารถ น้นั เปนมรดกตกทอดกนั สืบมาในหมมู นษุ ยทางกรรมพันธุห รอื บรู ณกรรมในอดตี ชาติ 3. การศึกษา คือ ขบวนการที่จะกระตุนใหสมองไดรับรู แลวรวบรวมไว ซงึ่ สรรพความรแู ละคุณคา ตางๆ เพื่อนําไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ 4. การศกึ ษา คือ ขบวนการจารกึ แลวจารึกเลา ซึ่งประสบการณทางสังคมของ มนษุ ยใหเปน ที่ประจกั ษใ นความคดิ ของแตละปจ เจกบคุ คล 5. การศึกษา คือ ขบวนการส่ังสอน อบรมเยาวชนใหดํารงชีวิตอยูในสังคม ไมว าจะเปน ทางโลกหรือใหอ ยไู ดทั้งทางโลกและทางธรรมพรอมๆ กันไปในตวั อานนท อาภาภิรมย (2525 : 113 – 114) ไดกลาวถึงความหมายของการศึกษา ท่มี ีผูไดกลา วไวไดแ ก Aristotle ชาวกรีก (384 – 322 กอน ค.ศ.) กลาววา การศึกษา คือ การ อบรมคนใหเ ปนพลเมืองดี และดาํ เนินชวี ิตดวยการกระทํา Rousseau ชาวฝร่ังเศส (ค.ศ. 1712 – 1774) กลาววา การศึกษา หมายถึง การปรับตัวใหเ หมาะสมกบั โอกาส และสิง่ แวดลอ มท่เี ปลยี่ นแปลงอยูเสมอ John Dewey ชาวอเมริกัน (ค.ศ. 1859 – 1925) กลาววา การศึกษา หมายถึง กระบวนการแหง การดํารงชวี ติ มใิ ชก ารตระเตรียมตวั เด็กเพ่ือการดํารงชีวติ ในวันหนา

239 จากความหมายของนักการศึกษาท้ังหลายดังกลาว พอสรุปความหมายของ การศึกษาไดวา การศึกษา หมายถึง การสรางสมและการถายทอดความรูและประสบการณ ของมนุษย จากคนรุนหน่ึงไปอีกรุนหนึ่ง เพื่อการแกไขปญหาความเปนอยูของคน และความ เจริญรุงเรืองของสังคมมนุษย เปนกระบวนการที่จะดําเนินไปคูกับความเปนอยูของสังคมอยาง ไมหยุดน่งิ และไมมีวนั สิ้นสุด รปู แบบของการศึกษา รูปแบบของการศึกษาโดยท่ัวไปจําแนกออกไดเปน 3 ระบบใหญๆ คือ (ยนต ชุม จิต, 2528 : 69 – 70) 1. การศึกษาในระบบโรงเรียน (formal education) คือ การศึกษาท่ีมีรูปแบบ แนนอนในระบบโรงเรียน โดยมีการจําแนกผูเรียนออกเปนกลุมเปนช้ันตามวัย มีการกําหนด หลักสูตรการเรียนการสอนครูผูสอนระยะเวลาแหงการเรียนการสอน ทั้งน้ีเร่ิมตั้งแตระดับ ประถมศึกษา (หรอื กอ นประถมศึกษา) จนกระท่งั ถงึ ระดบั อดุ มศึกษา หรือมหาวทิ ยาลัย 2. การศึกษานอกระบบโรงเรียน (non – formal education) คือ การศึกษาที่ จัดขึ้นนอกเหนือจากการเรียนการสอนในระบบโรงเรียนตามเวลาปกติ ท้ังนี้เพื่อสนองความ ตองการของประชาชนกลุมตางๆ ทุกเพศทุกวัย ซ่ึงพลาดโอกาสทางการศึกษา หรือไดรับ การศกึ ษาในระบบโรงเรียนในวงจํากัด อันเนื่องมาจากความจาํ เปนทางเศรษฐกจิ หรืออื่นๆ 3. การศึกษาแบบไมมีระบบ (informal education) บางแหงเรียกวา “การศึกษา แบบอรูปนยั ” ซ่ึงเปน การศึกษาหรือการเรียนรโู ดยอาศยั กระบวนการและประสบการณชีวิตอยาง แทจริง เชน ไดรับการอบรมสั่งสอนจากบิดามารดา ไดรับความรูความเขาใจจากเพ่ือน จาก การสังสรรคทางสังคม หรือมีความรูความชํานาญพิเศษจากการทํางานของตนเอง เปนตน การศึกษาแบบนีอ้ าจเรียกอีกอยางหนึ่งวา เปนการศกึ ษาตลอดชวี ติ (life-long education) กไ็ ด หนา ท่ีของการศกึ ษา (ปฬาณี ฐิตวิ ัฒนา, 2523 : 128) การศึกษาเปนสถาบันทางสังคม ตองใหการศึกษาแกสมาชิกที่เกิดใหมของสังคม การศึกษาสมัยโบราณหนาที่ไมแนนอนเหมือนสมัยใหม กลาวคือ ครอบครัว ศาสนา และ ผูใหญเปนผูใหการศึกษา การศึกษาสมัยใหมมีโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย ฯลฯ ทําหนาท่ี ใหก ารศกึ ษา ปจ จุบนั หนาทขี่ องสถาบันการศกึ ษา มดี งั น้ี คือ 1. การขัดเกลาทางสงั คม (Socilization) 2. การจดั สรรบทบาท (Role allocation) 3. การถายทอดวฒั นธรรม (Enculturation) 4. กําหนดความสามารถเฉพาะทาง 5. บทบาทในการนําการเปลยี่ นแปลง

240 1. การขัดเกลาทางสงั คม ในสังคมปจจุบันระยะสําคัญของสังคมอยูในระหวาง การศกึ ษาในโรงเรียน วิทยาลัย และมหาวทิ ยาลัย โดยมีครูอาจารยและกลุม เพอ่ื นของนักเรียน เองเปน ผูม ีบทบาทสําคัญ วัตถุประสงคสําคัญของการขัดเกลาทางสังคมในโรงเรียน คือ การถายทอด ความรูและคุณธรรมท่ีสังคมเห็นวามีความจําเปนและเปนส่ิงดีงาม สําหรับการเปนสมาชิกที่ดี ของสังคม นอกจากจะใหความรูและทักษะตางๆ ท่ีเปนการเตรียมบุคคลสําหรับการประกอบ อาชพี แลว การศึกษาในโรงเรียนยังมีผลเปนการพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคลใหมีลักษณะในทาง สังคมเห็นวาดีงาม เชน ในสังคมประชาธิปไตย บุคคลจะไดรับการอบรมใหซาบซึ้งในคุณคา ของสิทธิเสรีภาพ ระเบียบวินัย ความรับผิดชอบตอตนเองและตอสังคม เพ่ือที่จะไดออกเปน สมาชิกท่ดี ีของสังคม รจู กั สิทธิและหนาที่ความเปน พลเมือง 2. การจัดสรรบทบาท การศึกษาจะชวยกระจายสมาชิกใหมีอาชีพ ตําแหนง อาชพี การงานแตกตา งกนั ไปตามลักษณะการศึกษาที่ไดรับ ในทุกสังคมจะตองมีอาชีพตําแหนง หนาที่การงานหรือบทบาทตางๆ มากมาย ซ่ึงแตละบทบาทสังคมจะประเมินคาหรือใหส่ิงตอบ แทนไมเหมือนกัน บางอาชีพหรือตําแหนงหนาที่ก็ถือวามีสถานภาพสูง ตรงขามกับตําแหนง หนาท่ีหรืออาชีพอ่ืน ซึ่งมีสถานภาพตํ่าในสังคมปจจุบัน การศึกษาจะชวยตัดสินวาใครมีอาชีพ ตําแหนงหนาท่ีอะไรสูงตํ่ากวากันอยางไร ในแงนี้การศึกษาจึงสงเสริมระบบความเหล่ือมล้ําใน สังคม คนท่ีมีการศึกษาสูงก็จะมีโอกาสไดรับตําแหนงหนาที่การงานพรอมดวยสิทธิตางๆ สูง อยางไรก็ดี การศึกษาเองก็มีสวนชวยใหคนเกิดมาในครอบครัวที่มีฐานะต่ํา ไดมีโอกาสยก ฐานะของตัวเองในสงั คมใหส งู ข้ึน สังคมปจ จบุ ันมีแนวโนมใชค วามสมั ฤทธิผลทางการศึกษาของ บุคคลเปนเกณฑใหสถานภาพ หรือตําแหนงหนาที่แกบุคคลมากกวาหลักเกณฑอยางอื่น เชน ฐานะเดิมของครอบครวั เพศ อายุ หรอื เชื้อชาติ 3. การถายทอดวัฒนธรรม การถายทอดวัฒนธรรม คือ การสอนใหคนรุน หลังรูถึงระบบสัญลักษณของสังคม ซึ่งไดเคยมีการตกลงกันไววาประกอบดวยอะไรบาง หรือ กลาวอีกนัยหน่ึงไดวา การถายทอดวัฒนธรรม หมายถึง การถายทอดแบบแผนความ ประพฤติปฏิบัติ เทคโนโลยี วิชาการ ตลอดจนแนวความคิดตางๆ ซ่ึงสมาชิกในสังคมตกลง ยอมรับ และกําหนดหลักใหญรวมกัน สังคมแตละสังคมจึงมีการถายทอดวัฒนธรรมโดยอาศัย การศึกษาเปนเครื่องมือสําคัญที่จะทําใหสังคมอยูรอด