, ELECTRONIC BOOKS E-BOOK รายวิชาเพิ่ มเติม CHAROEN เรื่อง เจริญกรุงในยุคโลกาภิวัฒน์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 KRUNG กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและ วิวัฒน์ วัฒนธรรม โรงเรียนวัดสุทธิวราราม
คำนำ E-BOOK เล่มนี้จัดสร้างขึ้นในรายวิชาเพิ่ มเติม เจริญกรุง วิวัฒน์ เรื่อง เจริญกรุงในยุคโลกาภิวัฒน์ เป็นการศึกษา พั ฒนาการด้านเศรษฐกิจ ชุมชน สังคมในย่านเจริญกรุง เพื่ อให้ผู้ เรียนเห็นการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ที่แสดงให้เห็น การเปลี่ยนแปลงและการพั ฒนาที่สำคัญบริเวณชุมชนย่าน เจริญกรุง เพื่ อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพั ฒนา การ เปลี่ยนแปลงย่านเจริญกรุง เพื่ อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวการ เปลี่ยนแปลงของจริญกรุง ยอมรับในความหลากหลาย เห็น คุณค่าในความแตกต่าง และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เห็นแก่ ประโยชน์ส่วนรวม ยอมรับในการปฏิบัติตามกติกา และกฎเกณฑ์ ของสังคม และมีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองโลก เพื่ อให้อยู่ ได้ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทั้งนี้ด้วยเนื้อหาที่มีจำนวนมากผู้จัดทำจึงได้ทำ E-BOOK เพื่ อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลาโดยไม่จำกัดในชั้น เรียน วิภาลัย ยารัมย์ ผู้จัดทำ
สารบัญ หน้า เรื่อง 1 1. ประวัติเจริญกรุง 2. เจริญกรุงที่เปลี่ยนไป 3. JOURNEY CHAROENKRUNG GAME 4. วิธีการทางประวัติศาสตร์ 5. Google Drive สำหรับเก็บข้อมูล 6. คาดการณ์เจริญกรุงในอนาคตผ่าน canva 7. ออกแบบนวัตกรรมเสริมสร้างเจริญกรุง 8. ตอบคำถามผ่านกิจกรรม LIVEWORK SHERT 9. ช่องทางติดต่อครูผู้สอน
JOURNEY A travel and international culture magazine CHAROENKRUNG | BANGKOK TRAVELS TO CHAROENKRUNG AND SHARES YOUR EXPERIENCE AND STORIES OF HAPPINESS
01 FEATURED STORY WORLDTHE EDGE OF THE
02 PACKING UP FOR THE WORLD BY SUPAWADEE THONGSUK \" ผู้ ค น ใ น ส มั ย นั้ น ใ ค ร เ ห็ น ก็ ว่ า ก ว้ า ง ม า ก มี คำ เ ล่ า ว่ า ท่ า น ผู้ ใ ห ญ่ ที่ ไ ป ดู ก า ร ทำ ถ น น เ จ ริ ญ ก รุ ง ถ น น บำ รุ ง เ มื อ ง ยั ง บ่ น ว่ า ถ น น โ ต อ ย่ า ง นี้ จ ะ เ อ า ใ ค ร ม า เ ดิ น ” ที่มาจากหนังสือเล่าเรื่องบางกอก ส.พลายน้อย จากคำพู ดของผู้คนในสมัยรัชกาลที่ 4 ภายหลังจากการสร้างเสร็จ ของถนนเจริญกรุง หรือ NEWROAD ถนนสายแรกของประเทศไทยที่ นับว่าเป็นถนน ที่สร้างตามแบบตะวันตก มีความสากล ทันสมัยและ ศิวิไลซ์เหนือกาลเวลา หนังสือ E-book เล่มนี้จะพู ดถึงเรื่องราวความ เป็นมาผ่านการท่องเที่ยวไปพร้อมกับเรา :)
