การพฒั นาหนังสอื อิเล็กทรอนิกด้วยเทคโนโลยคี วามจรงิ เสรมิ แบบปฏสิ ัมพนั ธแ์ ละ แอพพลิเคช่นั เพื่อส่งเสรมิ ความรดู้ า้ นการขนสง่ ระหว่างประเทศ
คานา หนงั สืออิเล็กทรอนกิ สส์ ง่ เสริมความรู้ด้านการขนส่งระหว่างประเทศเลม่ น้ี จัดทาขนึ้ เพอื่ นาเสนอเรื่องของการขนสง่ ระหว่างประเทศ โดยผู้จดั ทาไดร้ วม รวบการขนสง่ แบบตา่ ง ๆ เพ่อื ให้ผทู้ ีส่ นใจในการขนสง่ สนิ คา้ ไดเ้ ขา้ ใจในเรอื่ ง การขนส่งมากข้นึ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงวา่ หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์เล่มนีจ้ ะเปน็ ประโยชน์ ตอ่ ผทู้ ี่สนใจ หากผดิ พลาดประการใดจึงขออภัยมา ณ ทนี่ ี้ด้วย
การอนญุ าตท่าเรอื เดนิ ทะเล
การอนุญาตทา่ เรอื เดินทะเล
เรอื บรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ (Container Vessel) เรอื บรรทุก ต้คู อนเทนเนอร์ เปน็ เรือทีอ่ อกแบบมาสาหรับใช้ในการบรรทกุ ตู้สนิ ค้าโดยเฉพาะ เรือสนิ ค้า แตล่ ะลา จะมีทย่ี กตทู้ ี่เรยี กวา่ Quay Cranes ประมาณ 1-4 ตวั โดย Crane แต่ละตัวจะ ลาเลียงตู้ ทว่ี างอยู่ ตามความลกึ ของเรือ ซ่ึงจะมีการเรยี งกนั เปน็ Column ในปจั จบุ นั เรอื บรรทุกโดยเฉล่ียจะเป็นประมาณ 2,700 TEU แต่เรือที่มีขนาดใหญท่ อ่ี ย่ใู นชน้ั ทเี่ รยี กว่า SX Class หรอื ท่ีเรียกว่า Super Post Panamaxx จะมคี วาม ยาวโดยเฉลย่ี 320x330 เมตร กินน้าลึก ประมาณ 13-14 เมตร มคี วามกวา้ งวางคอนเทนเนอร์ได้ 20-22 แถว ซงึ่ สามารถบรรทกุ ตูส้ นิ ค้าไดส้ งู สุดถึง 8,000 TEU ทงั้ นี้ ใน อนาคตกาลงั มีการตอ่ เรือที่มขี นาดใหญ่ขึน้ ไป ในช้นั Malaccamax ซง่ึ จะสามารถขนย้ายตู้ คอนเทนเนอร์ได้ 18,000 TEU โดยขนาดเรอื ท่ีใหญข่ นึ้ มากน้ีจะมผี ลทาให้ ตน้ ทุนโดยรวมจะลดลง เนอื่ งจากลด ต้นทุนแปรผนั ที่ เรียกว่า Variable Cost ไมว่ า่ จะเป็นค่าน้ ามัน หรือ ค่าใชจ้ า่ ยท่เี ก่ยี วกับแรงงาน อยา่ งไรก็ดี จะตอ้ งมีการบรหิ าร 1 การจัดการ ในการท่จี ะหาสนิ ค้าไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพด้วย
การอนุญาตทา่ เรอื เดินทะเล
การอนญุ าต ประเภทของท่าเรือท่ตี ้องขออนุญาต “ท่าเรอื ” ท่าเรือเดินทะเล หมายความว่า สถานทีส่ าหรับให้บรกิ ารแก่เรือ เดินทะเลทีม่ ขี นาดต้ังแต่ 500 ตันกรอส ขนึ้ ไป 2 ในการจอด เทียบ บรรทกุ หรือขนถา่ ยของ และให้หมายความรวมถงึ ส่ิงลอยน้าอ่ืนใดไม่วา่ จะมเี ครือ่ งจักรสาหรบั ขับเคลือ่ นหรือไม่ก็ตาม ซ่ึงใชเ้ พอ่ื วัตถปุ ระสงคอ์ ยา่ งเดยี วกันแตม่ ไิ ด้ใช้ เพือ่ การขนสง่ ผู้ใดประสงคจ์ ะประกอบกจิ การ ทา่ เรือท่ใี ห้บรกิ ารในการจอดเทยี บ บรรทกุ หรอื ขนถ่ายสินค้าแก่ เรือเดนิ ทะเลทม่ี ีขนาด ต้งั แตห่ า้ รอ้ ยตันกรอสขึ้นไป ไมว่ า่ จะมีการเรยี ก ค่าตอบแทนในการให้บริการหรือไมใ่ ห้ยืน่ คา ร้องขออนญุ าตต่อรฐั มนตรี ณ กรมการขนสง่ ทางน้าและพาณชิ ยนาวตี ามแบบและวธิ กี ารที่ กาหนด เอกสารหลักฐานประกอบการขอ อนุญาต เอกสารและหลกั ฐาน ต้องรับรอง ความถูกตอ้ งโดยผู้มอี านาจดงั ต่อไปน้ี
การอนุญาตทา่ เรอื เดินทะเล
(1) หลกั ฐานแสดงว่าการประกอบกิจการทา่ เรอื อยู ในขอบวัตถุประสงคข์ องผขู้ ออนญุ าตในกรณที ีผ่ ู้ ขอ อนญุ าตเปน็ นติ บิ ุคคล (2) ใบอนุญาตใหส้ รา้ ง สง่ิ ล่วงล้าลาน้า หรือใบอนุญาตใหใ้ ชท้ า่ เทียบเรอื หรอื เอกสารอน่ื ในทานอง เดยี วกันทอ่ี นุญาตใหใ้ ช้ ทา่ เทียบเรือ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการเดนิ เรอื ใน นา่ นน้าไทย หรอื หลักฐานแสดงว่าไดม้ ี การขอตอ่ อายุใบอนญุ าตดงั กลา่ ว (3) เอกสารหรอื หลักฐาน ท่แี สดงว่าไดผ้ ่านการประเมนิ หรืออยรู่ ะหวา่ งการ ประเมินผลการปฏบิ ัตติ าม แผนรกั ษาความ ปลอดภยั จากกรมการขนส่งทางน้าและพาณชิ ย นาวตี าม “คมู่ อื การรักษาความปลอดภยั สาหรบั ท่าเรอื ” (4) เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ สิทธิ ครอบครอง หรอื สิทธใิ ชส้ อยทีด่ ินบรเิ วณท่าเรือ หรือหลกั ฐานแสดง วา่ ผู้ขออนญุ าตกาลัง ดาเนนิ การเพื่อใหไ้ ด้มาซงึ่ กรรมสทิ ธิ์ สทิ ธิ ครอบครอง หรอื สิทธใิ ชส้ อยที่ดนิ บรเิ วณท่าเรือ 3
การอนุญาตทา่ เรอื เดินทะเล
(5) บัตรสง่ เสรมิ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการสง่ เสริม การลงทุน ถ้ามี (6) แผนผงั แสดงบริเวณท่าเรือ และ สง่ิ ปลูกสร้างภายในบรเิ วณท่าเรือ (7) แผนทส่ี ังเขป แสดงเสน้ ทางคมนาคมเขา้ ออกท่าเรือ (8) แผนท่ี สังเขปแสดงทต่ี ั้งทา่ เรอื นั้น และท่าเรอื อ่ืนท่ีใช้บรรทกุ หรอื ขนถา่ ยสนิ ค้าประเภทเดียวกัน ซ่งึ ต้ังอยู่ใน บริเวณใกลเ้ คียง (9) อตั ราค่าบริการทเี่ รียกเก็บจาก ผอู้ น่ื กรณที ี่ท่าเรอื นนั้ ใหบ้ รกิ ารแกผ่ อู้ ื่นดว้ ย (10) เอกสารและหลักฐานอืน่ ถ้ามี อายขุ องใบอนญุ าต ใบอนญุ าตใหป้ ระกอบกจิ การทา่ เรอื ให้มอี ายตุ าม ระยะเวลาที่กาหนดไว้ในใบอนุญาต ซึง่ ตอ้ งไม่เกิน 15 ปี นับแต่วันออกใบอนุญาต ในกรณีทีใ่ บอนุญาตให้ ประกอบกิจการท่าเรือซงึ่ ยงั ไม่สิน้ อายุสญู หาย หรือ ชารุด เสียหายใน สาระสาคัญ ให้ผู้รบั อนญุ าตขอใบ แทนใบอนุญาตจากอธิบดกี รมการขนส่งทางนา้ และ พาณิชยนาวี โดยยื่น คาขอ ณ กรมการขนส่งทางนา้ และพาณชิ ยนาวี 4 ตามแบบและวธิ ีการทีก่ าหนด
การอนุญาตทา่ เรอื เดินทะเล
การขนย้ายสนิ คา้ ในทา่ เรอื จดั เปน็ เทคโนโลยที ่ี ต้องการการบรหิ ารจัดการ เนอ่ื งจากแต่ละทา่ จะ แขง่ ขนั กันเป็นนาทีในการยกสินคา้ ข้นึ และลง ทง้ั น้ี ในปจั จบุ ันระบบการจัดการทา่ เรือ ทีเ่ รียกว่า Port Automation จะท าหน้าทีใ่ นการจดั การ ท่าเรือ ในระบบท่ีใช้ Computer และหนุ่ ยนตใ์ น การขนย้ายคอนเทนเนอร์หนา้ ท่า การขนย้ายสินคา้ ในท่าเรือ มีกระบวนการ ดังต่อไปน้ี 1.Stacking Lanes เปน็ การจดั ย้าย สินค้าไปวางเรียงกอง ซงึ่ จะมีการวางเปน็ ช้นั ที่ เรียกวา่ Stack ซึ่ง โดยปกติจะมกี ารวางเรยี ง คอนเทนเนอรไ์ ว้ 4-5 ชน้ั โดยมคี วามกว้างของ ชอ่ งทาง ทีเ่ รียกวา่ Gantry Crane เปน็ เครอื่ งมอื ในการขนยา้ ย ซึ่งปัจจบุ นั ในหลายทา่ ได้ นาระบบ Computer Right เข้ามากาหนด Location ใน การวางตู้ โดยมีหอ Control Room ใชใ้ นการควบคุมการท างาน 2.การ 5 เคลอ่ื นย้ายคอนเทนเนอร์ไปไว้หน้าท่า ซึง่ อาจจะใช้
การขนย้ายคอนเทนเนอรใ์ นท่าเรอื
ตวั Gantry Crane หรืออาจอาศยั รถยกที่ เรียกวา่ Top ทาหนา้ ท่ีในการเคล่อื นย้าย 3.การ Slot Stacking เป็นการยกต้สู ินคา้ ทวี่ างอยู่ บริเวณหนา้ ทา่ Quay ขนึ้ ไปวางไว้บนเรือ โดยมี Quay Crane คอื Crane ทอ่ี ยู่หนา้ ทา่ ทาหน้าทีใ่ น การขนยา้ ย สาหรับ ประเทศไทยมีท่าเรือหลักที่ส าคญั คอื ท่าเรอื กรงุ เทพฯ จะมีตเู้ ข้า-ออก ประมาณเกือบ 1 ล้าน ตูต้ ่อปี และท่าเรอื แหลม ฉบัง จะมตี เู้ ขา้ และออกประมาณ 2.9-3.0 ลา้ น TEU นอกจากน้ียงั มี ทา่ เรอื มาบตาพุด , ทา่ เรอื น้ าลึก สงขลา , ทา่ เรือสตูล ซงึ่ ประเทศไทยเอง ก็คง จะต้อง แข่งขนั กับหลายประเทศ ไมว่ ่าจะเป็น สงิ คโปรห์ รือ ฮ่องกง ซ่งึ จะมตี ูเ้ ขา้ -ออก ปีละ ประมาณ 17.04 ล้าน TEU 6
การขนย้ายคอนเทนเนอรใ์ นท่าเรอื
ชนดิ หรอื ขนาดของตคู้ อนเทนเนอร์ การขนส่งสนิ คา้ ดว้ ย Container Vessel นน้ั สินคา้ จะต้องบรรจใุ นตคู้ อนเทน เนอร์ หากผู้ขายเป็นผู้ บรรจุ กจ็ ะเรียกว่า Term CY คือ Consignee Load and Count หากบรษิ ทั เรอื เปน็ ผู้ บรรจตุ ู้สินค้าในทา่ เรอื หรอื ใน ICD (Inland Container Depot) ซ่ึงตวั แทนบรษิ ทั เรอื เปน็ เจา้ ของสถานที่ กจ็ ะเรียก ลักษณะการขนส่ง แบบนี้วา่ CFS (Container Freight Station) โดยสินคา้ ทจี่ ะเปน็ Term CY ไดน้ ้ัน จะตอ้ งเป็น สินค้าประเภทเตม็ ตทู้ ่เี รยี กวา่ FCL (Full Container Load) ส่วนใน Term CFS ก็สามารถเป็นไดท้ ้ังทเี่ ป็น FCL และ การบรรจุแบบรวมต(ู้ Consolidated) คอื สินคา้ นอ้ ยกวา่ 1 ตู้ ซึ่งเรียกว่า LCL (Less Container Load) ส าหรบั Containers ท่ใี ช้ในการบรรจุนสี้ ว่ นใหญ่ จะมี ขนาดดงั น้ี 1.ขนาด 20 ฟุต เปน็ ตู้ทม่ี ี Outside Dimension คอื ยาว 19.10 ฟุต และกวา้ ง 8.0 ฟุต สงู 8.6 ฟตุ โดยมนี ้ าหนกั บรรจตุ ูไ้ ด้สงู สดุ ประมาณ 32-33.5 CUM (ควิ บกิ เมตร) และน้ าหนกั บรรจุตไู้ ดไ้ มเ่ กิน 21.7 ตัน 7 2.ตูข้ นาด 40 ฟุต จะมคี วาม
การขนย้ายคอนเทนเนอรใ์ นท่าเรอื
ยาว 40 ฟตุ กว้าง 8 ฟุต สงู 9.6 ฟุต (Hicute) โดยสามารถบรรจสุ นิ คา้ ได้ 76.40 – 76.88 CUM และบรรจุสินค้าน้ าหนกั สูงสดุ ได้ 27.4 M/T ซ่งึ จะเปน็ น้ าหนกั ส าหรบั สนิ คา้ ประเภท Dry Cargoes สาหรับ การขนส่งสินค้าดว้ ย ระบบตูค้ อนเทนเนอร์ ได้รบั การยอมรับวา่ เป็น รูปแบบการขนส่ง มาตรฐาน โดยคิดเป็นสัดสว่ น ประมาณถงึ 95 % ของการขนส่งสินค้าทางทะเล ทัง้ นี้ ผปู้ ระกอบการขนส่งด้วยระบบต้คู อนเทน เนอร์ จะมเี พียงไม่มากราย เมือ่ เทียบกบั ปริมาณ ของ การขนสง่ โดยผ้ใู หบ้ รกิ ารสายการเดินเรือ ซง่ึ เรยี กว่า Carrier จะมกี ารรวมตวั กนั เป็นชมรม (Conference) ซงึ่ จะมบี ทบาทตอ่ การ กาหนดคา่ ขนส่งสินคา้ และคา่ บรกิ ารในอัตราที่ บางครั้งมีลักษณะก่งึ ผกู ขาด 8
การขนส่งทางบก
อนึง่ ชมรมสายการเดินเรอื ทส่ี าคญั ของโลก อาจ ประกอบดว้ ย 1.Far Eastern Freight Conference (FEFC) จะเป็นบรกิ ารรบั ขนสินคา้ จากเอเซียไปยโุ รป โดย เน้น ท่สี นิ ค้าทไี่ ปทางทะเล เมดิเตอรเ์ รเนยี น ซึ่งจัดได้ว่า เป็นอาณาบริเวณซึ่งมีการขยายตัวประมาณ 24 % และ สนิ ค้าท่ีไปทางรัสเซียด้านตะวันออก St.Petersburg 2.Asia / West Coast South America จะเป็นการ เดินเรือในด้านตะวนั ตกของเอซยี จนไปถงึ ทวีป อเมริกาใต้ 3.Informal Rate Agreement (IRA) ชมรมน้จี ะ ครอบคลุมธรุ กิจจากเอเชียไกล ไปถงึ เอเชียภาค ตะวนั ออก กลาง ครอบคลมุ ไปถึงเกาหลี , จนี , ฮอ่ งกง , ใตห้ วัน , เวยี ดนาม , ไทย , ฟิลปิ ปินส์ , มาเลเซยี , สิงคโปร์ และ อินโดนีเซีย 4.Trans Pacific ครอบคลมุ อาณาบรเิ วณรมิ มหาสมทุ รแปซฟิ ิก ออสเตรเลีย , นวิ ซแี ลนด์ ,อเมรกิ า West Coast 9
การขนส่งทางบก
การขนสง่ สมัยใหม่ดว้ ยเครอ่ื งจักรกลเกดิ ข้ึนภายหลัง จากการน้าเครอ่ื งจกั รไอน้ามาใช้ เคร่ืองจักรไอนา้ นา้ มาใช้เปน็ ตน้ กา้ ลังของเรอื และรถไฟ โดยใชถ้ ่านหนิ และ ฟนื เป็นเชอ้ื เพลงิ ตอ่ มามีการพฒั นาเครอ่ื งยนต์ สันดาปภายใน และน้ามาใช้กบั รถยนต์ เครอื่ งยนต์ สันดาปภายใน มคี วามสะดวกและเครื่องยนตม์ ขี นาด เล็ก จงึ มีการนา้ ไปใช้กับเรือและรถไฟ การใช้ เครื่องจกั รไอนา้ ขับเคลอ่ื นยานพาหนะจึงคอ่ ย ๆ หมด ไป ววิ ฒั นาการการใชเ้ คร่อื งยนตส์ นั ดาป ภายใน เป็นไปตามความตอ้ งการขนส่ง ผู้ใชบ้ รกิ ารขนสง่ มี ความต้องการการขนส่งทร่ี วดเรว็ และขนสง่ คร้ังละ ปริมาณมาก ยานพาหนะขนส่งจึงต้องพฒั นาให้ สอดคล้องกับความต้องการของลูกคา้ ปจั จบุ นั เครอ่ื งบนิ มขี นาดใหญส่ ามารถขนผูโ้ ดยสารได้ 500- 600 คน เรอื บรรทกุ สนิ ค้าไดก้ ว่า 300,000 ตันรถไฟ บรรทกุ สินคา้ ไดห้ ลายพันตัน และรถยนต์ท้งั รถบรรทุก และรถโดยสารขนผูโ้ ดยสารและสนิ คา้ ไดม้ ากขน้ึ 10 นอกจากน้ี ยานพาหนะจะมีขนาดใหญบ่ รรทกุ คน
การขนส่งทางบก
และสินคา้ ไดม้ ากแลว้ ยงั มคี วามรวดเรว็ และเชื่อถอื ได้ อกี ด้วย อุตสาหกรรมขนส่งดว้ ยรถยนต์ (motor carrier ) มีความสา้ คัญกับการพฒั นาเศรษฐกิจของ ประเทศ รถยนตม์ ีความไดเ้ ปรยี บในการเขา้ ถึงชมุ ชน และพน้ื ท่ี ได้ดีกวา่ รปู แบบการขนส่งอ่นื ขนาดการ บรรทกุ ของ รถยนตม์ ีปรมิ าณไมม่ าก ท้าให้ไดเ้ ปรยี บ ทางเศรษฐกิจในการใหบ้ ริการระยะทางสน้ั ขณะทเี่ รอื และรถไฟมีความได้เปรยี บด้านต้นทนุ เม่อื ขนสง่ ใน ระยะทางไกลและขนปรมิ าณมาก ขอ้ จ้ากดั การ ให้บรกิ ารของเรือคอื ตอ้ งอาศัยแมน่ ยา้ หรอื ชายฝ่งั ทะเล และต้องมีความลึกพอทเี่ รือจะเดนิ ได้ ซง่ึ แต่ละ ประเทศกม็ ีความแม่นย้าทสี่ ามารถเดนิ เรือได้จา้ กดั ดงั นัน้ พื้นที่ทไี่ ม่มีน้า เรือก็เดินไมไ่ ด้ จึงไมส่ ามารถ ให้บริการ ขณะที่รถไฟเดินไปตามราง เครอื ข่ายรถไฟ มีจ้ากัด รถไฟจงึ ให้บรกิ ารไดเ้ ฉพาะในเส้นทางท่มี ีราง เทา่ นัน้ 11
การขนส่งทางบก
การขนสง่ ด้วยรถยนต์ พัฒนาไปอยา่ งรวดเร็ว ภายหลงั สงครามโลกครงั้ ที่ 2 รถยนต์มกี ารพฒั นาด้าน เทคโนโลยี เครื่องยนต์อย่างตอ่ เน่อื ง เครอ่ื งยนตม์ กี า้ ลังมากขน้ึ ทา้ ให้ บรรทุกไดม้ าก และมีความเรว็ ขึ้น รวมทัง้ เครอื่ งยนต์และ อุปกรณ์ มคี วามเชอ่ื ถอื ไดอ้ ีกดว้ ย ปัจจยั ส้าคัญในการพัฒนาการขนสง่ ดว้ ยรถยนต์ คอื เครอื ข่ายถนน ประเทศต่าง ๆ ลงทุนสร้าง เครอื ข่ายถนน มากขึน้ และมีการปรบั ปรุงถนนตลอดเวลา การลงทนุ สรา้ งถนนของรฐั ทา้ ให้รถยนต์เข้าถึง พ้นื ท่ีได้กวา้ งขวาง การขนสง่ สนิ ค้าและผ้โู ดยสารด้วยรถยนตจ์ ึงมอี ัตราเตบิ โต สูง ในทศวรรษ 1950 รถไฟในสหรัฐอเมริกา มีบทบาทสา้ คัญ ในการขนส่งสนิ ค้า โดยในปี 1950 รถไฟ ขนส่งสินค้า ระหวา่ งเมือง 1,400 ล้านตัน ขณะทีร่ ถบรรทกุ ขนเพียง 800 ล้านตนั เทา่ น้นั ต่อมาในปี 1980 รถไฟขน1,600 ลา้ นตนั แตร่ ถบรรทุกขนเพ่ิมเป็น 2,000 ล้านตนั และในปี 2000 รถไฟขน 2,100 ล้านตนั ขณะทร่ี ถบรรทกุ ขน 12 4,250 ลา้ นตนั (ตามตาราง 4-1) ปริมาณการขนสินค้า
การขนส่งทางบก
ระหว่างเมอื งด้วยรถบรรทุกในปี 1990กบั 2,600 ลา้ นตัน หรอื เท่ากบั 750 พันลา้ นตนั -ไมล์ หรือสนิ คา้ 1 ตนั เฉลีย่ ระยะทางขนสง่ 288.46 ไมล์ และปี 2000 เทา่ กบั 4,250 ลา้ นตนั หรือ1,200 พนั ลา้ นตนั -ไมล์ หรอื สนิ ค้า 1 ตนั เฉลีย่ ระยะทางขนสง่ 282.35 ไมล 13
การขนส่งทางบก
ตามกฎหมายการขนสง่ กา้ หนดอปุ กรณข์ นสง่ และ น้าหนกั กรรรทุก ดกงน ้ ลกกษณะรถ รถท ใ่ ชส้ ้าหรกร ขนสง่ สนิ คา้ แรง่ เปน็ 9 ลกกษณะ ดกงน ้ 1) รถกระระรร รทุก ครอรคลมุ รถรรรทุกม หรอื ไม่ม คอก หรือไมม่ อปุ กรณ์ยกหรอื เทของ ม หลกงคา หรอื ไม่ม หลกงคาก็ ได้ 2) รถตรู้ รรทุก ครอรคลมุ ถึงรถตู้ทึร ม รานประตูปดิ เปดิ ประตสู า้ หรกรถา่ ยดา้ นขา้ งหรอื ดา้ นท้ายก็ได้ 3) รถรรรทุกของเหลว ม ถกงส้าหรกรรรรทุกของเหลว 4) รถรรรทกุ วกสดุอกนตราย ครอรคลุมนา้ มกนเช้ือเพลงิ ก๊าซเหลว สารเคม วกตถุระเรดิ และอนื่ ๆ 5) รถรรรทุก เฉพาะกจิ ครอรคลมุ รถรรรทุกเคร่อื งด่มื ขยะมลู ฝอย รถผสมซ เมนต์ และอื่น ๆ 6) รถพ่วง ครอรคลมุ ถึงรถ พว่ งท ่น้าหนกกรถรวมน้าหนกกรถรรรทุกทกง้ หมด ลง รนเพลาลอ้ ตกวเอง และ ต้องใชร้ ถอื่นลากจูง 7) รถกึง่ พ่วง ครอรคลมุ รถพ่วงท น่ ้าหนกกรถรวมนา้ หนกกรร รทุกรางสว่ น เฉล ย่ เพลาล้อของรถคกนลาก จงู 8) รถ 14 กงึ่ พ่วงรรรทุกวกสดุยาว เปน็ รถกงึ่ พว่ งโครงโลหะท้่ี สามารถปรกรความยาวชว่ งล้อระหวา่ งรถลาก จูง
การขนส่งทางบก
9) รถลากจูง เป็นรถส้าหรกรลากจูงรถพว่ ง รถก่ึงพว่ ง บรรทกุ วกสดยุ าว เครื่องอปุ กรณ์และส่วนควรรถ รถท ก้ง 9 ลกกษณะท ก่ ล่าวมานกน้ ต้องม ขนาดตาม มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ เก่ยี วกกรความกว้าง ความสูง ความยาว สว่ นยนื่ หน้าและสว่ นยืน่ ท้าย ดงั นี้ 1) ความกว้าง ความกวา้ งของตกวถกงรถส่วนประกอ รข้างตกวถกงท ย่ นื่ ออกจากตกวรถ แต่ไมร่ วมกระจก เงา สา้ หรกรมองหลกง ดา้ นข้างต้องไมเ่ กิน 2.50 เมตร และตกวถกงหรือส่วนประกอรของตกวถกงจะยื่นเกนิ ขอ รยางดา้ น นอกของเพลาท้ายได้ไมเ่ กิน 1.5 เซนติเมตร 2) ความสงู ความสูงที่สุดของรถเมอ่ื วกดจากพน้ื ราร ตอ้ งไมเ่ กิน 3.8 เมตร สา้ หรกรรถต้รู รรทกุ ท ม่ ความ กวา้ งไมเ่ กิน 2.3 เมตร ให้มีความสงู ได้ไม่เกนิ 3 เมตร 3) ความยาว ความยาวของรถรรรทุกตามลกกษณะ 1,2,3,4,5 และ 9 เม่ือวกดจากกกนชนหน้าถึงสว่ น สดุ ทา้ ยของรถต้องไมเ่ กิน 10 เมตร ความยาวของรถรร 15 รทุกลกกษณะ 6 ไมเ่ กิน 8 เมตร และรถรรรทุกลกกษณะ 7 และ 8 ยาวไมเ่ กิน 12.5 เมตร
การขนส่งทางบก
4) สว่ นยนื่ หนา้ รถรรรทกุ ลกกษณะ 1,2,3,4,5,6 และ 9 เม่ือวกดจากส่วนหนา้ สุดของรถไมร่ วมกกน ชนถงึ ศนู ย์กลางเพลาลอ้ หน้าตอ้ งไม่เกินกึ่งหนงึ่ ของชว่ งล้อ รถรรรทุกลกกษณะ 7 และ 8 เม่อื วกดจากส่วนหน้าสุด ของรถ ไม่รวมกกนชนถงึ ศูนย์กลางสลกกพ่วงตอ้ งไม่เกิน ก่ึงหน่ึงของชว่ งลอ้ 5) สว่ นย่นื ท้าย รถรรรทุกลกกษณะ 1,2,3,4,5,6 และ 9 สว่ นย่นื ทา้ ยของรถเมือ่ วกดจาก ส่วนทา้ ยของ ตกวถกง สว่ นรรรทกุ ไม่รวมกกนชนถงึ ศนู ยก์ ลางเพลาล้อท้าย หรือศูนย์กลางระหว่างเพลาคู่ ทา้ ยต้องม ความยาวไป เกนิ ก่ึงหนงึ่ ของชว่ งลอ้ ยกเว้น รถรรรทกุ ต้ทู ึรและรถท ่ม ทางขน้ึ ลง หรือตดิ ตก้ง อุปกรณ์ขนถ่ายสินคา้ ดา้ นท้าย ส่วนรรรทกุ ย่นื ท้ายรถได้ ไมเ่ กิน 2 ใน 3 ของช่วงล้อ ส้าหรกร รถรรรทุกลกกษณะ 7 และ 8 สว่ นยนื่ ท้ายของรถ เม่ือวกดจากสว่ นท้ายสุด ของตกวถกงสว่ นรรรทุก ไมร่ วมกกนชนถึงศนู ย์กลาง ระหวา่ งเพลาคูท่ ้ายยืน่ ได้ไมเ่ กนิ 2 ใน 5 ของชว่ งล้อ 16
การขนส่งทางบก
6) รถรรรทกุ ลกกษณะ 5,6,7 และ 8 ท เ่ ป็นรถรรรทกุ เฉพาะกจิ อาจม ความกวา้ ง ความสงู ความยาว ส่วน ยื่นหนา้ และยน่ื ทา้ ย เกนิ กว่าท ่กา้ หนดได้ หากม ความ จ้าเป็นตามลกกษณะการใช้งานเฉพาะกิจ แต่ต้องไดร้ กร ความเห็นชอรจากกรมการขนส่งทางรก 7) พิกกดนา้ หนกกของรถรรรทุก พิกกดน้าหนกกรรรทกุ ของรถข้ึนอยกู่ กรจา้ นวนเพลา ซึ่งแรง่ ได้เป็น 6 ลก กษณะตามตารางที่ 4-7 17
การขนส่งทางบก
ขอ้ ก้าหนดเกยี่ วกกรการรรรทกุ พระราชรกญญกติจราจร ทางรก พ.ศ.2522 ก้าหนดการรรรทุก1.ไม่เกนิ ความกว้าง ของรถ 2.ดา้ นหน้ายน่ื ไม่เกนิ หน้าหมอ้ หรือกกนชน ด้าน หลักงยน่ื พ้นจากตกวรถไม่เกนิ 2.5 เมตร สา้ หรกรรถพว่ ง ดา้ นหลกงยน่ื พน้ รถพว่ งไม่เกนิ 2.5 เมตร 3.ใหร้ รรทกุ สูงไม่ เกิน 3.0 เมตร จากพ้นื ทาง เวน้ แต่รถรรรทุกทีม่ คี วาม กวา้ งของรถเกิน 2.3 เมตร ให้รรรทุกสูงไม่เกิน 3.8 เมตร กรณี รถรรรทุกคอนเทน เนอร์สูงไมเ่ กิน 4.0 เมตรจากพืน้ ข้อกา้ หนดเกยี่ วกกรความเร็วของรถ ความเร็วของ รถบรรทุกตามกฎกระทรวงท อ่ อกตามความในพระราช รกญญกติจราจรทางรก พ.ศ.2522 ดกงน 1้ .รถรรร ทกุ ท ม่ น้าหนกกรถรวมน้าหนกกรรรทกุ เกนิ 1,200 กโิ ล กรกม ในเขตกรุงเทพมหานคร เขตเมอื งพกทยา หรือเขต เทศราลให้ขกรไม่เกิน 60 กโิ ลเมตร หรอื นอกเขตดกงกล่าว 18
การขนส่งทางบก
ขอ้ ไดเ้ ปรียบรถบรรทุก : Advantages of Carriers รถบรรทุกมีข้อไดเ้ ปรยี บ ดังน้ี 1.รวดเรว็ : Speed รถบรรทกุ จัดเปน็ บรกิ ารขนส่งทีร่ วดเร็ว ความรวดเรว็ อยู่ทย่ี านพาหนะที่สามารถ เดนิ ทางดว้ ยความเร็วสงู รถบรรทกุ ขนสนิ ค้าไม่ไดม้ าก ดังน้นั จงึ ใชเ้ วลานอ้ ยใน การรวบรวมสินค้า ใหเ้ ตม็ คันรถ ( full truck load : FTL) รวมท้ังการขนถ่าย สนิ คา้ ข้ึนรถและออกจากรถ ใช้เวลานอ้ ย ความรวดเร็วการขนสง่ ช่วยลดวงจรเวลา สงั่ ซอ้ื (Oder cycle time) ท าใหล้ ดสนิ คา้ คงคลัง และลดความสูญเสยี ที่ เกดิ จากวสั ดุเสือ่ มสภาพรวมถึง สินคา้ หมดสมยั อีกด้วย 2.เป็นบริการขนส่งจากทีถ่ ึงที่ : Door-to–Door Service รถบรรทุกสามารถเดินทาง ไปตามถนนใหญ่ เรือเล็กหรือแม้แต่ไม่มถี นน หากไมม่ ี สิง่ กีดขวางหรือสง่ิ ที่เปน็ อปุ สรรคจนเกินขีด ความสามารถของรถบรรทกุ ดงั น้ัน รถบรรทุกจงึ สามารถเดนิ ทางไปสถานท่ตี า่ ง ๆ เพ่ือบรรทกุ และขน 19 ถา่ ยสนิ ค้าไดด้ กี วา่ รปู แบบ การขนสง่ อ่ืน
การขนส่งทางบก
บรกิ ารขนส่งแบบจากท่ถี ึงท่ี หมายถงึ การใช้ ยานพาหนะคนั เดยี วกัน บรรทกุ สนิ คา้ จากต้นทางไปถงึ ปลายทางโดยสนิ ค้าไม่ตอ้ งเปลย่ี นถ่ายยานพาหนะ รถบรรทกุ เมอ่ื บรรทุกสนิ ค้าจากตน้ ทางจะเดนิ ทางตรง ไปยงั ปลายทาง โดยสินค้าไม่ตอ้ งเปล่ยี นถ่าย ยานพาหนะ เชน่ บรรทกุ สินคา้ จากโรงงานในกรงุ เทพฯ ไปให้ลกู คา้ ที่เชยี งใหม่ไดโ้ ดยตรง การขนส่งรปู แบบอ่นื จะตอ้ งมีการการขนถ่ายเปลี่ยนยานพาหนะ เช่น ขนสง่ สินคา้ จากโรงงานในกรุงเทพฯ ไปยังร้านคา้ ท่ีเชียงใหม่ ด้วยรถไฟ บรษิ ทั ต้องขนสินค้าจากโรงงานด้วย รถบรรทุกไปขน้ึ รถไฟ เมือ่ รถไฟถงึ เชยี งใหมก่ ็จะต้องขน ถ่าย สนิ คา้ ออก จากรถไฟไปข้ึนรถบรรทกุ เพอ่ื ไปยงั ปลายทางที่ตอ้ งการข้อไดเ้ ปรยี บรถบรรทุกท่ีใหบ้ ริการ แบบจากทีถ่ ึงท่ี ท าใหส้ ง่ มอบสนิ คา้ ได้รวดเร็ว ลด ค่าใชจ้ า่ ยขนถา่ ย ซ้ าซ้อน ลดความเสียหายและสูญ หายสนิ ค้าระหว่างขนถ่ายเปลย่ี นยานพาหนะอกี ด้วย 20
การขนส่งทางบก
3.เครอื ข่ายครอบคลมุ : Extensive Road Network รฐั บาลลงทนุ สร้างถนนเช่ือมโยงภูมิภาค จังหวดั อาเภอและหมบู่ ้าน เครือขา่ ยถนนทีเ่ ช่อื มโยงกัน ท าให้รถบรรทกุ สามารถเขา้ ถงึ ได้ทกุ แห่ง ขณะที่ รปู แบบการ ขนสง่ อนื่ มีเครือข่ายจ ากดั จึง ใหบ้ รกิ ารจ ากดั อยู่บางพื้นที่ 4.การแขง่ ขันสูง : High Competition ตลาดรถบรรทุกมีการแข่งขนั มากหรือ นอ้ ยข้ึนอยู่กับนโยบาย ของแต่ละประเทศ ประเทศทม่ี ี นโยบายใหผ้ ู้ประกอบการมากราย และอนุญาตใหม้ ี รถบรรทกุ สว่ นบคุ คล การ แข่งขนั จะมมี าก ประเทศท่ี มกี ารควบคมุ จ านวนผปู้ ระกอบการ และหรือไม่ อนุญาตใหม้ รี ถบรรทกุ สว่ นบคุ คล การ แข่งขนั กจ็ ะมี น้อย ปัจจบุ นั ประเทศสว่ นใหญ่ มนี โยบายผอ่ นคลาย กฎระเบียบ (deregulation) การขนสง่ ท า ให้มีการ แข่งขนั ซงึ่ การแข่งขันมีผลตอ่ อตั ราค่าขนสง่ และ คณุ ภาพบรกิ าร 21
การขนส่งทางบก
5.ความเสียหายน้อย : Low Damage การขนสง่ สินคา้ ดว้ ยรถบรรทุกมคี วามรวดเรว็ สนิ ค้าอยูบ่ น ยานพาหนะระยะเวลาสัน้ ประกอบกบั ถนนได้มาตรฐาน และยานพาหนะมรี ะบบกนั สะเทอื นดี จึงลดความ เสยี หายสินคา้ ผรู้ ับสินคา้ ได้รับสนิ ค้าในสภาพสมบูรณ์ ซง่ึ ช่วยลดสนิ คา้ คงคลัง 6.บรรทกุ สินคา้ ปริมาณไม่ มาก : Small Carrying รถบรรทกุ ขนสนิ ค้าได้นอ้ ย เม่ือเปรียบเทียบกบั รูปแบบการขนสง่ อ่ืน ท าให้ใช้เวลา นอ้ ยในการรวบรวมและสง่ มอบสินคา้ รวมท้งั ขนถา่ ย ใชเ้ วลานอ้ ย สนิ คา้ จึง ถงึ ผู้รบั เร็ว ลดปริมาณสินคา้ คง คลังของลกู ค้า และเพ่มิ ระดบั การบริการลกู ค้า7. สามารถสนองความตอ้ งการของลกู คา้ : Meeting Customer Requirements ผ้ปู ระกอบการ ขนสง่ ด้วยรถบรรทุกมีจ านวนมาก และสว่ นใหญเ่ ป็น ผปู้ ระกอบการรายย่อย ท าให้สามารถดแู ลลกู คา้ แต่ ละ รายได้มาก ผ้ปู ระกอบการในอตุ สาหกรรมนย้ี ังคง ให้บริการตอบสนองความต้องการของลกู คา้ อยา่ ง 22 ม่ันคง และ ผสู้ ่งของกย็ งั คาดหวงั จากผ้ปู ระกอบการ
การขนส่งทางบก
Search