เพราะลําพังเพียงแตใหมีประชากรเพิ่ม มีการสืบทอดวงศตระกูลเทานั้น ทางสังคมวิทยาถือวายังไมเพียงพอใหสังคมปจจุบัน สังคม อาศยั โรงเรยี น วทิ ยาลยั และมหาวิทยาลัย เปน เคร่ืองมือสาํ คัญทําหนาที่ใหการศึกษาเกี่ยวกับ วฒั นธรรม คานยิ ม และศลิ ปวฒั นธรรมตา งๆ อนั เปนมรดกของสังคมแกนกั เรียน 4. กําหนดความสามารถเฉพาะทาง ฐานะท่ีการศึกษาเปนสถาบันสังคมท่ีมุง ใหการอบรมเฉพาะดานแกสมาชิกในสังคม โดยแยกออกมาจากสถาบันครอบครัว สถาบัน

241 ศาสนา เปนตน ในสถาบันการศึกษานี้เองที่ทําใหสมาชิกของสังคมไดมีโอกาสเรียนรูวาตนเอง มีความสามารถทางใด ตามอุดมคติแลว สถาบันการศึกษาควรจะเปดโอกาสใหนักเรียนได ฝกฝนและพัฒนาตนเองไปตามแนวทางที่เขาถนัดและสนใจมากท่ีสุด แตในชีวิตจริงแลวบุคคล มักจะมีขอจํากัดดวยเหตุหลายประการ โดยเฉพาะประเทศที่ดอยพัฒนาหรือกําลังพัฒนา ปจจัยทางเศรษฐกิจนับเปนปจจัยที่สําคัญปจจัยหน่ึงนอกเหนือจากปจจัยอื่นๆ เชน อาชีพมีให เลอื กไมม ากนกั และมกั จะมีการแขง ขันกันสงู 5. บทบาทในการนําการเปลี่ยนแปลง หนาท่ีของสถาบันการศึกษาขอน้ี คือ หนาท่ีในการที่จะนําการเปล่ียนแปลงมาสูสังคม หรือปรับปรุงสังคมใหดีข้ึน หนาที่น้ีเปนหนาที่ สําคัญ โดยเฉพาะในสังคมที่กําลังมีการเปล่ียนแปลงหรือสังคมที่กําลังพัฒนา โรงเรียนเปน ความหวังสําคัญในการสรางคนรุนใหม พอแมสวนใหญมักจะไมมีความรูความเขาใจพอใน ปญหาและความตองการของโลกสมัยใหม การสรางคนรุนใหมจึงตกเปนหนาท่ีของครูท่ีถือวา เปน กลมุ คนสมัยใหม โดยเฉพาะในสงั คมชนบท การเรียนในโรงเรียนเปดโอกาสใหเด็กไดเขาสู โลกสมัยใหม ไดเรียนรูการปฏิบัติและระเบียบกฎเกณฑที่ตางไปจากที่ตนเคยชินในครอบครัว คุณคา หรอื คา นยิ มใหมท่จี ะปลกู ฝงใหเด็กรุนใหมน ้ี โรงเรยี นมีโอกาสดีที่สดุ ทจ่ี ะใหการศึกษาและ เปดโอกาสใหไดมีการแกไขขอบกพรองในส่ิงที่เคยไดรับการอบรมสั่งสอนมาผิดๆ เชน การ ขาดระเบยี บวนิ ัย นสิ ยั เจายศเจา อยาง การไมฟงความคดิ เห็นของคนอื่น การหลงในความสําคัญ ของตนเอง การไมร จู ักการทาํ งานรวมเปนกลมุ และการขาดความรับผิดชอบตอสังคม เปนตน โรงเรียนจะมีหนาท่ีเปนผูนําบทบาทในการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ได เชน การที่ครูปฏิบัติตอ นักเรียนทุกคนโดยใชหลักเกณฑอยางเดียวกัน (Universalism) แทนที่จะเลือกที่รักมักที่ชังกับ นักเรียนเปนบางคน โดยคํานึงถึงความสัมพันธท่ีมีตอกันเปนสวนตัว (Particularism) เปน ตัวอยางใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการปฏิบัติตามกฎเกณฑเหนือการคํานึงถึงเร่ืองสวนตัว การที่ครูเขมงวดกับความสะอาด ความเปนระเบียบ การรูจักหนาที่ การรูจักชวยตัวเอง และ ผูอื่น การตรงตอเวลา การรูจักแสดงความคิดเห็น เหลานี้ยอมมีผลเปนการสรางนิสัยท่ีดีในตัว เด็กหรือการสอนทักษะในการทํางานรวมกันเปนกลุมโรงเรียน อาจทําไดดวยการสงเสริม กิจกรรมนอกหลกั สตู ร โดยใหน ักเรยี นดําเนนิ การกันเอง ภายใตความควบคุมหา งๆ ของครู