03 JOURNEY what's inside 04 05 06 08-09 แรกเริ่มที่ เจริญกรุง ค ว า ม ศิ วิ ไ ล ซ์ เยาวราช เจริญกรุง บำรุงเมือง เฟื่ องนคร 10 11 12 13 พาหุรัด สำเพ็ง ตลาดน้อย ไปรษณีย์กลาง 14-16 17 กิ น ไ ห น ดี บรรณานุกรม
04 แรกเริ่มที่เจริญกรุง เ จ ริ ญ ก รุ ง i N E W R O A D ที่มา www.gutenberg.org ที่มา ภาพจากหนังสือ Siam (1913) โดย Walter Armstrong Graham ตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ทรงย้ายราชธานีมาสร้าง ที่มา entertainmentblogpictures.blogspot.com กรุงเทพฯ บ้านเมืองก็มีวิวัฒนาการเรื่อยมาเริ่ม ต่ อ เ ติ ม ส ร้ า ง ถ น น ห ล า ย จุ ด ใ น แ ต่ ล ะ รั ช ส มั ย จ น ม า ถึ ง ถนนเจริญกรุงเป็นถนนที่ ช่วงรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นช่วงที่บ้านเมืองถูกพั ฒนา พระบาทสมเด็จ ในหลายด้าน และเป็นที่รู้กันว่า ถนนเจริญกรุง พระจอมเกล้าเจ้า-อยู่หัว ใ น เ ว ล า นั้ น เ ป็ น ถ น น ที่ ทั น ส มั ย โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2404 หมุดหมายที่ยิ่งใหญ่ของการชะลอเมืองจากน้ำขึ้นสู่ แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2407 มี บกคือการตัดถนนแบบตะวันตกสายแรกของไทยใน ความยาวจาก ถนนสนามไชย สมัยรัชกาลที่ 4 มูลเหตุของการของการตัดถนนดัง ถึงดาวคะนอง 8,575 กล่าวปรากฏในจดหมายเหตุเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ว่า เมตร. การก่อสร้างถนน “ชาวยุโรปเคยขี่รถ ขี่ม้าเที่ยวตากอากาศได้ความสบาย เจริญกรุงนั้นเนื่องจากในรัช ไม่มีเจ็บไข้ เข้ามาอยู่ที่กรุงเทพพระมหานคร ไม่มีถนน สมัยพระบาทสมเด็จ หนทางที่จะขี่รถขี่ม้าพากันเจ็บไข้เนืองๆ ได้ทรงทราบ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีชาว หนังสือแล้ว ทรงพระราชดำริเห็นว่า พวกยุโรปเข้ามา ต่างประเทศเข้ามาอยู่ใน อยู่ในกรุงมากันทุกปีๆ ด้วยประเทศบ้านเมืองเขามีถนน กรุงเทพฯ มากขึ้น และมีพวก หนทางก็เรียบรื่นสะอาดไปทุกบ้านทุกเมือง บ้านเมือง กงสุล ได้เข้าชื่อกันขอให้ ของเรามีแต่รกเรี้ยว หนทางก็เป็นตรอกเล็กตรอกน้อย สร้างถนนสายยาวสำหรับขี่ม้า ซอยเล็ก หนทางใหญ่ก็เปรอะเปื้ อนไม่เป็นที่เจริญตา ขายหน้าแก่ชาวนานาประเทศ”
05 JOURNEY CHAROENKRUNG เจริญกรุง I บำรุงเมือง I เฟื่ องนคร \"ถนนเจริญกรุง\" ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่นเดียวกับ ชื่ อถนนบำรุงเมืองและถนนเฟื่ องนคร ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในคราวเดียวกัน ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยา บรมมหาศรีสุริยวงศ์ ที่สมุหพระกลาโหม เป็นแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราช รองเมือง เป็นนายงานรับผิดชอบในการ ก่ อ ส ร้ า ง ถ น น ช่ ว ง ตั้ ง แ ต่ คู เ มื อ ง ชั้ น ใ น ถึ ง ถนนตก ริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบล บางคอแหลม ที่มา https://th.wikipedia.org เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ที่มา https://pantip.com/topic/34462437 ที่มา https://pantip.com/topic/34462437 รถรางที่จอดบริเวณถนนตก ถนนตก จุดสิ้นสุดของถนนเจริญกรุง ถนนตกเพราะตกที่แม่น้ำเจ้าพระยา
