Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PDCA

PDCA

Published by patthana47267, 2021-02-24 06:05:57

Description: PDCA

Search

Read the Text Version

PLAN PDCA DO CHECK ACT โดย นายปรัธนา ปาปะขา รหัส 133 คอมคบ. ปี3

ก คานา หนงั สือเรื่อง ทฤษฎPี DCA จัดทำข้ึนเพอ่ื ใชป้ ระกอบกำรเรยี นกำรสอนรำยวชิ ำฝึกปฏบิ ตั วิ ชิ ำชพี ระหวำ่ งเรียน เพอื่ ม่งุ ให้ผทู้ ศ่ี ึกษำมคี วำมรู้ควำมเขำ้ ใจและสำมำรถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั ไดท้ ้งั ในด้ำนปฏิบัตแิ ละด้ำน ทฤษฎขี อขอบคณุ นกั วชิ ำกำรเจ้ำของหนงั สอื ตำรำ เวบ็ ไซตต์ ำ่ ง ๆ ทใ่ี ห้กำรค้นควำ้ อำ้ งอิงที่มสี ่วนทำใหร้ ำยงำนฉบบั น้ี สมบูรณ์ หวงั วำ่ รำยงำนฉบบั นจี้ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้ทีส่ นใจ โดยสำมำรถใชเ้ ปน็ คู่มอื หรอื เน้ือหำประกอบกำรเรยี นกำร สอนใหผ้ ู้เรียนเกดิ ควำมรูค้ วำมเข้ำในในเรื่องของทฤษฎี PDCA นายปรัธนา ปาปะขา ผ้จู ัดทา

สารบัญ ข เรือ่ ง หน้า ก คำนำ ข สำรบัญ 1-4 5-9 ประวัติ Dr. W.Edwards Deming 10-11 ทม่ี ำของวงจร PDCA 12-14 กำรบรหิ ำรงำนด้วยวงจรเดมมง่ิ 15 กำรนำวงจรเดมมิง่ มำใช้ในระบบกำรศึกษำ 16 ข้อดแี ละประโยชนข์ อง PDCA บรรณำนกุ รม

1 ดร.เอด็ เวริ ด์ เดมมงิ่ (Dr. W. Edwards Deming) เป็นนกั สถติ ชิ าว อเมรกิ นั สาเรจ็ การศกึ ษาปรญิ ญาตรสี าขาฟิสกิ ส์ จากมหาวิทยาลยั ไวโอมงิ (University of Wyoming) ปรญิ ญาโทสาขาวทิ ยาศาสตร์ จาก มหาวทิ ยาลยั โคโลราโด (University of Colorado) และปรญิ ญาเอก สาขาคณิตศาสตรฟ์ ิสกิ ส์ (Mathematical Physics) จากมหาวทิ ยาลยั เยล (Yale University)

2 ▪ ปี 1982 Dr. W. Edwards Deming เรม่ิ งานกบั กระทรวงกระทรวงเกษตร (Department of Agriculture) ▪ ปี 1938 ตาแหน่งนกั คณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ศิ าสตร์ ▪ ปี 1939 ยา้ ยไปทางานทส่ี านกั งานสามะโนประชากร (Bureau of the Census) ▪ ปี 1946 เรม่ิ สอนหนงั สอื ทค่ี ณะบรหิ ารธุรกจิ New York University (N.Y.U.) ไดเ้ ป็นศาสตราจารยต์ งั้ แต่ ปี 1946 และสอนหนงั สอื จนถงึ ปี 1993

3 Dr. W.Edwards Deming เดนิ ทางไปยงั ประเทศญป่ี ่นุ เป็นครงั้ แรกในปี ค.ศ. 1947 เน่ืองจากหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 นายพลแมคอาเธอร์ ผูบ้ ญั ชาการกองกาลงั ทหาร สหรัฐอเมริกาท่ียึดครองญ่ีปุ่น ได้ไล่ผู้บริหารระดับสูงและระดับกลางของบริษัทใ นญ่ีปุ่นออก เน่ืองจากบุคคลเหล่านัน้ พวั พนั กับการทาสงความท่ีผ่านมา แล้วหนุนคนรุ่นใหม่ข้ึนมาบริหาร นายพลแมคอาเธอร์ ขอความช่วยเหลอื ทางวชิ าการมายงั สหรฐั อเมรกิ า ทางสหรฐั อเมรกิ า จงึ ไดส้ ง่ Dr. W.Edwards Deming เพ่อื มาชว่ ยการเกบ็ สามะโนประชาการของญป่ี ่นุ ตามหลักสถติ ิ Dr. W.Edwards Deming จงึ ไดน้ าเร่อื งของเทคนิคการควบคุมทางสถติ เิ พ่อื เพมิ่ ผลผลติ ทต่ี นเองทาแลว้ ประสบความสาเรจ็ ในสหรฐั อเมรกิ ามาเผยแพรท่ ญ่ี ป่ี ่นุ ดว้ ย

4 ปี ค.ศ. 1950 สหภาพนกั วทิ ยาศาสตรแ์ ละวศิ วกรญป่ี ่นุ ไดส้ นบั สนุน Dr.W.Edwards Deming ในการเผยแพร่แนวความคดิ เร่อื งคุณภาพและการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการผลติ มกี ารสอนและจัด สมั มนาแก่ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ผจู้ ดั การและวศิ วกรญป่ี ่นุ ในภาคอตุ สาหกรรม มผี เู้ ข้ารว่ มกว่า 400 คน โดยผบู้ รหิ ารเหลา่ นนั้ อยใู่ นบรษิ ทั สาคญั เชน่ Sony, Nissan, Mitsubishi, และ Toyota ความรแู้ ละวธิ กี ารทน่ี าเสนอโดย Dr.W.Edwards Demingเป็นทป่ี ระทบั ใจและไดร้ บั การ ยอมรบั เป็นอยา่ งมาก จนนบั ไดว้ า่ Dr. W.Edwards Deming เป็นผมู้ สี ว่ นชว่ ยพฒั นาอุตสาหกรรม ญป่ี ่นุ หลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ภายหลงั ญป่ี ่นุ จงึ ไดต้ งั้ รางวลั Deming Prize หรอื Deming Award ใหก้ บั บรษิ ทั ทม่ี ผี ลงานดเี ดน่ ดา้ นคณุ ภาพ ปี ค.ศ. 1980 โทรทศั น์ NBC นาผลงานของ Dr. W.Edwards Deming ไปเผยแพรท่ วั่ สหรฐั อเมรกิ าจนไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ป็นบดิ าแหง่ คล่นื ลกู ทส่ี ามของการปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม

ทม่ี าของวงจร PDCA 5 Dr. W.Edwards Deming ไดพ้ ฒั นาวงจร PDCA จากแนวคดิ ของ Dr. Walter A. Shewhart นกั ควบคมุ กระบวนการเชงิ สถติ ทิ ่ี Bell Laboratories ในสหรฐั อเมรกิ าทไ่ี ดน้ าเสนอในหนงั สอื Statistical Method from the Viewpoint of Quality Control (1930) ในระยะแรกรจู้ กั วงจร PDCA ในนาม Shewhart Cycle จากนนั้ Dr. W.Edwards Deming ไดน้ ามาพฒั นาปรบั ใชใ้ นการควบคุม คณุ ภาพในวงการอุตสาหกรรมของญป่ี ่นุ จงึ มชี อ่ื เรยี กวา่ Deming Cycle

ทม่ี าของวงจร PDCA 6 Dr. W. Edwards Deming มคี วามเชอ่ื วา่ คุณภาพสามารถปรบั ปรุง ได้ จงึ เป็นแนวคดิ ของการพฒั นาคณุ ภาพงานขนั้ พน้ื ฐาน เป็นการกาหนด ขนั้ ตอนการทางาน เพอ่ื สรา้ งระบบการผลติ ใหส้ นิ คา้ มคี ุณภาพดี การใหก้ าร บรกิ ารดี หรอื ทาใหก้ ระบวนการทางานเป็นไปอยา่ งมรี ะบบ โดยใชไ้ ดก้ บั ทุกๆสาขาวชิ าชพี แมก้ ระทงั้ การดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั ของมนุษย์

ทม่ี าของวงจร PDCA 7 เรม่ิ แรกวงจร PDCA เน้นถงึ ความสมั พนั ธข์ อง 4 ฝ่ายในการดาเนินธรุ กจิ เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ คุณภาพ และความพงึ พอใจของลกู คา้ ไดแ้ ก่ ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายผลติ ฝ่ายขาย และฝ่ายวจิ ยั ความสมั พนั ธท์ งั้ 4 ฝ่าย จะตอ้ งดาเนินต่อไป อยา่ งตอ่ เน่ือง เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพสนิ คา้ ตามความตอ้ งการของลกู คา้ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงอยู่ ตลอดเวลา โดยใหถ้ อื วา่ คณุ ภาพตอ้ งมากอ่ นสงิ่ ใด ภาพแสดงวงจร PDCA ในยคุ แรก

ทม่ี าของวงจร PDCA 8 วงจร Deming ไดพ้ ฒั นาไปในทศิ ทางทน่ี ุ่มนวลขน้ึ ในประเทศญ่ีปุ่น ซ่งึ ได้ให้ความสาคญั กับพ้นื ฐาน การบรหิ ารงาน 2 อยา่ ง คอื การส่อื สารและความ รว่ มมอื รว่ มใจจากทุกคนในหน่วยงาน โดยผบู้ รหิ าร ยังคงเป็ นผู้กาหนดแผนงาน แต่จะส่ือสารผ่าน ช่องทางหวั หน้างานและพนักงานตามลาดับขัน้ เป้ าหมายถูกกาหนด ข้ึนตามความเหมาะสม เป็นไปได้ ภาพแสดงวงจร PDCA แบบญี่ป่ ุน

ทม่ี าของวงจร PDCA 9 เรา ใชว้ งจร PDCA เพอ่ื การปรบั ปรงุ งาน อยา่ งต่อเน่ือง ทกุ ครงั้ ทว่ี งจรหมนุ ครบรอบกจ็ ะเป็น แรงสง่ ใหห้ มนุ ในรอบตอ่ ไป วธิ กี ารใหมๆ่ ทท่ี าให้ เกดิ การปรบั ปรงุ กจ็ ะถกู จดั ทาเป็นมาตรฐานการ ทางาน ซง่ึ จะทาใหก้ ารทางานมกี ารพฒั นาอย่างไม่ สน้ิ สดุ อาจเรม่ิ ดว้ ยการปรบั ปรงุ เลก็ ๆ น้อยๆ ก่อนท่ี จะกา้ วไปสกู่ ารปรบั ปรงุ ทม่ี คี วามซบั ซอ้ นมากยง่ิ ขน้ึ ภาพแสดงวงจร PDCA กบั การปรับปรุงอยา่ งต่อเน่ือง

การบริหารงานด้วยวงจรเดมม่ิง 10 (Deming Cycle) การบริหารงานด้วยวงจรเดมม่ิง (Deming Cycle) เป็นกระบวนการบริหารคณุ ภาพท่ีก่อให้เกิดประสิทธิภาพใน องคก์ รหรือหน่วยงาน และเพ่ือให้องคก์ รมีการพฒั นาอย่าง ต่อเนื่อง การบริหารงานด้วยกระบวนการวงจรเดมมิ่ง จะต้อง ประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบตั ิตามแผน การตรวจสอบ และการปรบั ปรงุ แก้ไข ซึ่งมีรายละเอียดดงั นี้

Plan คือ การวางแผน 11 ขนั้ ตอนการวางแผนครอบคลมุ ถงึ DO คือ การปฏิบตั ิตามแผน การกาหนดกรอบหวั ข้อท่ีต้องการ ปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลง ซึ่งรวมถึงการ การลงมอื ปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลง พฒั นาส่ิงใหม่ ๆ การแก้ปัญหาที่ ตามทางเลือกที่ได้กาหนดไว้ใน เกิดขึน้ จากการปฏิบตั ิงาน ฯลฯ ขนั้ ตอนการวางแผน Act คือ การปรบั ปรงุ การดาเนินการ Check คือ การตรวจสอบ อย่างเหมาะสมหรอื การจดั ทามาตรฐานใหม่ การประเมินผลที่ได้รบั จากการปรบั ปรงุ ซึ่งถอื เป็นพนื้ ฐานของการยกระดบั คณุ ภาพ เปล่ียนแปลง เพ่ือให้ทราบว่า ในขนั้ ตอน PDCA หมนุ ครบรอบ กจ็ ะเป็นแรงส่งสาหรบั การปฏิบตั ิงานสามารถบรรลเุ ป้าหมาย การดาเนินงานในรอบต่อไป และก่อให้เกิด หรือวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีได้กาหนดไว้หรอื ไม่ การปรบั ปรงุ อย่างต่อเนื่อง

12 การนาวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) มาใช้ในระบบการศึกษา การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพ คือ กระบวนการบรหิ ารเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพตามหลกั การบรหิ าร โดยการควบคุมคุณภาพ คือ การท่ีสถานศึกษา ต้องร่วมกันวางแผนและดาเนินการตามแผน เพ่ือพัฒนา สถานศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพตามเป้าหมายและมาตรฐานการศกึ ษา

ขนั้ ตอนที่ 1 การวางแผน (Plan) 13 ก า ร ว า ง แ ผ น ง า น จ ะ ช่ ว ย พัฒ น า ขนั้ ตอนท่ี 2 การปฏิบตั ิ (DO) ความคดิ ตา่ งๆ เพอ่ื นาไปสรู่ ปู แบบทเ่ี ป็น จริง โดยมีรายละเอียดให้พร้อม ประกอบดว้ ยการทางาน 3 ระยะ คอื ในการเรม่ิ ตน้ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ 1. การวางแผนการกาหนดการ - การแยกแยะกจิ กรรมตา่ งๆ ทต่ี อ้ งการกระทา - กาหนดเวลาทต่ี อ้ งใชใ้ นกจิ กรรมแต่ละอยา่ ง 2. การจดั แบบเมทรกิ ซ์ (MatrixManagement) การจดั แบบน้ี สามารถชว่ ยดงึ เอาผเู้ ชย่ี วชาญหลาย แขนงจากแหลง่ ต่างๆ มาไดแ้ ละเป็นวธิ ชี ว่ ย ประสานงานระหวา่ งฝ่ายต่างๆ 3. การพัฒนาขีดความสามารถในการทางานของ ผรู้ ว่ มงาน -ให้ผู้ร่วมงานเข้าใจถึงงานทัง้ หมดและทราบ เหตุผลทต่ี อ้ งกระทา

ขนั้ ตอนท่ี 3 การตรวจสอบ (Check) 14 ทาใหร้ สู้ ภาพการของงานทเ่ี ป็นอยู่ ขนั้ ตอนท่ี 4 การปรบั ปรงุ แก้ไข (Act) เปรยี บเทยี บกบั สง่ิ ทว่ี างแผน ซง่ึ ประกอบดว้ ยกระบวนการ ดงั น้ี ผลของการตรวจสอบหากพบวา่ เกดิ ความบกพรอ่ งขน้ึ 1. กาหนดวตั ถุประสงคข์ องการตรวจสอบ ทาใหง้ านทไ่ี ดไ้ มต่ รงเป้าหมายหรอื ผลงานไมไ่ ดม้ าตรฐาน 2. รวบรวมขอ้ มลู ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามแกไ้ ขปัญหาตามลกั ษณะทค่ี น้ พบ ดงั น้ี 3. พจิ ารณากระบวนการทางานเป็นตอนๆ 1. ถา้ ผลงานเบย่ี งเบนไปจากเป้าหมาย ตอ้ งแกไ้ ขท่ี เพอ่ื แสดงจานวนและคณุ ภาพของผลงาน ตน้ เหตุ ทไ่ี ดร้ บั แต่ละขนั้ ตอนเปรยี บเทยี บกบั ทไ่ี ด้ 2. ถา้ พบความผดิ ปกตใิ ดๆ ใหส้ อบสวนคน้ หาสาเหตุแลว้ วางแผนไว้ ทาการป้องกนั เพอ่ื มใิ หค้ วามผดิ ปกตนิ นั้ เกดิ ขน้ึ ซ้าอกี 4. การรายงาน จดั แสดงผลการประเมนิ ในการแกป้ ัญหาเพอ่ื ใหผ้ ลงานไดม้ าตรฐาน อาจใชม้ าตรการดงั ต่อไปน้ี - การยา้ นโยบาย - การปรบั ปรงุ ระบบหรอื วธิ กี ารทางาน - การประชมุ เกย่ี วกบั กระบวนการทางาน

ขอ้ ดีและประโยชน์ของ PDCA 15 1. การนาวงจร PDCA ไปใช้ ทาให้ผปู้ ฏิบตั ิมี 4. การใช้ PDCA เพ่ือการแก้ปัญหา ด้วยการ การวางแผน ป้องกนั ปัญหาท่ีไม่ควรเกิด ช่วย ตรวจสอบว่ามีอะไรบา้ งท่ีเป็นปัญหา เมื่อหา ปัญหาได้ กน็ ามาวางแผนเพื่อดาเนินการตาม ลดความสบั สนในการทางาน ลดการใช้ วงจร PDCA ต่อไป ทรพั ยากรมากหรือน้อยเกินความพอดี ลด 5. ช่วยให้ทกุ คน/ทกุ ฝ่ าย/ทกุ ระดบั ในองคก์ ร ได้ ความสญู เสียในรปู แบบต่างๆ ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ มีผลงานดีมี 2. การทางานท่ีมีการตรวจสอบเป็นระยะ ทาให้ คณุ ภาพ การปฏิบตั ิงานมีความรดั กมุ ขึน้ และแก้ไข 6. มีการพฒั นาแนวทางและวิธีการแก้ปัญหา ปัญหาได้อย่างรวดเรว็ ก่อนจะลกุ ลาม พรอ้ มทงั้ เพิ่ม/พฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากร ใน 3. การตรวจสอบท่ีนาไปส่กู ารแก้ไขปรบั ปรงุ ทาให้ปัญหาที่เกิดขึน้ แล้วไม่เกิดซา้ หรอื ลด การทางาน 7. ส่งเสริมให้มีการวิจยั และพฒั นากระบวนการ ความรนุ แรงของปัญหา ถือเป็นการนาความ ผลิตใหม่ๆ ขึน้ มา ผิดพลาดมาใช้ให้เกิดประโยชน์

16 บรรณานกุ รม ท่ีมา:https://th.wikipedia.org/wiki/PDCA ท่ีมา: https://sites.google.com/site/pumpkin2555/khwampdca ท่ีมา: https://thaiwinner.com/pdca-cycle/ ท่ีมา: https://www.bananatraining.com/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook