Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Programmable logic Control PLC

Programmable logic Control PLC

Published by puthtichai, 2021-03-21 16:33:04

Description: การเขียนโปรแกรมควบคุม PLC (Programmable Logic Controller) โปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรล คืออุปกรณ์ประเภทโซลิดสเตท (Solid State) ซึ่งเป็นตระกูลหนึ่งของคอมพิวเตอร์ โดยการนำวงจรรวม (Integrated Circuit : IC) มาประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์ควบคุมแทนที่อุปกรณ์จำพวกรีเลย์ หรือพวกแมกเนติกคอนแทรกเตอร์

Keywords: PLC

Search

Read the Text Version

E-BOOK หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ วชิ า การเขยี นโปรแกรมควบคมุ PLC จัดทำโดย นำยพทุ ธชิ ยั ไกรษร 62040348 นำยอำนันท์ นำครอด 62040350

การเขียนโปรแกรมควบคมุ PLC การเขียนโปรแกรมควบคุม PLC (Programmable Logic Controller) เพื่อให้มีความรู้สำหรับการ ประยกุ ต์ใชใ้ นงานอตุ สาหกรรม มเี น้อื หาในการเขียนโปรแกรมเบอ้ื งตน้ มดี ังนี้ 1. Programmable Logic Controller คือ 2. ภาษาในการเขยี นโปรแกรม 3. การเขยี นคำส่งั ให้สอดคลอ้ งตามวตั ถุประสงค์ 4. ประยุกต์และแกไ้ ขโปรแกรมใหส้ ามารถนำมาใชง้ านได้ 5. จดุ เดน่ ของการใชง้ าน PLC 1. Programmable Logic Controller คือ โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอลโทรลเลอร์ (Programmable logic Control : PLC) เป็นอุปกรณ์ควบคุมการ ทำงานของเครื่องจกั รหรือกระบวนการทำงานต่างๆ โดยภายในมี Microprocessor เป็นมันสมองสั่งการที่สำคัญ โดย ที่ตัว PLC จะมสี ว่ นทีเ่ ปน็ อินพุตและเอาต์พุตท่ีสามารถต่อออกไปใช้งานได้ทันที ตวั ตรวจวดั หรือสวิตช์ต่างๆ จะต่อเข้า กบั อนิ พุต ส่วนเอาตพ์ ตุ จะใช้ตอ่ ออกไปควบคุมการทำงานของอุปกรณห์ รือเคร่ืองจักรทเ่ี ปน็ เปา้ หมาย เราสามารถสร้าง วงจรหรือแบบของการควบคุมได้โดยการป้อนเป็นโปรแกรมคำสั่งเข้าไปใน PLC นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานร่วมกับ อุปกรณ์อื่น เช่น เครื่องอ่านบาร์โค๊ด (Barcode Reader) เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันนอกจากเครื่อง PLC จะใชง้ านแบบเดี่ยว (Stand alone) แลว้ ยงั สามารถตอ่ PLC หลายๆ ตวั เข้าด้วยกนั (Network) เพ่อื ควบคุมการ ทำงานของระบบให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นด้วยจะเห็นได้ว่าการใช้งาน PLC มีความยืดหยุ่นมาก ดังนั้นในโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ จงึ เปลย่ี นมาใช้ PLC มากขึน้ PLC เป็นอุปกรณ์ชนิดโซลิดสเตท (Solid State) ที่ทำงานแบบลอจิก (Logic Functions) การออกแบบการ ทำงานของ PLC จะคล้ายกบั หลกั การทำงานของคอมพวิ เตอร์ จากหลกั การพืน้ ฐานแลว้ PLC จะประกอบด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า Solid-State Digital Logic Elements เพื่อให้ทำงานและตัดสินใจแบบลอจิก PLC ใช้สำหรับควบคุม กระบวนการทำงานของเครือ่ งจักรและอุปกรณใ์ นโรงงานอตุ สาหกรรม การใช้ PLC สำหรับควบคุมเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ต่างๆ ในโรงงานอุตสาหกรรมจะมีข้อได้เปรียบกว่าการใช้ ระบบของรีเลย์ (Relay) ซึ่งจำเป็นจะต้องเดนิ สายไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า Hard - Wired ฉะนั้นเมื่อมีความจำเป็นที่ต้อง เปลี่ยนกระบวนการผลิต หรือลำดับการทำงานใหม่ ก็ต้องเดินสายไฟฟ้าใหม่ ซึ่งเสียเวลาและเสียค่าใช้จ่ายสงู แต่เม่ือ เปลี่ยนมาใช้ PLC แล้ว การเปลี่ยนกระบวนการผลิตหรือลำดับการทำงานใหม่นั้นทำได้โดยการเปลี่ยนโปรแกรมใหม่ เทา่ นัน้ นอกจากนแี้ ล้ว PLC ยังใช้ระบบโซลิด – สเตท ซงึ่ น่าเช่อื ถือกว่าระบบเดิม การกินกระแสไฟฟา้ น้อยกว่า และ สะดวกกว่าเม่ือต้องการขยายขนั้ ตอนการทำงานของเครื่องจกั ร โครงสร้างของ PLC PLC ประกอบด้วย หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ หน่วยรับข้อมูล หน่วยส่งข้อมูล และหน่วยป้อน โปรแกรม PLC ขนาดเล็ก ส่วนประกอบทัง้ หมดของ PLC จะรวมกนั เปน็ เคร่ืองเดียว แตถ่ า้ เป็นขนาดใหญ่สามารถแยก ออกเป็นส่วนประกอบย่อยๆ ได้ โดยหน่วยความจำของ PLC ประกอบด้วย หน่วยความจำชนิด RAM และ ROM โดย ROM จะมีแบบ EPROM และ EEPROM 1. RAM (Random Access Memory) ทำหน้าท่เี ก็บโปรแกรมของผู้ใช้และข้อมูลสำหรับใช้ในการปฏิบัติงาน ของ PLC หน่วยความจำประเภทนี้จะมีแบตเตอรี่เล็กๆ ต่อไว้ เพื่อใช้เลี้ยงข้อมูลเมื่อเกิดไฟดับ การอ่านและเขียน โปรแกรมลงใน RAM ทำได้ง่ายมาก จึงเหมาะกับการใช้งานในระยะทดลองเครื่องที่มกี ารเปล่ียนแปลงแก้ไขโปรแกรม บอ่ ยๆ