06 ค ว า ม ศิ วิ ไ ล ซ์ ตึ ก แ ถ ว ร ถ ร า ง ต า ม อ ย่ า ง สิ ง ค โ ป ร ที่มา teakdoor.com ถ น น เ จ ริ ญ ก รุ ง ส มั ย แ ร ก ส ร้ า ง มีขนาดกว้าง 4 วา ส.พลายน้อย บันทึกไว้อย่างน่าสนใจว่า “ผู้คน ใ น ส มั ย นั้ น ใ ค ร เ ห็ น ก็ ว่ า ก ว้ า ง ม า ก ” คำ ซุ บ ซิ บ ดั ง ก ล่ า ว จ ะ ถึ ง พ ร ะ เ น ต ร พระกรรณในหลวงรัชกาลที่ 4 ด้วย ท ร ง พ ร ะ ร า ช นิ พ น ธ์ พ ร ะ ร า ช ป ร า ร ภ เรื่องถนนเจริญกรุง ความตอนหนึ่ง ท ร ง ชี้ แ จ ง ป ร ะ เ ด็ น เ รื่ อ ง ค ว า ม ก ว้ า ง ข อ ง ถ น น ด้ ว ย ส า ย พ ร ะ เ น ต ร อั น ย า ว ไกล ไว้ว่า “ถ้าจะทำแต่แคบๆ พอคน เดินก็จะดี แต่ซึ่งทำใหญ่ไว้นี้ ก็เผื่อไว้ ว่ า เ มื่ อ น า น ไ ป ภ า ย น่ า บ้ า น เ มื อ ง ส ม บู ร ณ์ ทีผู้คนมากมายขึ้น รถแลม้าแลคนเดิน จะได้คล่องแคล่วจึ่งทำ ให้ใหญ่ไว้” นั บ ว่ า ถ น น เ จ ริ ญ ก รุ ง เ ป็ น ก า ร ว า ง รากฐานให้ กับความเจริญของกรุง โดยแท้ เและยังเป็นแบบอย่างให้กับ ถนนสายอื่นๆ สมัยต่อ ๆ มาในรัชสมัย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า - อยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทั้งรัฐบาลและ เอกชนได้ร่วมกันตัดถนนเพื่ อ ประโยชน์ทั้งการสัญจร และการ พาณิชย์อีกจำนวนถึง 110 สาย เ มื่ อ มี ถ น น ห น ท า ง เ รี ย บ ร้ อ ย ง ด ง า ม ที่มา ภาพถนนเจริญกรุงในอดีต via: เมืองไทยในอดีต แล้ว การตั้งรกรากบนบกจึงเกิดขึ้นด้วย การสร้างตึกแถว โดยได้แบบอย่างจาก “ ถ้ า จ ะ ทำ แ ต่ แ ค บ ๆ พ อ ค น เ ดิ น ก็ จ ะ ดี เมืองสิงคโปร์ สิ่งที่ตามมาต่อจาก แ ต่ ซึ่ ง ทำ ใ ห ญ่ ไ ว้ นี้ ก็ เ ผื่ อ ไ ว้ ว่ า เ มื่ อ น า น ตึกแถวคือประทีปโคมไฟ ปี 2427 มีการ ตั้งบริษัทไฟฟ้าสยามเป็นครั้งแรก จีงมี ไ ป ภ า ย น่ า บ้ า น เ มื อ ง ส ม บู ร ณ์ ที ผู้ ค น ไ ฟ ต า ม ท้ อ ง ถ น น ม า ก ม า ย ขึ้ น ร ถ แ ล ม้ า แ ล ค น เ ดิ น จ ะ ไ ด้ ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว จึ่ ง ทำ ใ ห้ ใ ห ญ่ ไ ว้ ”
07 THE BUCKET LIST FAPVLOA UCREITE CHAROENKRUNG สถานที่ท่องเที่ยวบนถนนสายที่เป็นจุดเริ่มต้นของ ย่านการค้าขายของชาวจีน เนื่องจากถนนเจริญกรุง ฝั่ งใกล้ถนนสนามไชย เป็นเส้นที่คู่ขนานกับชุมชน เยาวราช ชุมชนใหญ่ของชาวจีนที่ย้ายถิ่นฐานจาก ประเทศจีนมาอยู่อาศัยในเมืองไทย
08 PAGE 2 | BACKPACK เยาวราช CHINATOWN ไชน่าทาวน์ ชุมชนจีนนอก ป ร ะ เ ท ศ จี น ที่ ใ ห ญ่ ที่ สุ ด แ ห่ ง ห นึ่ ง ของโลก ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2325 พร้อมกับการสถาปนา กรุงรัตนโกสินทร์ในสมัยรัชกาลที่ 1 โดยชาวจีนแต้จิ๋ว ที่เดิมตั้งถิ่นฐาน อ ยู่ แ ถ ว พ ร ะ บ ร ม ม ห า ร า ช วั ง เ ดิ ม เ มื่ อ มี ก า ร ส ร้ า ง พ ร ะ บ ร ม ม ห า ร า ช วั ง จึงให้ชาวจีนย้ายไปยังสำเพ็ ง ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด เ ป็ น ชุ ม ช น จี น เ กิ ด ที่ นี่ แ ล ะ ยั ง ก ล า ย เ ป็ น แ ห ล่ ง ก า ร ค้ า ข า ย สิ น ค้ า จ า ก จี น เ ย า ว ร า ช ไ ด้ รั บ ก า ร ก ล่ า ว ข า น แ ล ะ ขนานนามว่าเป็น \" ถนนมังกร \" โ ด ย มี จุ ด เ ริ่ ม ต้ น ข อ ง หั ว มั ง ก ร ที่ ซุ้ ม ประตูเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บริเวณวงเวียนโอเดียน ท้องมังกร อ ยู่ ที่ บ ริ เ ว ณ ต ล า ด เ ก่ า เ ย า ว ร า ช แ ล ะ สิ้ น สุ ด ป ล า ย ห า ง มั ง ก ร ที่ บ ริ เ ว ณ ปลายสุดของถนนเพื่ อให้เยาวราช ก ล า ย เ ป็ น ส ถ า น ที่ สำ ห รั บ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ค้ า ข า ย ธุ ร กิ จ ที่ โ ด ด เ ด่ น ที่ สุ ด ใ น ย่ า น เ ย า ว ร า ช คือ ร้านขายทอง หรือนิยมเรียกกันว่า ห้างทอง ซึ่งมีตลอดแนวถนนเยาวราช จ น ทำ ใ ห้ เ ย า ว ร า ช ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เ ป็ น “ถนนสายทองคำ”
09 เยาวราช มีความหมายว่า พ ร ะ ร า ช า ที่ ท ร ง พ ร ะ เ ย า ว์ ห ม า ย ถึ ง รั ช ก า ล ที่ 5 ที่ ขึ้ น ค ร อ ง ร า ช ย์ เ มื่ อ มี พ ร ะ ช น ม า ยุ เ พี ย ง 1 5 พ ร ร ษ า เ ย า ว ร า ช ไ น ท์ ไ ล ฟ์ YAOWARAT STREET FOOD ใ น อ ดี ต ย่ า น เ ย า ว ร า ช ยั ง เ ป็ น แ ห ล่ ง ร ว บ ร ว ม ความบันเทิงต่างๆ เช่น โรงภาพยนตร์และโรงงิ้ว จำนวนมาก มีอาคาร 7 ชั้น ซึ่งเป็นอาคารที่สูง ที่สุดของประเทศไทยในเวลานั้นด้วย สะท้อนให้ เห็นภาพความรุ่งเรืองของพื้ นที่แห่งนี้ ช่วงเย็นจนถึงค่ำคืน จะเป็นร้านอาหารใน แ บ บ ส ต รี ท ฟู้ด มี ร้ า น อ า ห า ร ริ ม ข้ า ง ท า ง เ รี ย ง ร า ย ตลอดสองฝั่ งถนน ซึ่งแต่ละร้านล้วนมีชื่อเสียง ไม่ว่าจะเป็น ก๋วยเตี๋ยว,หมูสะเต๊ะ,หอยทอด, ก๋วยจั๊บ,อาหารทะเล เป็นต้น ที่มา https://www.vintag.es/2016/07/bangkok-in-1950s
\"Little India\" 10 พาหุรัด ถือเป็นย่านตลาดผ้าที่เก่าแก่ที่สุด ที่มา https://www.wongnai.com/trips/story-of-pahurat ของไทยในเขตพระนคร และมีชื่อเสียงว่าเป็น พื้ นที่แห่งสีสัน (ของผ้า) ที่สามารถสะท้อน วิ ถี ชี วิ ต ค น อิ น เ ดี ย ห รื อ ช า ว ภ า ร ต ะ ไ ด้ ชั ด เ จ น ที่ สุ ด ที่มาที่ไปของบังขายผ้า พาหุรัดเคยเป็นย่าน เก่าแก่ของคนญวนเมื่อ 130 ปีก่อน เกิดเพลิง ไหม้บ้านญวนหลายหลัง จึงเกิดพื้ นที่ว่างยาว 525 เมตร ย่านเศรษฐกิจขาดสะบั้นชาวญวน ได้ย้ายหนีออกไป แต่ทันทีที่ถนนพาหุรัดถูก สร้างขึ้น เส้นทางที่เหมาะกับการค้าขายและเดิน ทางขนส่งง่าย ตึกสองแถวถูกปรับปรุงขึ้นใหม่ ก็ทำให้มีคนจากทางตอนเหนือของอินเดียใน รัฐปัญจาบจำนวนมาก เข้ามาจับจองอาคาร หาบเร่ขายของตั้งแผงลอยกันอยู่ที่นี่
ที่มา https://www.wongnai.com/trips/story-of-sampheng ส า ม เ พ็ ง “อยากได้อะไรให้ไปสำเพ็ง” ที่มา https://www.silpa-mag.com/culture/article_26449 สำเพ็ง หรือปัจจุบันรู้จักกันดีในชื่ออย่าง เป็นทางการว่า ซอยวานิช 1 เป็นย่านการค้า ย่านสำเพ็ งที่โด่งดังในอดีตยังเป็นย่าน สำคัญแห่งหนึ่ง ย้อนไปครั้งรัชกาลที่ 1 แห่ง ที่มีชื่อเสียงในด้านโลกียสำราญ มีทั้ง ราชวงศ์ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้น โรงโสเภณี บ่อนพนัน คำว่า “สำเพ็ ง” จึงเป็น เป็นราชธานี ที่ตั้งของชุมชนชาวจีน โดย คำ ด่ า ที่ ห ม า ย ถึ ง ผู้ ห ญิ ง ที่ ค้ า ข า ย ท า ง โ ล กี ย์ เฉพาะบริเวณท่าเตียน จึงให้ย้ายชุมชนชาวจีน ย้ายออกไปตั้งถิ่นฐานใหม่ในที่สวนนอกประตู พระนคร ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ขนานไป กับลำน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่ คลองวัดสามปลื้ม (วัดจักรวรรดิราชาวาส) ไปจนถึงคลองวัด สามเพ็ ง ชาวจีนตั้งหลักใหม่ สร้างชุมชนและย่าน การค้าจนรุ่งเรือง จัดเป็นตลาดบกที่ใหญ่ ที่สุด ในพระนคร สินค้าที่นำมาจำหน่ายมี มากมายหลายประเภท เช่น เครื่องกระดาษ ของไหว้เจ้า อาหารแห้ง ปลาเค็ม ฯลฯ จนต่างชาติกล่าวขานว่า \"Chinese Bazaar\" ชื่อ “สำเพ็ ง” บ้างว่าเพี้ ยนมาจาก “สามเพ็ ง” บ้างว่ามาจาก “สามแผ่น” 29 venture “สามแพร่ง” หรือ “ลำเพ็ ง” เนื่องด้วยคน ที่มา https://www.wongnai.com/trips/story-of-sampheng จีนอาศัยอยู่จำนวนมาก อาจทำให้สำเนียง เพี้ ยนไปจากเดิม 11
ที่มา https://www.wongnai.com/trips/story-of-taladnoi ตลาดน้ อย ต ล า ด น้ อ ย มี ช า ว จี น อ ยู่ ม า ก ม า ย ตลาดไม่มาก หลายเชื้อสาย แต่ที่เห็นว่าเยอะที่สุด ก็ ค ง จ ะ เ ป็ น ค น จี น เ ชื้ อ ส า ย ฮ ก เ กี้ ย น \"ตลาดน้อย\" หรือ \"ตะลัคเกียะ\" ที่เที่ยว ที่ อ า ศั ย อ ยู่ ใ น ต ล า ด น้ อ ย กั น อ ย่ า ง ในตำนานย่านถนนเจริญกรุง ที่เต็มไปด้วย เหนียวแน่น หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า เรื่องเล่าของ \"วัฒนธรรมจีนดั้งเดิม\" ชาวจีนเชื้อสายฮกเกี้ยน เป็นประชากร ที่ มี อ ยู่ เ ย อ ะ ที่ สุ ด ใ น ชุ ม ช น ต ล า ด น้ อ ย ครั้งหนึ่งประมาณ 300 ปีก่อน ในช่วง ก็ ค ง จ ะ เ ป็ น ศ า ล เ จ้ า ข น า ด ใ ห ญ่ ที่ ตั้ ง อ ยู่ รัตนโกสินทร์ตอนต้น \"ตลาดน้อย\" เคยเป็น กลางชุมชนอย่าง \"ศาลเจ้าโจวซือกง\". ศู น ย์ ก ล า ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ก รุ ง เ ท พ ฯ คนในพื้ นที่ถูกแยกมาจากย่านกุฎีจีน ที่อพยพ ปั จ จุ บั น ต ล า ด น้ อ ย ยั ง เ ป็ น แ ห ล่ ง มากับเรือสำเภา ตอนนั้นจำนวนผู้คนก็ยังไม่ สตรีทอาร์ทของกรุงเทพฯ ที่มักจะจัด มากนัก แต่ความเฟื่ องฟู ของย่านสำเพ็ ง และ นิทรรศการศิลปะต่าง ๆ ไว้ที่นี่อีกด้วย เยาวราชที่ต่อมาธุรกิจเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ จน กลายเป็นศูนย์กลางการค้า ก็ทำให้ชาวจีน 12 ต่ า ง เ ข้ า ม า ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ค้ า ข า ย
13 ด่วนจี๋ไปรษณีย์จ๋า ไ ป ร ษ ณี ย์ ก ล า ง ที่มา https://readthecloud.co/grand-postal-office/ ย้อนไปเมื่อครั้งรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณา ที่มา https://readthecloud.co/grand-postal-office/ โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกรมไปรษณีย์ (ไปรสนีย์) ขึ้นในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2426 เพื่อ ประโยชน์ด้านการติดต่อสื่อสาร และเป็นการ ประกาศเกียรติภูมิของประเทศให้ทัดเทียมกับ อารยประเทศในขณะนั้น โดยทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมหลวงภาณุ พันธุวงศ์วรเดช ดำรงตำแหน่งอธิบดีสำเร็จ ราชการ ‘กรมไปรสนีย์แลโทรเลข’ เป็น พระองค์แรก ส่วนตึกที่ว่าการฯ เรียกกันว่า ‘ไปรสนียาคาร’ คือตึกใหญ่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา เหนือปากคลองโอ่งอ่าง ซึ่งเดิมเป็นเรือน ของพระปรีชากลการ การไปรณีย์ไทยนั้นได้รับความนิยมมาก มีการย้ายอีกครั้งหนึ่ง จนกระทั่งต้องสร้าง อาคารหลังปัจจุบันที่บางรัก อาคารไปรษณีย์ กลางแห่งนี้ก่อสร้างเป็นทรงกล่องสี่เหลี่ยม เรียบเกลี้ยงรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ (Modern Architecture) แนวนีโอคลาสสิก (Neo-Classic) อันเป็นที่นิยมในตะวันตก ลดทอนการประดับประดาและความประณีต ของสถาปัตยกรรมของไทยที่เคยมีมา งบประมาณการก่อสร้างรวมตกแต่งทั้ง สิ้นมากถึง 976,967 บาท “ในคำกล่าว รายงานกับประธานในวันเปิดอาคารเขียนว่า รัฐบาลอนุมัติเงินจำนวนมหาศาลเพื่ อสร้าง อาคารอันมโหฬารในรูปแบบสมัยใหม่” อาคารไปรษณีย์กลางแห่งใหม่จัดพิ ธีเปิด อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 พร้อมกับสถานที่ราชการอีก หลายแห่งที่เปิดในวันเดียวกัน เพราะ ถื อ เ ป็ น วั น ช า ติ ใ น ข ณ ะ นั้ น
14 EATRYWHERE กิ น ไ ห น ดี ร้านเฟิงจู-หมูเจริญ Feng Zhu เกี๊ยวซ่าหน้าเปิด ตรงข้าม naraya shop - river city 2 ซอย เจริญกรุง 24 ร้าน ออน ล็อค หยุ่น 72 ถนน เจริญกรุง แขวง วังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร
15 EATRYWHERE กิ น ไ ห น ดี ร้านเจ๊บ๊วยสะพานหัน ข้าวบ๊ะเต็ง 22 ซอย วานิช 1 ร้านฮุ่นกวง Hoon Kuang ราดหน้าขึ้นเหลา ปากซอย เยาวราช 4
16 EATRYWHERE กิ น ไ ห น ดี ร้าน Takoya klomkik ซอย เจริญกรุง 20 แขวง ตลาดน้อย ร้าน Mother roaster ตรอก ศาลเจ้าโรงเกือก แขวง ตลาดน้อย
17 บ ร ร ณ า นุ ก ร ม Issue 27 | 234 1.บุบผา คุมมานนท์. “‘สำเพ็ง’ ศูนย์การค้าแห่งแรกของ กรุงรัตนโกสินทร์,” ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 3 ฉบับที่ 6, เมษายน 2525. 2.ปิยนาถ บุนนาค. “สำเพ็ง : ประวัติศาสตร์ชุมชนชาวจีนใน กรุงเทพมหานคร”. สำเพ็ง ประวัติศาสตร์ชุมชนชาวจีนใน กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559 3.ส.พลายน้อย. เล่าเรื่องบางกอก (ฉบับสมบูรณ์). พิมพ์ ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพ์คำสำนักพิมพ์, 2555 4.สันต์ สุวรรณประทีป. “ลำเลิกอดีต,” ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 3 ฉบับที่ 5, มีนาคม 2525. 5.ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. ชื่อบ้านนามเมืองในกรุงเทพฯ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : มติชน, 2551 6.เชิญพร คงมา.//(2562).//ไปรษณีย์กลาง ณ บางรัก.// สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2564,/ จาก/https://readthecloud.co/grand-postal- office/ 7.น้าชาติ ประชาชื่น.//(2562).//สำเพ็ง.//สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2564,/ จาก/https://www.khaosod.co.th/lifestyle/news_ 3010179 8.นักรอบ มูลมานัส.//(2561).//กรุงเทพฯ ราตรี//สืบค้น เมื่อ 14 เมษายน 2564,/ จาก/https://readthecloud.co/notenation-4/ 9.Anya Supasakon.//(2563).//เยือนบ้านเก่า \"ชุมชน ตลาดน้อย\" ย้อนรอยวัฒนธรรมจีน 300 ปี ที่ไม่เลือน หาย.//สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2564,/ จาก/https://www.wongnai.com/trips/story-of- taladnoi 10.Anya Supasakon.//(2563).//เยือนย่าน \"พาหุรัด\" Little India ในถิ่นไทย วัฒนธรรมอินเดียที่ไร้ พรมแดน.//สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2564,/ จาก/https://www.wongnai.com/trips/story-of- pahurat 11. ddproperty.//(2562).//รู้จักย่านเยาวราชแบบเจาะ ลึก.//สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2564,/ จาก/https://www.ddproperty.com/aareainsider /เยาวราช/article/รู้จักย่านเยาวราชแบบเจาะลึก-7536 12. ddproperty./(2562).//รู้จักย่านเจริญกรุงแบบเจาะ ลึก//สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2564,/ จาก/https://www.ddproperty.com/areainsider 13.บีม\" ชื่อนี้กินเก่ง.//(2563).//สำเพ็ง ย่านการค้าสุดฮิต ของกรุงรัตนโกสินทร์ ที่มีตำนานมากกว่าการค้าขาย.// สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2564,/ จาก/https://www.wongnai.com/trips/story-of- sampheng
18 Travel Story THANK YOU E BOOK โดย นางสาวสุภาวดี ทองสุข 6317500004 ปริญญาโท ภาวะผู้นำและนวัตกรรมการบริการศึกษา ปีที่ 1
18 เจริญกรุงที่เปลี่ยนไป https://qrco.de/bcYFQ9 https://bit.ly/3kz08qq https://bit.ly/3carKh4 https://bit.ly/30ihhNV https://bit.ly/30juoOA https://bit.ly/30f6ZOq กดคลิ๊กที่ลิงก์เพื่ อศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
19 JOURNEY CHAROENKRUNG GAME https://app.quizwhizzer.com/play? code=22086
20 วิ ธี ก า ร ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ขั้นตอนการทำกิจกรรมโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ 01.กำหนดประเด็นปัญหา เรื่องที่จะศึกษา 0 2 . ก า ร สื บ ค้ น ร ว บ ร ว ม แ ล ะ จั ด ร ะ บ บ ห ลั ก ฐ า น ห รื อ ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ 0 3 . ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ วิ พ า ก ษ์ แ ล ะ ตี ค ว า ม ห ลั ก ฐ า น 0 4 . ก า ร สั ง เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ผู ก เ รื่ อ ง จ า ก ห ลั ก ฐ า น 0 5 . ก า ร นำ เ ส น อ แหล่งที่มา : ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
21 สมุดลงพื้นที่ เก็บงานไว้ที่ Google Drive นักเรียนแต่ละกลุ่มเก็บข้อมูลต่าง ๆ และสร้าง ไฟล์งาน ไว้ในโฟลเดอร์ของกลุ่มตนเอง https://bit.ly/3wHvShT
22 คาดการณ์อนาคตเจริญกรุง ผ่าน App canva คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำโปสเตอร์นำเสนอการเปลี่ยนแปลงใน อนาคตที่จะเกิดในย่านเจริญกรุง พร้อมออกมานำเสนอ https://bit.ly/3qFbAop สแกน QR CORD เพื่อทำงาน ผ่าน App canva
23 ออกแบบนวัตกรรม เสริมสร้างเจริญกรุง ผ่าน App canva คำอธิบายการทำงาน : หลังจากที่นักเรียนลงพื้นที่สำรวจชุมชนพร้อมสรุป วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น นักเรียนมีแนวคิดใดที่จะช่วยเหลือ คนในชุมชนหรือสังคมย่านเจริญกรุง โดยให้นักเรียนทำกิจกรรมนี้แแบบกลุ่ม ตามที่ได้สร้างขึ้น ให้นักเรียนสแกนและร่วมกันจัดทำ โดยดูหัวข้อตามที่ครูระบุ ตัวอย่างงาน คุณยายน้อย ขายทุกอย่าง ร้านขายชองช่ำมีทุกอย่าง สินค้าราคาย่อมเยา อุดหนุนสินค้าชุมชน สนใจแอดไลน์ บริการส่งฟรีในชุมชน เบอร์โทร : 0890000008 สแกน QR CORD เพื่อทำงาน ผ่าน App canva แนวความคิด : เมื่อเข้าไปในชุมชนได้พบเห็นร้านค้าขายของชำที่มีผู้สูงอายุขาย กลุ่มเรามีความต้องการอยากให้ ร้านค้าของคุณยายเป็นที่รู้จัก เนื่องจากในชุมชนมีห้างและร้านสะดวกซื้อ ทำให้ผู้คนหันไปซื้อที่ร้านสะดวกมากขึ้น ผู้จัดทำจึงได้นำแนวคิดการทำแผ่นป้ายโฆษณา เพื่อให้ผู้คนรู้จักและสนใจร้านคุณยายมากขึ้น โดยการนำไปติดไว้ ในสถานที่ต่างๆ ในชุมชน หรือทำเป็นนามบัตรเพื่อแจกคนในชุมชนให่เข้าถึงร้านคุณยายมากขึ้น
24 ต อ บ คำ ถ า ม ผ่ า น กิ จ ก ร ร ม LIVEWORKSHEETH ให้นักเรียนเติมข้อความลงในช่องว่างให้ครบทุกข้อ https://bit.ly/3qAbiPt
https://line.me/ti/p/KOIzMjImmL 25 ช่องทางการติดต่อครูผู้สอน นักเรียน สแกน QR CORD ครูวิภาลัย ยารัมย์
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: