๔๗ กจิ กรรมสถานศกึ ษาปลอดภัย โรงเรียนบา้ นปา่ ดวนพังหาด 3.2 การปฏิบัตเิ มื่อเกดิ เหตเุ พลิงไหม้ ประกอบด้วย 1) แผนการดบั เพลงิ 2) แผนการอพยพหนไี ฟ 3.3 การปฏิบตั ิภายหลังเพลงิ สงบ 1) แผนบรรเทาทกุ ข์ 2) แผนการฟน้ื ฟบู รู ณะ 4 รายละเอยี ดการปฏิบตั ิ 1.1 การปฏบิ ัตกิ ่อนการเกิดเหตุเพลิงไหม้ ประกอบดว้ ย 1) แผนการตรวจตรา เปน็ แผนการเฝา้ ระวงั ป้องกันและสารวจตรวจตราระบบความปลอดภัยและความ เรียบรอ้ ยของอาคาร สถานท่ี อุปกรณ์ เครอ่ื งมือ เครอ่ื งใช้ โดยดาเนนิ การดังนี้ - จดั ตงั้ ครแู ละบคุ ลากรในการดาเนินการตามแผนการตรวจตรา - จัดทาแผนการตดิ ต้ังเคร่ืองมือ อุปกรณ์ เช่น ถังดับเพลิงแบบมือถือชนดิ ผงเคมีแห้ง สัญญาณแจ้งเหตุ และปา้ ยเตอื นเป็นต้น - สารวจตรวจตราความปลอดภัยของอาคาร เครอ่ื งมอื อุปกรณ์ในการดับเพลิง และอน่ื ๆให้เป็นไปตาม กฎหมายกาหนด - สารวจตรวจตราความปลอดภัยบริเวณ อาคาร สถานที่ วัสดุ ซ่ึงอาจเป็นจุดเริ่มตน้ ทที่ าให้เป็นสาเหตุ การเกิดอคั คีภัย หากพบบรเิ วณใดเปน็ จุดเส่ียงตอ่ การเกิดอัคคีภยั ใหร้ บี แก้ไขหรอื เพมิ่ ความระมดั ระวงั เปน็ พเิ ศษ - ทดสอบประสิทธิภาพการทางานของระบบสัญญาณแจง้ เหตเุ พลิงไหม้ รวมถึงการซอ่ มบารงุ และตรวจ ตราป๊มั น้า สายท่อน้าและถังดบั เพลิง อุปกรณ์ดับเพลงิ ภายในอาคารใหใ้ ชง้ านได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ - ทุกคนสารวจ ตรวจตราอปุ กรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า สายไฟปลั๊กไฟ ให้อยใู่ นสภาพที่สมบูรณ์ใชง้ านได้ดี ไม่ มีเสียหายหรือชารุด ตลอดจนกาจดั แหลง่ สะสมเช้อื เพลงิ เชน่ กระดาษ และวัสดอุ น่ื ๆที่ตดิ ไฟไดง้ ่าย เป็นตน้ - จัดทาผังการติดต่อส่ือสาร หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยงาน ผู้ดูแลอาคาร หรือห้องเวรรักษาความ ปลอดภัย สถานีตารวจในพืน้ ท่ี และสถานดี บั แพลงิ ใกล้เคียงโดยทาป้ายติดใหช้ ดั เจนและทว่ั ถงึ 2) แผนการอบรม เป็นแผนให้ความรู้เก่ยี วกับการป้องกันและระงบั อัคคีภัย และการอพยพหนไี ฟสาหรับ ครู นกั เรียน ผู้ปกครอง และบุคลากรทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี - การฝึกอบรมให้ความรู้ เพ่อื ให้ครู นักเรยี นผู้ปกครอง และบุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ งมีความรู้ความเข้าใจใน เรือ่ งการดับเพลิงเบือ้ งต้น วิธีใช้อุปกรณด์ บั เพลงิ ประเภทต่างๆ - การดูแลอุปกรณ์ดับเพลิงภายในโรงเรียน รวมถึงทราบตาแหน่งท่ีต้ังเมนสวิทซ์ตัดตอนทางไฟฟ้า )cut-out( ถังดับเพลิงภายในโรงเรียนและชุมชนของตนหรือใกล้เคียง และวิธีปฏิบัติในการตัดกระแสไฟฟ้าใน กรณีฉุกเฉิน และพร้อมที่จะตัดไฟได้เม่ือเกิดมีเหตุเพลิงไหม้ ทราบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ )Fire Alarm( โดย สัญญาณดังกล่าวจะต้องให้ทุกคนท่ีอยู่ภายในอาคารได้ยินท่ัวถึงกัน ทราบวิธีการแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และการ รายงานผู้บังคบั บญั ชา ตลอดจนเรยี นรวู้ ธิ กี ารปฐมพยาบาลการช่วยเหลือเบือ้ งต้นในกรณฉี กุ เฉนิ - การฝึกซ้อม ฝึกปฏิบัติโดยการฝึกซ้อมการระงับอัคคีภัยและอพยพหนีไฟตามความเหมาะสมอย่าง น้อยปลี ะ1ครั้ง
๔๘ กิจกรรมสถานศกึ ษาปลอดภยั โรงเรียนบ้านปา่ ดวนพงั หาด 3) แผนการรณรงค์ป้องกนั อัคคีภยั โดยเน้นความสาคญั ของการป้องกันและระงับอัคคีภัย ให้ทุกคนได้มี ความรู้ที่ถูกต้องเก่ียวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย ตลอดจนสร้างจิตสานึกให้ทุกคนตระหนักในการป้องกัน และระงบั อคั คภี ัย 1.2 การปฏิบัติเมอ่ื เกิดเหตเุ พลิงไหม้ ประกอบดว้ ย 1) แผนการดบั เพลิง - การแจ้งเหตุ กรณีเหตใุ นเวลาราชการและนอกเวลาราชการ รายละเอียดขอ้ มลู การการติดต่อส่ือสาร ผังการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ ภาคผนวก ก . - การดับเพลงิ ขั้นต้น ผพู้ บเหตุการณ์คนแรกทาการดับเพลิงขั้นตน้ ด้วยถังดับเพลิงแบบมอื ถือ และหาก เป็นนอกเวลาราชการ ตอ้ งรู้ตาแหนง่ ที่ต้ังเมนสวิทซ์ตัดตอนทางไฟฟ้า )Cut –out ควรรี (บตดั ไฟลงก่อน รบี แจ้ง เหตุท่ีผู้อยู่เวรยามหรือหน่วยรักษาความปลอดภัย เพื่อช่วยกันดับเพลิง กรณีไม่สามารถควบคุมเพลิงได้ให้รีบปิด หน้าต่าง ประตู ในบริเวณท่ีเกิดเหตุโดยเร็วท่ีสุด ส่งสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ที่ใกล้ที่สุด แล้วแจ้งสานักงาน เทศบาลตาบลคูเมอื ง อาเภอเมืองสรวง จังหวัดรอ้ ยเอด็ สายดว่ น 191 และรายงานตอ่ ผบู้ ัญชาการเหตกุ ารณ์ 2) แผนการอพยพหนีไฟ เมือ่ เพลงิ ไหมข้ ึ้นลกุ ลาม ใหด้ าเนนิ การ ดงั น้ี - กาหนดให้มี “จุดนัดพบ” หรือ “จุดรวมพล” ที่ปลอดภัยสาหรับการอพยพเจ้าหน้าที่หนีไฟใน หน่วยงาน - บุคคลที่มีหน้าท่ีตามท่ีได้รับมอบหมายปฏิบัติหน้าที่ทันที เช่น ผู้ที่ทาหน้าท่ีขนย้ายทรัพย์สินและ เอกสารสาคญั ต่างๆ ใหร้ ีบอพยพหนไี ฟ เป็นต้น - ผู้นาทางหนีไฟ จะเป็นผู้นาทางอพยพหนีไฟไปตามทางออกท่ีกาหนดไว้เป็นจุดนัดพบหรือจุดรวมพล ห้ามหนีข้ึนข้างบนหากอาคารที่ตั้งไม่มีดาดฟ้า และไม่ควรผ่านด้านที่เกิดเพลิงไหม้ หากมีกลุ่มควันให้คลานต่า และหา้ มใช้ลฟิ ตเ์ ปน็ ทางหนีไฟ - ผู้มีหน้าท่ีตรวจสอบ ให้ตรวจสอบยอดพร้อมรายงานต่อผู้บังคับบัญชา หากพบว่ายังอพยพหนีไฟ ออกมาไม่ครบตามจานวนจริง จะไดท้ าการคน้ หาเพอ่ื ชว่ ยชวี ติ ตอ่ ไป - หน่วยปฐมพยาบาลทาการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในกรณีมีผู้เป็นลมบาดเจ็บหรือหมดสติให้รีบส่ง แพทย์ พยาบาลโดยเรว็ - ควบคุมไมใ่ ห้ใครกลบั เข้าไปในอาคารท่ีเกิดเพลงิ ไหม้เก็บสง่ิ ของส่วนตวั 1.3 การปฏิบัติภายหลังเพลงิ สงบ ประกอบไปดว้ ย 1) แผนการบรรเทาทุกข์ ปฏิบตั ติ อ่ เน่อื งจากขั้นตอนปฏิบัติเม่ือเกิดเหตุ ดังน้ี - ประสานงานหน่วยงานอ่นื ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น โรงพยาบาล - สารวจ ประเมนิ ความเสียหาย และรายงานสถานการณ์เพลงิ ไหม้ - การรายตวั ของเจ้าหนา้ ท่ีทุกฝา่ ย และกาหนดจดุ นัดพบหรอื จดุ รวมพลของบุคลากร 2) แผนการฟนื้ ฟบู รู ณะ - ใหค้ วามช่วยเหลอื และปฏิรูปฟนื้ ฟูบูรณะข้ันตน้ โดยการจัดตง้ั “หนว่ ยบรรเทาทุกข์” ร่วมกบั “หนว่ ย ระงับภัย” - ปฐมพยาบาลผบู้ าดเจบ็ และผปู้ ่วยจากเหตเุ พลงิ ไหม้ และดาเนินการนาสง่ อย่างถูกต้อง - ขนย้ายผ้ปู ระสบภยั และทรพั ย์สินไปยังทป่ี ลอดภยั
๔๙ กิจกรรมสถานศึกษาปลอดภยั โรงเรียนบ้านป่าดวนพงั หาด - สารวจความเสียหายและความตอ้ งการต่างๆ - ปฏิบัติการประชาสัมพันธ์เพ่ือเสริมสร้างขวัญและกาลังใจของเจ้าหน้าที่ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ โดยเรว็ - ปรบั ปรุงซ่อมแซมแก้ไขความเสียหายให้กลับคืนสูส่ ภาพปกติ - รักษาความสงบเรยี บร้อยของพ้ืนทเี่ กิดเหตุ 2. อัตรากาลงั บุคลากร 1) เจา้ หนา้ ท่ี ได้แก่ ครู บคุ ลากรในสถานศึกษา โดยแบง่ เป็น - ขา้ ราชการ 2 อัตรา - นกั เรียน 44 คน - ครอู ตั ราจา้ ง 3 อัตรา - ครูธรุ การ 1 อัตรา - พนกั งานราชการ 1 อัตรา 2) เจ้าหน้าท่ีภายนอกหนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ - เทศบาลตาบลคเู มอื ง - สถานตี ารวจภธู รเมืองสรวง - การไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าคเมืองสรวง - โรงพยาบาลเมอื งสรวง 3. การแบ่งมอบภารกิจ มดี งั นี้ 3.1 การกาหนดเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ให้มีการกาหนดหน้าท่ีปฏิบัติหน้าที่ต่างๆตามท่ีระบุไว้ในแผน ต้ังแต่ขั้นตอนการปฏิบัติก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุ โดยแบ่งชุดเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบ ประกอบ ไปดว้ ย 1) ผู้บัญชาการเหตุการณ์ คือ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านป่าดวนพังหาด หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย มี หนา้ ท่ีดังนี้ - สง่ั การใหช้ ดุ ปฏบิ ัติการดบั เพลงิ ทาการดบั เพลงิ เบื้องต้น - เม่อื ได้รบั รายงานวา่ ไม่สามารถควบคมุ เพลิงไหมไ้ ด้ ใหส้ ั่งการใช้แผนอพยพหนีไฟ - แจ้งให้ชุดประสานงานและประชาสัมพันธ์ให้ทราบเพ่ือขอกาลังสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกมา ชว่ ยเหลอื - ประสานงานกับชดุ ปฏบิ ตั ิการดบั เพลงิ และหน่วยที่เก่ียวขอ้ งเพื่ออานวยความสะดวก 2) ชดุ ประสานงานและประชาสัมพันธ์ มีหน้าทด่ี ังนี้ - ประกาศแจง้ เหตเุ พ่อื ใหเ้ จา้ หน้าทที่ ราบ - ประสานงานกบั หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี งข้องทั้งภายในและภายนอก - ประชาสัมพนั ธ์ ณ ศนู ย์อานวยการเฉพาะกจิ เพื่อควบคมุ สถานการณต์ ามคาสง่ั ของผบู้ ัญชาเหตุการณ์ - เตรียมข้อมูลแถลงขา่ วใหผ้ ู้บญั ชาการเหตุการณ์
๕๐ กิจกรรมสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรียนบา้ นปา่ ดวนพังหาด 3) ชดุ ปฏบิ ัตกิ ารดับเพลิง ทาหน้าท่ีดบั เพลิงเมื่อมกี ารลกุ ไหม้เกิดขึ้น โดยใชถ้ ังดับเพลงิ แบบมือถอื ท่มี อี ยู่ ตามช้ันต่างๆเพื่อทาการดับแพลิงในเบื้องต้นก่อน หากไม่สามารถควบคุมเพลิงได้ให้รายงานผู้บัญชาเหตุการณ์ เพือ่ ประสานขอความช่วยเหลือต่อไป 4) ชดุ สนับสนุนข้อมูลโครงสร้างอาคารและสาธารณปู โภค ทาหน้าท่ีนาเสนอข้อมูลแผนผังอาคาร ระบบ ไฟฟ้า ระบบประปา ตลอดจนอุปกรณ์ดับเพลิงของแต่ละช้ันในอาคารให้กับผู้บัญชาการเหตุการณ์และทีมกู้ชีพ กูภ้ ยั ทราบ เพ่อื ใช้เป็นขอ้ มูลในการพิจารณาวางแผนการบัญชาการดบั เพลงิ ต่อไป 5) ชุดเคล่ือนย้ายทรัพย์สินและเอกสารสาคัญ คือชุดท่ีได้รับมอบหมายจากผู้บริหารของหน่วยงาน ว่า เมื่อมีเหตเุ กิดขึ้นให้อนุญาตเคล่ือนย้ายทรัพย์สินที่มีค่า และเอกสารสาคัญไปยังศูนย์อานวยการเฉพาะกิจได้ทันที พร้อมทงั้ เคล่ือนยา้ ยทรัพย์ไม่ให้กีดขวางการดับเพลงิ 6) ชุดปฐมพยาบาล ทาหน้าท่ีทั้งในอาคารที่เกิดเหตุและท่ีศูนย์อานวยการเฉพาะกิจตลอดเวลา โดย จาแนกผู้บาดเจ็บมากให้แจ้งผู้บัญชาการเหตุการณ์ก่อน ประสานการส่งต่อไปยังโรงพยาบาลใกล้เคียง พร้อมทั้ง จดั ทาบัญชรี ายชื่อผบู้ าดเจ็บ การรกั ษาและรายงานเปน็ ระยะๆ ตอ่ ผ้บู ญั ชาการเหตกุ ารณ์ 7) ชดุ บัญชแี ละการเงิน ทาหนา้ ที่อานวยความสะดวกด้านค่าใช้จา่ ยพรอ้ มทั้งทาบัญชรี บั จ่าย 6.2 ข้อพงึ ปฏบิ ตั ิของเจา้ หน้าทที่ กุ คน มีดงั นี้ 1 เจา้ หนา้ ที่ทุกคนตอ้ งปฏิบัตติ ามกฎในเร่อื งความปลอดภัยในที่ทางาน ดังน้ี - ช่วยกันดูแลสารวจตรวจตราบริเวณพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย และห้องท่ีเก็บเอกสารไวไฟหรือ วัสดุตดิ ไฟง่ายหรือสารเคมี โดยไมใ่ ห้มกี ารกอ่ หรอื ชุดไฟหรือมีความรอ้ นใกลพ้ ้ืนท่ีหรอื หอ้ งดงั กลา่ วในรัศมกี ว่า 10 เมตรขน้ึ ไป 2) เจา้ หนา้ ที่ผูร้ ับผิดชอบต้องปฏบิ ัตติ ามวิธีการปอ้ งกนั อคั คีภยั ในสถานท่ีทางาน ดงั นี้ - ตรวจเช็คอุปกรณ์เก่ียวกับสายไฟ ปล๊ักไฟ การเดินสายดิน หลอดไฟ สวิทซ์ ไฟฟ้าและอุปกรณ์ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทุกชนิดว่าอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้อย่างปลอดภัย หรือถ้าอุปกรณ์ชารุดไม่ได้มาตรฐาน ต้อง แก้ไขให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี และไม่ควรใช้ปล๊ักที่มีการต่อใช้ไฟมากเกินไปเพราะอาจทาให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร ซงึ่ ก่อให้เกิดอคั คภี ยั ได้ - ประชาสมั พันธเ์ รอื่ งการใชไ้ ฟฟา้ ใหป้ ลอดภยั แกช่ ีวิตและทรพั ย์สนิ อยา่ งสมา่ เสมอและต่อเน่อื ง - กาจัดขยะและวัสดทุ ่ตี ดิ ไฟงา่ ยในบริเวณท่ีได้กาหนดไว้ - เสื้อผ้าที่ใช้งานเม่ือเปียกหรือเปื้อนสารไฟควรรีบทาการเปลี่ยนใหม่ทันที เพราะอาจจะไปสัมผัส ความร้อนหรือเปลวไฟทาใหเ้ กิดการลุกไหม้ได้ -ป้องกันจากการร้ัวไหลของสารไวไฟหรือเช้ือเพลิงชนิดเหลวและแก๊ส เม่ือได้กลิ่นหรือพบจุดรั่วไหล ให้รบี แจง้ ผู้เก่ยี วข้องทรี่ ับผิดชอบมาทาการแก้ไขทนั ที -ป้องกนั และกาจดั การร่วั ไหลของน้ามนั รถในบริเวณทเี่ ก็บสารไวไฟหรือเก็บถังแก๊ส 7. การตดิ ต่อสื่อสาร 7.1 การสื่อสาร กรณภี าวะปกติใหใ้ ชร้ ะบบโทรศพั ท์ปกติโทรศัพท์เคลอื่ นท่ี/ ๗.๒ การตดิ ต่อกบั หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องกับการป้องกนั ระงับอคั คีภัย
๕๑ กิจกรรมสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรยี นบา้ นปา่ ดวนพังหาด ๘. การรายงาน ๘.๑ หนว่ ยปฏิบัตกิ ารทุกหน่วยตอ้ งรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านต่อผูบ้ งั คับบัญชาตามลาดับขนั้ พรอ้ มท้ัง ขอ้ สังเกต (ถ้าม)ี ๘.๒ หน่วยงานต้องรายงานความเสยี หายและการปฏบิ ัติงานของเจ้าหนา้ ทต่ี ่อผบู้ ังคบั บญั ชา (ลงช่อื )……………………………ผู้เสนอแผน (นายสายยนั ต์ สามคูเมือง ) ครูโรงเรยี นบา้ นป่าดวนพงั หาด (ลงชอ่ื )…………………………….ผูอ้ นมุ ัตแิ ผน (นายพยงุ ค์ ประกอบเลศิ ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านปา่ ดวนพังหาด
๕๒ กิจกรรมสถานศกึ ษาปลอดภยั โรงเรียนบ้านป่าดวนพงั หาด สว่ นท่ี 2 : สถานศกึ ษาปลอดภัย(ชว่ งเดอื นมกราคม - ธนั วาคม 2563) 17.มีห้องพยาบาล และอปุ กรณ์การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ในสถานศกึ ษาพร้อมผรู้ ับผิดชอบท่ชี ัดเจน 17.1 โรงเรียนบา้ นปา่ ดวนพังหาด มหี ้องพยาบาลเพ่อื ดแู ลเบื้องต้นนักเรยี นเรียนท่ปี ว่ ย และมีครปู ระจาห้องพยาบาล
๕๓ กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภยั โรงเรยี นบ้านป่าดวนพังหาด สว่ นท่ี 2 : สถานศกึ ษาปลอดภัย(ชว่ งเดือนมกราคม - ธันวาคม 2563) 18. มมี าตรการการป้องกันเกดิ โรคระบาดหรือโรคติดต่อใหก้ บั บุคลกรและมีการเผยแพรใ่ หค้ วามรู้ เกี่ยวกบั การป้องกันการเจ็บปว่ ยหรือโรคอนั เน่อื งจากการทางานในสถานศกึ ษา 18.1 มาตรการการป้องกันเกดิ โรค Covid19 อสม. จากหมบู่ ้านป่าดวน พน่ ยาฆา่ เชือ้ ทีโ่ รงเรียนบา้ น ปา่ ดวนพงั หาดเพอื่ ป้องกนั โรค Covid19
๕๔ กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรียนบ้านป่าดวนพังหาด 18.2 ทางโรงเรยี นบ้านป่าดวนพงั หาดมีมาตราการป้องกันแพร่ระบาดของโควดิ -19 รักษาระยะห่างท่ี ปลอดภยั ล้างมือบ่อยๆ โดยใช้สบแู่ ละน้า หรือเจลลา้ งมือท่ีมสี ่วนผสมหลกั เป็นแอลกอฮอล์ สวมหนา้ กากอนามยั เพอ่ื ป้องกนั โรค Covid 19
๕๕ กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภยั โรงเรียนบา้ นปา่ ดวนพงั หาด 18.3 นักเรยี นไดร้ ับวคั ซีนป้องกันโรค จาก โรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตาบลคูเมือง พร้อมทั้งให้ความรู้ นักเรียนเก่ยี วกบั การปอ้ งกันโรคระบาด
๕๖ กจิ กรรมสถานศกึ ษาปลอดภัย โรงเรยี นบา้ นป่าดวนพงั หาด ส่วนที่ 2 : สถานศึกษาปลอดภัย(ช่วงเดอื นมกราคม - ธนั วาคม 2563) 19. มีหอ้ งส้วม และอ้างลา้ งมือ (ที่ถา่ ยอุจาระ และที่ถ่ายปัสสาวะ)นกั เรียนแยก ชาย---หญงิ ที่ พอเพียง โรงเรยี นบา้ นป่าดวนพังหาดมีห้องน้าห้องส้วม แยกชาย-หญิง ท่ีสะอาด เพยี งพอตอ่ จานวนนักเรียน
๕๗ กิจกรรมสถานศกึ ษาปลอดภัย โรงเรียนบา้ นปา่ ดวนพังหาด ส่วนที่ 2 : สถานศกึ ษาปลอดภัย(ช่วงเดือนมกราคม - ธันวาคม 2563) 20. มีการจัดนา้ ดม่ื ทสี่ ะอาด ทลี่ า้ งหน้าทถี่ ูกสขุ ลกั ษณะและพอเพียงเพ่ือใหบ้ คุ ลากรได้ใชก้ ่อนการ รับประทานอาหารหรอื ดื่มเครื่องดม่ื 20.1 โรงเรยี นมกี ารจัดน้าดืม่ ทสี่ ะอาดปลอดภัย มจี านวนพอเพยี งกับจานวนนกั เรยี น
๕๘ กิจกรรมสถานศึกษาปลอดภยั โรงเรยี นบ้านป่าดวนพงั หาด 20.2 โรงเรียนได้จัดอ่างลา้ งมอื ลา้ งหนา้ ท่ีถูกสุขลักษณะและพอเพียงเพ่ือให้บุคลากรได้ใชก้ อ่ นการรบั ประทาน อาหารหรอื ดื่มเครื่องด่ืม
๕๙ กิจกรรมสถานศกึ ษาปลอดภัย โรงเรียนบา้ นปา่ ดวนพงั หาด ส่วนที่ 2 : สถานศึกษาปลอดภยั (ชว่ งเดือนมกราคม - ธันวาคม 2563) 21. มกี ารจดั ทร่ี ับประทานอาหารและท่ีพักทเี่ หมาะสมและถกู สขุ ลักษณะ เช่น ระบบแสงสวา่ ง ระบบ ระบายอากาศ ระดับความดังของเสยี ง เป็นต้น
๖๐ กิจกรรมสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรยี นบ้านปา่ ดวนพงั หาด สว่ นที่ 2 : สถานศกึ ษาปลอดภัย(ชว่ งเดอื นมกราคม - ธนั วาคม 2563) 22. มีการจัดสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมและปลอดภัยในสถานศึกษา
๖๑ กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรยี นบ้านป่าดวนพังหาด ส่วนที่ 2 : สถานศกึ ษาปลอดภยั (ช่วงเดือนมกราคม - ธนั วาคม 2563) 23.มีมาตรการเพ่อื ความปลอดภยั สาหรับการเรียนการสอนเก่ยี วกับสารเคมใี นสถานศกึ ษาที่ เหมาะสมและปลอดภยั โรงเรยี นบ้านป่าดวนพังหาดไมม่ กี ารใช้สารเคมีในโรงเรียน
๖๒ กิจกรรมสถานศึกษาปลอดภยั โรงเรียนบา้ นป่าดวนพังหาด สว่ นที่ 2 : สถานศกึ ษาปลอดภัย(ชว่ งเดือนมกราคม - ธันวาคม 2563) 24.มกี ารรับฟงั ความคดิ เหน็ หรือข้อเสนอแนะด้านความปลอดภยั ในสถานศึกษาจากครูอาจารย์ นกั เรียน/นักศึกษา และมีการนาไปปรับปรุงแก้ไข 24.1โรงเรียนมกี ารตดิ ต้ังต้แู สดงรับฟังความคิดเหน็ หรือข้อเสนอแนะดา้ นความปลอดภัยใน สถานศึกษาจากครู อาจารย์ นักเรยี น และมีการนาไปปรับปรุงแก้ไข
๖๓ กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรยี นบา้ นป่าดวนพงั หาด สว่ นท่ี 2 : สถานศกึ ษาปลอดภยั (ช่วงเดอื นมกราคม - ธันวาคม 2563) 25.มกี ารจดั เก็บข้อมลู สถติ อิ ุบตั เิ หตุหรือการเจบ็ ป่วยในสถานศึกษาและการวางแผนปอ้ งกนั ที่ เหมาะสม แบบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ตามคู่มอื แนวทางการปฏบิ ตั ิและมาตรการรกั ษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษา ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2552 ………………………………………………………………………. โรงเรยี นบา้ นป่าดวนพังหาด สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 คาช้ีแจง แบบรายงานการดาเนินงานรักษาความปลอดภัยของนักเรียนฉบบั นี้ ใหโ้ รงเรยี นเขยี นขอ้ ความท่ี โรงเรียนปฏิบัตปิ ลี ะ 1 ครง้ั โดยเขียนเคร่ืองหมาย ( ) ในหน้าขอ้ ความ และเขยี นข้อความลงในชอ่ ง ตามท่ีปฏิบตั ิ ไปแล้ว 1. โรงเรียนมีแผนการรักษาความปลอดภยั ของนักเรยี นในโรงเรียน ( / ) มี ( )ไมม่ ี 2. กจิ กรรมมาตรการสาคญั ดาเนนิ งานตามแผนมอี ะไรบ้าง 1. การแตง่ ต้ังเจา้ หนา้ ท่ีอย่เู วร รักษาสถานศึกษา 2. อบรมใหค้ วามรู้ เกี่ยวกบั ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษาแก่ผู้บรหิ าร ครูและบุคลากรทุกระดับ 3. มกี ารฝึกซอ้ มดับเพลงิ ขน้ั ต้นในสถานศึกษา 3. กจิ กรรมสาคญั ที่ผู้ปกครองมีสว่ นรว่ ม 2. อบรมเกี่ยวกบั การป้องกันและระงับอคั คีภยั ในสถานศึกษาระหวา่ งชุมชนและหนว่ ยงานของรัฐ 3. ผูป้ กครองในชมุ ชนรว่ มพัฒนาโรงเรียน 4. ผลการดาเนนิ งานของโรงเรยี นและการมีส่วนรว่ มของชุมชน ดา้ นปริมาณ ชมุ ชนเข้ามามีสว่ นรว่ มในการดาเนินงาน คิดเป็น ร้อยละ 80 ด้านคณุ ภาพ โรงเรยี นไดร้ ับการรับรองจากหน่วยงานท้ังในและนอกสงั กดั 5. สถิติการเกดิ ภัย ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 256๓ เพศ รวม เรอ่ื ง ชาย หญิง การดาเนนิ งานแก้ไข 1. ภยั ที่เกดิ จากอุบัตเิ หตุ --- 2. ภยั ทเี่ กิดจากอุบตั ภิ ัย --- 3. ภยั เกิดจากปญั หาสงั คม --- 4. ภัยทเ่ี กิดจากสขุ ภาพอนามยั ของนักเรยี น --- 5. ภัยทีเ่ กดิ จากสตั วม์ พี ษิ ---
๖๔ กจิ กรรมสถานศกึ ษาปลอดภยั โรงเรยี นบ้านปา่ ดวนพังหาด 6. ภยั ทีเ่ กดิ จากการสรู้ บและความไมส่ งบ --- รวมทั้งส้ิน --- 6. ปญั หาและอุปสรรค 1. ........................................................................................................................................................ 2. ........................................................................................................................................................ 3. ...................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ ด้านท่ี 1 ภัยทเ่ี กดิ จากอุบัตเิ หตุ 1. ควรมกี ารอบรมให้ความรู้ในการป้องกันและการป้องกนั และการเกิดอุบัตเิ หตุ 2. คณุ ครเู วรประจาวัน ควรให้ความรใู้ นการป้องกัน และการเกิดอุบัตเิ หตุ หน้าเสาธงอย่างสม่าเสมอ ดา้ นท่ี 2 ภัยทเ่ี กิดจากอุบัติภัย ควรมีการอบรมใหค้ วามรู้ ในการป้องกนั และการเกิดอุบตั ิเหตุ อบุ ตั ิภัยต่างๆ อยู่เสมอ ด้านที่ 3 ภยั ท่ีเกดิ จากปัญหาสงั คม 1. ควรให้ผปู้ กครองดูแลบตุ รหลาน ชีแ้ นะปญั หาสังคมต่างๆ 2. หาทางปอ้ งกันไม่ให้เกดิ ปญั หา 3. ควรใหค้ วามรู้ เกยี่ วกับปัญหาสงั คม และวธิ ีป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาอยา่ งสม่าเสมอ ด้านท่ี 4 ภัยที่เกดิ จากสุขภาพอนามัยของนกั เรยี น 1. คณะครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง ควรดแู ลเอาใจใส่ เกย่ี วกับสขุ ภาพอนามยั ของนักเรียน อย่างสมา่ เสมอ 2. คณะครูบุคลากรทางการศึกษาตอ้ งให้ความรดู้ า้ นการรกั ษาสขุ ภาพอนามัยของนักเรียนอย่างสมา่ เสมอ ดา้ นที่ ๕ ภยั ที่เกดิ จากสัตว์มีพิษ - ควรแนะนาให้นกั เรียน และบคุ ลากรต่างๆ รกั ษาความสะอาด ของบ้านเรือน ชมุ ชน จัดสงิ่ ของใหเ้ ป็น ระเบยี บ ไม่รกรุงรงั เพ่ือป้องกันสตั ว์มีพิษต่างๆ อาศยั อยู่ ดา้ นท่ี 6. ภยั ที่เกิดจากการสรู้ บและความไม่สงบ - ควรให้ความรูแ้ ก่นักเรียน โดยศึกษาจากหนังสือและสื่อต่างๆ เกี่ยวกับการสรู้ บในแตล่ ะภูมิภาคทัง้ ใน และ ตา่ งประเทศ เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันไม่ใหเ้ กดิ ในชุมชนตนเอง ผรู้ ายงาน...................................................... (นายสายยันต์ สามคเู มือง) วันที่ 30 กันยายน 256๓ (ลงชื่อ)…………………………………..ผู้รบั รองข้อมลู (นายพยุงค์ ประกอบเลศิ ) ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านปา่ ดวนพงั หาด
๖๕ กิจกรรมสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรยี นบ้านปา่ ดวนพงั หาด วนั ท่ี 30 กันยายน 256๓ 25.1 โรงเรยี นบ้านป่าดวนพังหาด เข้าร่วมโครงการโรงเรยี นห่วงใย ทาประกนั ชวี ติ ให้กับนักเรยี นทุกคน
๖๖ กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภยั โรงเรียนบ้านปา่ ดวนพังหาด ส่วนท่ี 2 : สถานศึกษาปลอดภยั (ชว่ งเดอื นมกราคม - ธนั วาคม 2563) 26.มกี ารจดั กิจกรรมเพือ่ ส่งเสรมิ และกระตุน้ จิตสานกั ให้แก่นักเรียน/นักศกึ ษา ด้านความปลอดภัย ในสถานศกึ ษา ในรปู แบบตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสม 22.1 จดั อบรมใหค้ วามรูแ้ ก่นักเรยี น “ปฏิบตั ิอย่างไรให้ด้านความปลอดภัยและห่างไกลยาเสพติด”
๖๗ กิจกรรมสถานศึกษาปลอดภยั โรงเรียนบ้านป่าดวนพังหาด 22.2 จดั อบรมให้ความรู้แก่นกั เรยี น “เร่อื ง คณุ ธรรมจริยธรรม” เพอื่ ปลูกฝังการใชช้ วี ิตอยา่ งมี สติ เพอ่ื ความปลอดภัย
๖๘ กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรียนบ้านป่าดวนพังหาด สว่ นท่ี 2 : สถานศกึ ษาปลอดภยั (ช่วงเดอื นมกราคม - ธันวาคม 2563) 27. มีหนังสือ ตารา หรือมาตรฐานเก่ียวกับความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน เพอ่ื ใชใ้ นการศึกษาคน้ คว้าและการเรียนรขู้ องบุคลากร วิธกี ารใชถ้ ึงดบั เพลิง แผนงานสถานศกึ ษาปลอดภยั โรงเรียนบา้ นปา่ ดวนพังหาด
๖๙ กิจกรรมสถานศกึ ษาปลอดภัย โรงเรยี นบา้ นปา่ ดวนพงั หาด ศนู ยเ์ ครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษาขั้นพ้นื ฐานท่ี ๑๙ สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอ็ด เขต ๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร การดบั เพลงิ เบื้องตน้ แผนงานสถานศกึ ษาปลอดภยั โรงเรียนบา้ นปา่ ดวนพังหาด ศูนยเ์ ครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานท่ี ๑๙ สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอ็ด เขต ๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
๗๐ กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภยั โรงเรยี นบา้ นป่าดวนพงั หาด
๗๑ กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรยี นบ้านป่าดวนพงั หาด สว่ นที่ 2 : สถานศกึ ษาปลอดภยั (ช่วงเดือนมกราคม - ธนั วาคม 2563) 28. มีมีมาตรการดูแลเพ่ือความปลอดภยั ในการเดินทาง เชน่ การดแู ลยานพาหนะ รบั – ส่งนักเรยี น ในโรงเรียน โรงเรยี นบา้ นปา่ ดวนพงั หาด มรี ะบบจัดการรถรับส่งนกั เรียนเพือ่ ลดความเสี่ยงจากอบุ ัติเหตุทเ่ี กดิ ข้ึนกบั รถ รับส่งดังน้ี 1.มีผู้รบั ผดิ ชอบชัดเจน : กาหนดให้งานรับส่งนักเรยี นปลอดภัย เป็นนโยบายสาคญั ของโรงเรยี น และมี บุคลากรผรู้ ับผดิ ชอบทีช่ ดั เจน 2.ทุกฝา่ ยรว่ มมือกนั : มีคณะทางานเพื่อร่วมบริหารจัดการ ทีป่ ระกอบดว้ ยอาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบ กรรมการ นักเรียน ผปู้ กครอง และ คนขับรับส่งนกั เรยี น 3.มีฐานข้อมูลครบถว้ น : ท้ังขอ้ มูลคนขบั รถ ประเภทรถ ทะเบียนรถ ภาพถา่ ยรถ เสน้ ทางการเดนิ รถรับสง่ นักเรียน รวมท้ังรายชอ่ื นักเรียนท่ีขึน้ รถรับส่งนักเรียนในแต่ละคัน 4.มีระบบติดตาม : คอยกากับการใหบ้ ริการของคนขับรถรับสง่ นักเรยี น และการใช้บริการของนักเรยี น 5.เขา้ ออกทางเดยี ว : กาหนดใหร้ ถรับส่งนกั เรยี น เขา้ ออกทางเดียว เพอื่ เปน็ การป้องกันความปลอดภยั
๗๒ กจิ กรรมสถานศกึ ษาปลอดภัย โรงเรยี นบา้ นปา่ ดวนพงั หาด สว่ นท่ี 2 : สถานศึกษาปลอดภัย(ช่วงเดอื นมกราคม - ธันวาคม 2563) 29.มีการสรา้ งความรว่ มมือและกิจการดาเนนิ การระหว่างชุมชนผปู้ กครองและหนว่ ยงานภาครฐั เพื่อใหเ้ กดิ ความปลอดภัยในสถานศึกษา 21.1 โรงเรยี นบ้านปา่ ดวนพังหาด มีการจดั ประชมุ ผู้ปกครอง อยา่ งน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง เพอ่ื แจ้งแนวทาง และนโยบายของโรงเรยี น
๗๓ กิจกรรมสถานศึกษาปลอดภยั โรงเรียนบา้ นปา่ ดวนพงั หาด 25.2 มกี ารสร้างความร่วมมือและกจิ กรรมดาเนนิ การระหวา่ งชุมชนผู้ปกครอง ดาเนนิ การปรับปรงุ สภาพภมู ทิ ัศน์ เพ่อื ความปลอดภยั และ ความสวยงานของสถานศึกษา
๗๔ กจิ กรรมสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรียนบ้านปา่ ดวนพงั หาด ส่วนท่ี 2 : สถานศึกษาปลอดภยั (ช่วงเดือนมกราคม - ธนั วาคม 2563) 30. มนี ักเรียนคณะกรรมการดาเนนิ การดา้ นการศกึ ษา จัดตง้ั ชมรมและความปลอดภัย 26.1 โรงเรียนบา้ นปา่ ดวนพงั หาดการรวมกลุ่มนักเรียนจติ อาสาพัฒนาโรงเรียนทาความสะอาด รอบบริเวณโรงเรยี น อยู่เป็นประจา เพื่อความสะอาด ปลอดภัย และเอื้อตอ่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
Search