2. EPROM (Erasable Programmable Read Only Memory) ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมสำหรับใช้ในการ ปฏิบัติงานของ PLC หน่วยความจำชนิด EPROM นี้จะต้องใช้เครื่องมือพิเศษในการเขียนโปรแกรม การลบโปรแกรม ทำได้โดยใช้แสงอัลตราไวโอเลต มีข้อดีตรงที่โปรแกรมจะไม่สูญหายแม้ไฟดับ จึงเหมาะกับการใช้งานที่ไม่ต้องเปลี่ยน โปรแกรม 3. EEPROM (Electrical Erasable Programmable Read Only Memory) หน่วยความจำชนิดนี้ไม่ต้องใช้ เครื่องมือพิเศษในการเขียนและลบโปรแกรม โดยใช้วิธีการทางไฟฟ้าเหมือนกับ RAM นอกจากนั้นก็ไม่จำเป็นต้องมี แบตเตอร่สี ำรองไฟเมอ่ื ไฟดบั ราคาจะแพงกว่า แต่จะรวมคณุ สมบัติทีด่ ขี องทั้ง RAM และ EPROM เอาไว้ด้วยกนั รปู ท่ี 1 ตวั อย่างอปุ กรณ์ PLC 2. ภาษาในการเขียนโปรแกรม LD (Ladder diagram) : แลดเดอร์ ไดอะแกรม จะเป็นภาษาท่ีเขียนอยู่ในรูปของกราฟิค ซึ่งมีพื้นฐานมาจาก วงจรควบคุมแบบรีเลย์ และวงจรไฟฟ้า ซึ่งแลดเดอร์ไดอะแกรมจะประกอบด้วย ราง (Rail) ทั้งซ้ายและขวาของ ไดอะแกรม เพื่อใช้สำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่เป็นสวิตช์หน้าสัมผัส เพื่อเป็นทางผ่านของกระแส และมีขดลวด หรือ คอยล์ เปน็ เอาตพ์ ุต รปู ที่ 2 ตัวอยา่ ง วงจรแลดเดอร์ ไดอะแกรม สญั ลกั ษณ์ คือ สิ่งที่กำหนดใช้เพอ่ื ใหค้ วามหมายตวั อปุ กรณ์ของ PLC ทีจ่ ะนำมาออกแบบโปรแกรมใหม้ ี ความสัมพันธ์กัน โดยสญั ลกั ษณห์ ลัก ๆ จะมีดังนี้ 1. Input Normally Open Contacts. ปกติเปิด คือ ตัวกำหนดอินพุตแบบปกติเปิด อินพุตที่กำหนดภายใต้ สัญลกั ษณ์น้จี ะเปน็ ปกตเิ ปิดทง้ั หมด ตอ้ งการการกดปุ่มหรอื เปิดสวติ ช์เพื่อให้สามารถใช้งานได้

รูปที่ 3 อนิ พตุ ปกติเปดิ 2. Input Normally Close Contacts. ปกติปิด คือ ตัวกำหนดอินพุตแบบปกติปิด อินพุตที่กำหนดภายใต้ สัญลักษณ์นี้จะเป็นปกติปิดทั้งหมด ไม่ต้องการการกดปุ่มหรือเปิดสวิตช์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ โดย อินพุตดังกล่าว สามารถใชง้ านไดโ้ ดยไมต่ ้องกดปุ่มเปิด การกดปุ่มหรือเปดิ สวติ ชจ์ ะเป็นการสง่ั ปิดแทน รปู ท่ี 4 อนิ พุตปกติปิด 3. Output Device. เอาต์พตุ คือ ตัวกำหนดเอาต์พุตหรือผลลัพธ์ที่อินพุตสั่งใหท้ ำงาน รปู ท่ี 5 เอาตพ์ ุต 4. Special Instruction Circuit Block. บลอ็ กคำสง่ั พเิ ศษ คอื ตัวกำหนดคำสั่งพิเศษท่ีนอกเหนือจากการ กำหนดอนิ พุตและเอาต์พุต เช่น SET, RST เปน็ ตน้ รปู ที่ 6 บล็อกคำสั่งพเิ ศษ

5. END บล็อกคำสง่ั จบการทำงาน คอื คำสั่งจบการทำงานบรรทดั สุดท้ายจำเปน็ ต้องมีเสมอ รปู ที่ 7 บลอ็ กคำสง่ั จบการทำงาน 3. การเขียนคำส่ังใหส้ อดคล้องตามวตั ถปุ ระสงค์ 1. การตอ่ อนิ พตุ กบั เอาต์พตุ 1.1 กำหนดอินพตุ เป็น X1 แบบปกตเิ ปิด และกำหนดเอาต์พตุ เป็น Y1 เริ่มต้นการทำงานด้วยการกด ปุม่ X1 คา้ งเพอื่ ใหไ้ ฟฟา้ ไหลไปหาเอาต์พุตทำใหเ้ อาต์พุต Y1 ทำงาน สามารถหยดุ การทำงานใหป้ ล่อยอนิ พตุ X1 จะทำให้หน้าสมั ผสั แยกออกจากกันเอาต์พุตจะหยดุ ทำงาน 1.2 กำหนดอินพตุ เป็น X2 แบบปกตปิ ดิ และกำหนดเอาต์พุตเป็น Y2 เรม่ิ ต้นการทำงานด้วยการจ่าย ไฟฟ้าเข้าไปในวงจรโดยที่ไม่ต้องกด X2 เอาต์พุต Y2 จะทำงาน สามารถหยุดการทำงานด้วยการกดปุ่ม X2 ค้างไว้จะ ทำให้หน้าสัมผสั แยกออกจากกนั เอาต์พุตจะหยดุ ทำงาน รูปท่ี 8 การตอ่ อินพุตกบั เอาต์พตุ 2. SELF HOLD ใหส้ ิทธิยกเลกิ การทำงานก่อน 2.1 เริม่ ต้นการทำงานด้วยการกด X1 ไฟจะไหลไปยงั เอาต์พุต Y1 ทำให้เอาต์พุตทำงาน เมอื่ เอาต์พุต ทำงานมันจะไปทำให้หน้าสัมผัสอินพุต Y1 ทำงานด้วยเช่นกัน ดังนั้นเมื่อเราปล่อย X1 ไปแล้ววงจรก็จะทำงานต่อไป ช่วยให้ต้องกด X1 ไวต้ ลอดเวลา 2.2 หากต้องการหยุดการทำงานให้กด X2 เพราะมันจะตัดการไหลของไฟฟ้าในวงจรทำให้เอาต์พุต Y1 หยดุ ทำงาน และ อนิ พตุ Y1 กก็ ลับสู่สภาวะปกตเิ ปิด

รปู ที่ 9 SELF HOLD ใหส้ ทิ ธยิ กเลิกการทำงานกอ่ น 3. SELF HOLD ใหส้ ทิ ธเิ ร่ิมต้นการทำงานก่อน 3.1 เริ่มต้นการทำงานด้วยการกด X1 ไฟฟ้าจะไหลไปยังเอาต์พุต Y1 ทำให้เอาต์พุตทำงาน เมื่อ เอาตพ์ ตุ ทำงานมนั จะไปทำให้หน้าสัมผัสอนิ พุต Y1 ทำงานดว้ ยเช่นกัน 3.2 หากต้องการหยดุ การทำงานใหก้ ด X2 เอาต์พตุ จะหยุดการทำงาน แตถ่ า้ ยังกด X1 ไว้อยู่เอาต์พุต ก็ยงั คงทำงานตอ่ ไป เพราะเราใหส้ ทิ ธเิ์ รม่ิ ตน้ การทำงานกอ่ น น่ันคอื X1 นัน่ เอง รปู ที่ 10 SELF HOLD ให้สิทธิเริม่ ตน้ การทำงานก่อน 4. วงจร Interlock 4.1 เริ่มต้นการทำงานด้วยการกด X1 ทำให้เอาต์พุต Y1 ทำงาน และเหนี่ยวนำอินพุต Y1 ให้ หน้าสัมผัสเปดิ ออกเพือ่ ป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดเหตุการณเ์ อาต์พุตทำงานสองเอาต์พตุ พร้อมกนั 4.2 การจะให้เอาต์พุต Y2 ทำงานจะต้องหยุดการทำงานของ ฝั่งเอาต์พุต Y1 เสียก่อน โดยการต่อ เซลฟ์โฮลดิง้ เพ่อื บังคับการเปิดปดิ วงจร หรอื หยดุ การจ่ายไฟฟา้ ของวงจร แล้วกด X2 เพ่ือใหเ้ อาตพ์ ตุ Y2 ทำงาน รูปที่ 11 วงจร Interlock

5. วงจรให้เอาต์พุตทำงานชั่วขณะ 5.1 ทำการตอ่ เซลฟ์โฮลด้ิง แต่อินพตุ ทตี่ ดั การเชอ่ื มตอ่ กบั เอาต์พตุ นัน้ กำหนดเปน็ T1 5.2 บรรทัดต่อไปให้กำหนดอินพุตปกติเปิดเป็น Y1 เพื่อให้โดนเหนี่ยวนำให้ทำงานจากเอาต์พุต Y1 และกำหนดเอาต์พุตเป็น (T1 K30) หมายถึง อนิ พุต T1 จะทำงานในอกี 3 วินาที 5.3 เมื่อครบ 3 วินาที T1 ในบรรทัดแรกจะตัดการไหลของไฟฟ้าในวงจรทำให้เอาต์พุต Y1 หยุด ทำงานตามคุณสมบัติของเซลฟ์โฮลด้ิง รปู ท่ี 12 วงจรให้เอาต์พุตทำงานชั่วขณะ 6. วงจรหนว่ งเวลา 6.1 ทำการต่อวงจรในรูปแบบเซลฟ์โฮลดิ้ง แต่กำหนดเอาต์พุตเป็น M1 เพื่อเป็นคอยล์สมมุติเพ่ือ นำมาถ่วงเวลาให้หลังจากท่ีกด X1 แลว้ เอาต์พุต Y1 จะทำงาน 6.2 บรรทัดต่อไปกำหนดอินพุตเป็น M1 แบบปกติเปิด และกำหนดเอาต์พุตเป็น (T1 K30) เพื่อ หน่วงเวลาให้เอาต์พุต Y1 ทำงานใน 3 วนิ าที 6.3 บรรทัดต่อไป กำหนดอนิ พุต T1 เพือ่ รอรับการเหน่ียวนำจากการหน่วงเวลา และกำหนดเอาต์พุต เปน็ Y1 รปู ท่ี 13 วงจรหนว่ งเวลา

7. ฟังคช์ ัน่ SET กบั RST 7.1 กำหนดอินพุต X1 และกำหนดบล็อกคำสั่งพิเศษ [SET Y1] เมื่ออินพุต X1 ทำงานโดยที่ไม่ต้อง กดคา้ ง จะทำใหเ้ อาตพ์ ุต Y1 ทำงานทันทีและทำงานตลอดเวลาโดยที่ไม่ตอ้ งกดอินพุตคา้ งไว้ 7.2 สามารถหยุดการทำงานได้โดยกำหนดอินพุต X2 เพื่อใช้เป็นอินพุตของคำสั่งยกเลิกการทำงาน และกำหนดบล็อกคำสั่งพิเศษ [RST Y1] ก็จะสามารถยกเลิกการทำงานของฟังค์ชั่น SET ได้ หรือยกเลิกด้วยการหยุด จา่ ยไฟฟา้ ให้กบั วงจร รปู ท่ี 14 ฟงั ค์ช่ัน SET กับ RST 3.1 ประโยชน์ของการตอ่ วงจรแบบต่างๆ 1. การต่ออินพุตกบั เอาต์พุต 2. SELF HOLD ใหส้ ทิ ธิยกเลกิ การทำงานก่อน ใชเ้ ร่มิ ต้นการทำงานโดยการกดปุ่ม start แคค่ รงั้ เดยี ว และ หากเกิดกรณีฉุกเฉนิ เราสามารถหยุดการทำงานโดยการกดปุม่ stop แค่ครงั้ เดยี วเช่นกัน 3. SELF HOLD ให้สทิ ธเิ รมิ่ ตน้ การทำงานก่อน 4. วงจร Interlock 5. วงจรให้เอาต์พตุ ทำงานช่ัวขณะ 6. วงจรหนว่ งเวลา 7. ฟงั คช์ ั่น SET กับ RST 4. การประยุกตแ์ ละแกไ้ ขโปรแกรมใหส้ ามารถนำมาใชง้ านได้ ในการประยุกตใ์ ชภ้ าษาแลดเดอร์ในการเขียนโปรแกรม “ระบบไฟจราจรและไฟสญั ญาณขา้ งทาง” โดยมี ลกั ษณะการเขียนโปรแกรมควบคมุ ดังน้ี 1. มีอินพตุ ทีค่ วบคุมการทำงานของระบบอยู่ 3 อนิ พตุ ได้แก่ X2 = อนิ พุตระบบไฟจราจร X3 = อินพตุ รีเซ็ตระบบทั้งหมด โดยมหี ลอดไฟ Y10 แสดงสถานะพรอ้ ม X4 = อินพตุ ระบบสัญญาณไฟขา้ งทาง 2. การเขียนระบบไฟจราจร โดยกำหนดอินพุต X2 เพ่ือเปิดใช้งานฟังค์ชัน่ ไฟจราจร ใชค้ ำสัง่ พิเศษ [SET M1] เพ่อื ใช้สรา้ งเง่อื นไขการแสดงสญั ญาณไฟ และคำสงั่ พิเศษ [RST Y10] เพอ่ื ปิดไฟแสดงสถานะพร้อม รปู ท่ี 15 อินพุตระบบไฟจราจร

3. เงือ่ นไขหลงั จากกดปมุ่ X2 เพือ่ เปิดใชง้ านระบบไฟจราจร กำหนด M1 แบบปกติเปดิ ตามดว้ ย T1 แบบ ปกติปิด เพ่ือตดั ไฟใหว้ งจรกลับมาทำงานซำ้ อีกรอบเม่อื จบรอบการทำงาน รูปที่ 16 เง่ือนไขหลังจากกดปุม่ X2 4. กำหนด T2 เพื่อรบั คำสัง่ จากข้อทแี่ ลว้ กำหนดเอาต์พุต Y0 เป็นไฟแดง แลว้ พว่ งเวลาที่ไฟแดงจะแสดงผล T3 K300 หรือ ไฟแดงจะแสดงเป็นเวลา 30 วนิ าที เมือ่ ครบเวลาอินพุต T3 แบบปกตปิ ิดจะตดั ไฟแดง รปู ที่ 17 ระบบไฟแดง 5. อินพุต T3 จะถูกเหนย่ี วนำมาเพ่ือใชค้ วบคุมไฟเขยี ว โดยใชล้ กั ษณะการเขียนแบบเดยี วกบั ไฟแดง คือ กำหนดเอาตพ์ ตุ Y1 เปน็ ไฟเขียว แลว้ พ่วงเวลาทีไ่ ฟเขียวจะแสดงผล T4 K200 หรือ ไฟแดงจะแสดงเป็นเวลา 20 วินาที เมอ่ื ครบเวลาอนิ พตุ T4 แบบปกตปิ ิดจะตัดไฟเขยี วแล้วเปลีย่ นเป็นไฟเหลอื ง รูปท่ี 18 ระบบไฟเขียว 6. อนิ พตุ T4 จะถูกเหนี่ยวนำมาเพ่ือใชค้ วบคุมไฟเหลอื ง คือ กำหนดเอาต์พตุ Y2 เป็นไฟเหลือง แล้วพว่ งเวลา ที่ไฟเหลืองจะแสดงผล T1 K20 หรือ ไฟแดงจะแสดงเปน็ เวลา 2 วินาที เม่ือครบเวลาอนิ พุต T1 ดังรูปท่ี 15 จะตดั ไฟ และเร่ิมที่ไฟแดงใหม่ วนลูปไปแบบนีเ้ หมือนทีพ่ บเห็นตามท้องถนน รปู ที่ 19 ระบบไฟเหลือง 7. การเขยี นระบบสญั ญาณไฟขา้ งทาง โดยระบบนีจ้ ะทำให้ไฟขา้ งทาง 5 ดวงติดเรียงกนั ไปตามลำดับ เม่ือเรา กด X4 ระบบสญั ญาณไฟขา้ งทางกจ็ ะติดและทำงานไปพรอ้ มกบั สัญญาณไฟจราจรได้ ใช้คำสง่ั พเิ ศษ [SET M2] เพื่อใช้ ในการเร่ิมเง่ือนไข และ [RST Y10] เพ่ือปดิ ไฟแสดงสถานะพร้อม รปู ท่ี 20 ระบบสัญญาณไฟขา้ งทาง

8. กำหนด M2 เพื่อรับการเหนย่ี วนำ และ T9 แบบปกตปิ ดิ เพ่ือเป็นการวนลูปของระบบ และเอาต์พตุ T10 K5 เพอื่ กำหนดเงื่อนไขต่อไป รปู ที่ 21 กำหนดตวั เหนย่ี วนำ 9. เมอื่ T10 โดนเหนี่ยวนำมนั จะเร่มิ ทำงานทำใหเ้ อาต์พุต Y3 ตดิ ค้าง แลว้ เช่อื เอาต์พุต T5 K5 เพื่อใหม้ นั เหนี่ยวนำไปหลอดไฟหรือเอาตพ์ ุตตัวต่อไป เม่ือถงึ หลดไฟดวงสดุ ทา้ ยคอื เอาต์พตุ Y7 คำสั่งตวั เหน่ียวนำจะเป็น T9 K5 เพื่อสง่ั ให้อินพุต T9 ดงั รูปท่ี 20 ตดั วงจรและเริ่มการทำงานใหม่ทำใหเ้ กิดการวนลปู ซ้ำไปมา รปู ที่ 22 การเขยี นวงจรไฟเรียง 5. จุดเด่นของการใช้งาน PLC ✓ PLC มกี ารเดินสายทีไ่ ม่ยงุ่ ยากซบั ซ้อน ✓ สามารถปรบั ปรุงแกไ้ ขโปรแกรมตามเงื่อนไขการควบคมุ ระบบหรือเคร่ืองจกั รได้งา่ ยและรวดเร็ว ✓ การเขียนโปรแกรมควบคุมแบบแลดเดอร์มสี ว่ นคล้ายคลงึ กับวงจร relay จึงทำให้เขยี นได้งา่ ย ✓ PLC มคี วามทนทานต่อสภาวะแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรม ✓ การดแู ลรกั ษาและการซ่อมบำรงุ ทำได้งา่ ย ✓ สามารถลดเวลาในการหยดุ เคร่ืองจกั รลงได้ ✓ ประหยดั การใช้พ้ืนที่การทำงานของเครื่องจักรได้ และสามารถใช้งานในระบบการผลิตแบบยืดหย่นุ ✓ สามารถตอ่ ขยายระบบจำนวนอินพตุ และเอาต์พตุ ได้ง่าย ✓ รองรบั การเช่ือมต่อแบบโครงขา่ ย ✓ สามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ตา่ งๆเช่น เคร่ืองอ่านบาร์โค้ด (barcode reader),จอแสดงผลแบบสัมผัส (touch screen)

ข้อดี 1. ประหยัดค่าใช้จา่ ยเมือ่ การทำงานจำเป็นต้องตอ่ อุปกรณร์ เี ลย์และ timer > 10 ตัวขึน้ ไป 2. ลดเวลาในการออกแบบวงจรและการประกอบตูค้ วบคุม 3. มขี นาดเล็กและเป็นมาตรฐานเมื่อเปรยี บเทยี บกบั วงจรรีเลย์ซเี ควนซ์ท่ีจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์มากกวา่ 4. ป้องกนั ปัญหาในเรอื่ งของหนา้ สัมผสั สายหยดุ ของวงจรรีเลย์ ทำใหก้ ารทำงานมีประสิทธภิ าพมากข้ึน 5. PLC มีโปรแกรมตรวจสอบตัวเอง ซึ่งสามารถวิเคราะห์ความผิดปกติของเครื่อง ทำให้การบำรุงรักษา สามารถทำได้งา่ ย ขอ้ เสีย 1. ต้องใช้เวลามากเกนิ ในการตอ่ สายไฟ 2. ยากในการทดแทนดว้ ยระบบใหม่ 3. เมอ่ื มปี ัญหาเกดิ ขน้ึ อาจใช้เวลาในการแก้ไขปัญหานาน และตอ้ งใช้ผู้ทีม่ ีความเช่ียวชาญ

บรรณานกุ รม อาจารยน์ ริ ุตติ์ วันยะโต , “Programmable Logic Controller คือ” (ออนไลน์), สบื ค้นจาก : http://www.advance-electronic.com/blog/detail/113/th/PLC-คือ-อะไร.html (วนั ที่สืบคน้ 5 มกราคม 2564) Nattawut Janmanee, “ภาษาในการเขยี นโปรแกรม” (ออนไลน์), สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/nattawutjanmanee/home/phasa-thi-chi-ni-kar-kheiyn-porkaerm-plc (วนั ท่ีสืบค้น 5 มกราคม 2564)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook