Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิทยาการคำนวณ

รายงานวิทยาการคำนวณ

Published by heartnprp, 2022-02-15 14:12:18

Description: รายงานวิทยาการคำนวณ

Search

Read the Text Version

รายงาน วิชาวทิ ยาการคํานวณ รหัส ว30118 จดั ทําโดย เลขที่ 10 1. นางสาวปนมนัส ปญ ญาเรืองฤทธ์ิ เลขที่ 14 2. นายนภสั รพี ศิริมิตรตระกลู เลขที่ 17 3. นางสาวพมิ พณ ดา สกุลมั่นคงวัฒน 4. นายภวินท นาเจรญิ เลขที่ 19 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 5/7 เสนอ ครูจิรายุ ทองดี รายงานเลมนีเ้ ปน สวนหน่งึ ของรายวชิ าวิทยาการคํานวณ รหสั ว30118 โรงเรยี นนวมินทราชินูทศิ เตรยี มอดุ มศึกษานอมเกลา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2564 สงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คํานํา รายงานฉบับนี้เปนสว นหน่ึงของรายวิชาวทิ ยาการคาํ นวณรหัส ว30118 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 5 โดย มจี ดุ ประสงคเ พือ่ ศกึ ษาเก่ียวกบั หลกั การเขียนโปรแกรม ข้ันตอนการเขยี นโปรแกรม โครงสราง ภาษาคอมพิวเตอร กระบวนการเขียนโปรแกรม ในการจดั ทํารายงานประกอบสื่อการเรียนรูในครง้ั น้ี ผจู ดั ทาํ ขอขอบคณุ ครจู ิรายุ ทองดี ผูให ความรู และแนวทางการศึกษา และเพอ่ื นๆ ที่ใหค วามชว ยเหลือมาโดยตลอด คณะผจู ดั ทําหวังเปนอยาง ยงิ่ วา รายงานฉบบั นจี้ ะอํานวยประโยชนต อ ผูทสี่ นใจและศึกษาเนื้อหาเพม่ิ เตมิ และพฒั นาศักยภาพ และ บรรลุตามเปาหมาย นายนภสั รพี ศิริมติ รตระกูล ผจู ัดทํา

สารบญั ข เร่ือง หนา คาํ นาํ ก สารบัญ ข 1. ภาษาคอมพวิ เตอร 1-3 2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร 4-5 3. ทักษะการใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั 6-8 4. วทิ ยาการคาํ นวณ 9-10 5. บรรณานุกรม 11 6. ภาคผนวก 12-

1 ภาษาคอมพิวเตอร ภาษาคอมพิวเตอร ภาษาคอมพวิ เตอร หมายถึง ภาษาใด ๆ ทผ่ี ูใชงานใชสอื่ สารกับคอมพวิ เตอร หรือคอมพิวเตอรด ว ยกนั แลว คอมพวิ เตอรสามารถทํางานตามคําสงั่ น้นั ได คาํ นม้ี ักใชเรยี กแทนภาษาโปรแกรม แตค วามเปนจรงิ ภาษาโปรแกรมคือ สว นหนง่ึ ของภาษาคอมพวิ เตอรเทา นั้น และมีภาษาอื่น ๆ ท่ีเปน ภาษาคอมพวิ เตอรเ ชนกัน ยกตวั อยา งเชน เอชทเี อม็ แอล เปนทงั้ ภาษามารกอปั และภาษาคอมพวิ เตอรดว ย แมว ามนั จะไมใชภาษาโปรแกรม หรอื ภาษาเครื่องนนั้ กน็ ับเปน ภาษาคอมพวิ เตอร ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใชในการเขยี นโปรแกรมได แตก็ไมจัดวาเปนภาษาโปรแกรม ยคุ ของภาษาคอมพวิ เตอร ยคุ ท่ี1 ภาษาเคร่อื ง (First-Generation-Languages) ภาษาเครอ่ื ง เปนภาษาในยุคเร่มิ ตนของการโปรแกรมคาํ สง่ั เครื่องคอมพวิ เตอร ลกั ษณะเฉพาะของภาษาใน ยุคนี้ คอื การปอ นคําสงั่ หรือโปรแกรมจะปอ นโดยจําลองลกั ษณะทางกายภาพของไฟฟา คือ วงจรปด (แทนดว ย สญั ญาลักษณ 0 ) และวงจรเปด (แทนดว ยสัญญาลกั ษณ 1 ) โดยลกั ษณะทางกายภาพจะถกู แทนดวยกลุมขอมูลในรปู ของตัวเลขในระบบฐานสอง ที่เครอื่ งคอมพวิ เตอรสามารถนาํ ไปปฏิบตั งิ านไดทนั ที เนื่องจากภาษาเครื่องเปน ภาษาเคร่ืองคอมพิวเตอรเ ขาใจ ในยุคแรกการโปรแกรมสงั่ งานภาษาเครื่องเปน ลกั ษณะเฉพาะของเคร่ืองคอมพิวเตอร ของแตละผูผลิต เชน การโปรแกรมภาษาเครื่องทใ่ี ชสง่ั งานเครอ่ื งคอมพวิ เตอรของบรษิ ัทไอบีเอ็ม จะมีความแตกตา ง กับลักษณะสงั่ งานภาษาเคร่ืองท่ใี ชส ั่งงานกับเคร่ืองคอมพิวเตอรของเอน็ อซี ี เปน ตน

2 ยุคที่ 2 ภาษาแอสแซมบลี (Assembly Languages) ปญ หาการโปรแกรมคําสัง่ ดวยภาษาเคร่ืองในยคุ แรก ผใู ชต อ งจดจาํ รปู แบบภาษาเครื่องท่อี ยใู นรูปของตัวเลข ในระบบไบนารี่ ซงึ่ เปนภาษาที่มนุษยยังไมเขาใจทาํ ใหก ารโปรแกรมคําส่งั ทาํ ไดย าก จงึ ไดมีการพัฒนารูปแบบของ ภาษาในยุคแรกโดยการแทนการใชงานกลมุ ของรหัสคาํ ส่ัง (Mnemonics Code) เพ่ือแทนชุดคําสง่ั ทอ่ี ยูในรูปแบบ ของภาษาเคร่ือง (Object Code) ทําใหการโปรแกรมคําส่ังทาํ ไดง ายกวา ยคุ แรก ขอจาํ กดั ของภาษาในยุคที่1 และยคุ ท2่ี การโปรแกรมคาํ สั่งจําเปนตอ งเรยี นรรู ูปแบบการเขยี นโปรแกรม เนือ่ งจากเปนภาษาที่มนษุ ยย งั ไมเ ขาใจ และผโู ปรแกรมจาํ เปนตอ งรูระบบการทํางานตา งๆ เชน สถาปต ยกรรมของ เคร่อื งคอมพวิ เตอร จึงสามารถเขียนโปรแกรมคาํ ส่งั ไดภ าษาเครอ่ื งและภาษาแอสแซมบลีจงึ จดั วาเปนภาษาระดับตํ่า (Low Level Languages) คท่ี 3 ภาษาระดับสูง (Height Level Languages) ภาษาระดบั สงู เปน ภาษาคอมพิวเตอรท ่ีไดรบั การพัฒนาตอจากภาษาในยุคท่ี 2 โดยปรบั ปรุงรปู แบบการเขียน ของภาษา ลกั ษณะการโปรแกรมของภาษาในยุคนี้ใชงานงา ยมากกกวา เดมิ โดยลกั ษณะของภาษาในยุคที่ 3 การ พัฒนาโปรแกรมหรือโปรแกรมเคร่ืองคอมพวิ เตอร ใชร ูปแบบการเขียนโปรแกรมในรปู ของวลีองั กฤษ และการใช เครอื่ งหมายทางคณิตศาสตร เชน เคร่อื งหมาย บวก ลบ คูณ หรอื หาร เปน ตน ทําใหการพัฒนาโปรแกรม หรือการ โปรแกรมเครื่องคอมพวิ เตอรดวยภาษาระดับสูง ทาํ ไดง า ยขนึ้ กวา ในยุคท่ี 1 และยคุ ท่ี 2 และผโู ปรแกรมคําส่งั ไม จาํ เปนตอ งเรยี นรูสถาปต ยกรรมภายในเครื่องคอมพิวเตอรมาก ตัวอยา งภาษาระดบั สงู เชน FORTRAN, C หรอื JAVA เปน ตน ยุคท่ี 4 ภาษาระดับสงู มาก (Very High Level Languages) เปนภาษาคอมพิวเตอรทน่ี ิยมใชอ ยา งแพรห ลายในปจ จุบนั อีกภาษาหน่ึง เชนเดียวกับภาษาระดับสงู เน่ืองจาก ลักษณะกาเขียนโปรแกรมท่ีใชรปู แบบของวลอี ังกฤษทีเ่ หมือนกัน แตความแตกตา งระหวา งภาษาระดบั สงู และ ภาษาระดบั สูงมาก คือภาษาระดบั สงู มาก จะใชเ ครื่องมือที่ผใู ชสามารถเห็นรูปแบบหนา จอตา งๆ (รปู แบบของ หนา จอภาพเม่ือเขยี นโปรแกรมเสรจ็ สมบูรณ) โดยไมจําเปนตองเขยี นโปรแกรมเสรจ็ สมบรู ณ ทําใหการออกแบบ รูปแบบของโปรแกรมสามารถงา ยข้ึน ตัวอยา งของภาษาระดับสงู มาก เชน Visual Basic, Authoring Environment เปน ตน

3 ยคุ ที่ 5 ภาษาธรรมชาติ (Fifth Generation Language) เปน ภาษาทผ่ี สมผสานระหวา งระบบปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) กับระบบผูเชยี่ วชาญ (Expert System) ภาษาในยุคนผี้ ใู ชไมจําเปนตองเรียนรูการเขียนโปรแกรมมากนกั หรืออาจไมจาํ เปนตองเรียนรูการเขยี น โปรแกรมเลย เพยี งแตผใู ชต องการสอบคําถามตา งๆ กบั เครื่องคอมพวิ เตอร ผใู ชส ามารถสอบถามเปน ภาษามนุษย คอมพิวเตอรจะพยายามนาํ คาํ สั่งทเี่ ปนภาษามนุษยและทําการแปลคําสงั่ แลว นําไปหาคําตอบท่ีผูใ ชต องการไดท ันที ประโยชนของภาษาคอมพิวเตอร ขอดีของภาษาเคร่ือง คือ กนิ เนอ้ื ทคี่ วามจํานอย เมื่อคาํ ส่ังนเี้ ขาสูเครือ่ งคอมพิวเตอรส ามารถส่ังการ ทํางานไดทันทจี ึงมคี วามรวดเรว็ สูง ขอ เสียของภาษาเครอ่ื ง คอื ยากตอ การเรยี นรแู ละการจดจํา ดงั นน้ั จึงทําใหย ากตอการสรา งหรือการ พัฒนา ซอฟตแ วร ขอดขี องภาษาแอสเซมบลี คอื เปนภาษาทท่ี ํางานเรว็ กวาภาษาอน่ื (ยกเวน ภาษาเครอ่ื ง) สามารถเขยี น โปรแกรมควบคุมคาํ ส่งั การตัวเครือ่ ง (HARDWARE) ไดโดยตรงและกนิ ที่เนอ้ื ทหี่ นวยความจํานอย ขอเสียของภาษาแอสเซมบลี คอื ยากตอ การเรียนรแู ละยากตอความเขาใจสําหรบั ผูท ี่ไมมพี ืน้ ฐานทาง ดา น ฮารด แวรม ากอ น นอกจากน้ี ยงั เปนภาษาทีผ่ กู พันหรอื ข้ึนกบั ตระกลู หรือชนิดของเครอ่ื งดวย ขอ ดขี องภาษาระดบั สูง คอื เปนภาษาทไี่ มผูกพนั หรอื ข้นึ ตรงกบั ตวั เคร่ือง ดงั นัน้ ผเู ขียนโปรแกรมสามารถ เขียนไดอยา งอสิ ระ ภายใตก ฎเกณฑของภาษานัน้ ๆ โดยไมจาํ เปนตอ งมคี วามรูท างฮารด แวร ขอเสียของภาษาระดบั สงู เขาใจยาก

4 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารหมายถึงเทคโนโลยีทเ่ี กี่ยวขอ งกับขาวสารขอมลู และการส่ือสาร นับต้ังแตก ารสรา ง การนาํ มาวิเคราะหห รือประมวลผล การรบั และสง ขอมลู การจดั เกบ็ และการนาํ ไปใชงานใหม เทคโนโลยีเหลานม้ี ักจะหมายถึงคอมพวิ เตอรซ งึ่ ประกอบดว ยสวนอปุ กรณ (hardware) สวนคําส่งั (software) และ สวนขอ มลู (data) และ ระบบการส่อื สารตา ง ๆ ไมว า จะเปน โทรศัพท ระบบส่ือสารขอมลู ดาวเทียมหรอื เคร่ืองมอื ส่ือสารใด ๆ ทง้ั มีสายและไรสาย ความสาํ คัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศเปนส่ิงทจ่ี าํ เปน และเปนท่ยี อมรบั ในยคุ ปจจุบันและเปน ยุคท่หี นว ยงานตา ง ๆ เห็นความ จําเปนและใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการดาํ เนินงาน การบริหารงานและการตัดสินใจ ซึ่งในหลายหนว ยงานทัง้ ภาครฐั และเอกชนท้ังในวงการธรุ กจิ อตุ สาหกรรมและการศึกษา ตองมีขอมูลสารสนเทศท่ีดโี ดยมีกระบวนการจัดการผา น คอมพิวเตอร เพอื่ ใหเ กดิ ประสิทธภิ าพ นับตงั้ แตการผลิต การจัดเก็บ การประมวลผล การเรียกใชและการส่อื สาร สารสนเทศ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนและการใชท รัพยากรสารสนเทศรวมกันใหเกดิ ประโยชนอ ยางเตม็ ท่ี ซงึ่ ความสาํ คัญ ของเทคโนโลยีสารสนเทศมนี ักการศึกษาไดใหทศั นะเกยี่ วกับความสําคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศไว

5 หลกั การทํางานของคอมพวิ เตอร 1. รบั ขอ มูล (Input) คอมพิวเตอรจ ะทําหนาที่รับขอมูลไปประมวลผล อุปกรณที่ทาํ หนา ที่รบั ขอ มูล ไดแ ก แปน พิมพ เมาส เคร่ืองสแกน เปนตน 2. ประมวลผลขอมูล (Process) เมอื่ คอมพิวเตอรร บั ขอมูลเขาสรู ะบบแลว จะทําการประมวลผลตามคาํ สงั่ หรอื โปรแกรมที่กําหนด อุปกรณทีทาํ หนา ที่ประมวลไผลไดแก CPU 3. แสดงผลขอ มูล (Output) เม่ือทําการประมวลผลแลว คอมพวิ เตอรจ ะแสดงผลลพั ธ อุปกรณท ที่ ําหนาทใ่ี นการ แสดงผลขอ มูลคือ จอภาพและเคร่ืองพิมพ เปนตน 4. จัดเก็บขอมลู คอมพิวเตอรจ ะทาํ การจดั เก็บขอ มลู ลงในอปุ กรณท่ีเก็บขอมลู เชน ฮารดดสิ ก แผนซดี ี แฟลชไดรฟ เทคโนโลยีการสือ่ สาร คือเทคโนโลยดี ิจิตลั (Digital Technology)ประเภทหน่งึ ซ่ึงได พัฒนาตัวเพอ่ื เอื้อตอการจัดการ “การส่ือสาร (Communication)” หรือ “การขนสง ขาวสาร(Transfer of Information)” เทคโนโลยีการส่อื สาร ไมว าจะเปน ทางดา นภาพ (Image) เสยี ง (Voice) หรอื ทางดานขอมลู (Data) ไดร ับการพฒั นาจนมนุษย สามารถเชอื่ มโยง ติดตอ กนั ไดอยา งสะดวกรวดเร็ว และเปนเครอื ขายที่ติดตอ ส่อื สารกนั ไดทว่ั โลก เปนยคุ ของสารสนเทศ (Information Age) และเปน สังคมสาร- สนเทศ (Information Society) ทนี่ ับวันจะมีอตั ราการเตบิ โตขึ้นทุกทท่ี ้ังในดานขนาดและ ปริมาณขาวสารท่ีไหลเวยี นอยูในสงั คม เทคโนโลยใี นการส่อื สารยุคใหม 4 กลมุ ไดแ ก 1. เทคโนโลยีการแพรภาพและเสยี ง (Broadcast and Motion Picture Technology) 2. เทคโนโลยกี ารพิมพ (Print and Publishing Technology) 3. เทคโนโลยคี อมพิวเตอร (Computer Technology) 4. เทคโนโลยสี อ่ื สารโทรคมนาคม (Telecommunication Technology)

6 ทักษะการใชเ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทักษะการใชเทคโนโลยดี ิจทิ ัล ทักษะการใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทัล หรอื Digital literacy หมายถงึ ทักษะในการนาํ เครอ่ื งมอื อปุ กรณ และ เทคโนโลยีดจิ ิทลั ทมี่ อี ยูในปจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร โทรศัพท แท็บเล็ต โปรแกรมคอมพิวเตอร และสอื่ ออนไลน มา ใชใ หเ กิดประโยชนส งู สดุ ในการสือ่ สาร การปฏบิ ตั ิงาน และการทํางานรว มกนั หรือใชเ พื่อพฒั นากระบวนการทาํ งาน หรอื ระบบงานในองคกรใหมีความทันสมัยและมปี ระสิทธภิ าพ สาเหตทุ ตี่ องพัฒนาทกั ษะความเขาใจและใชเทคโนโลยดี ิจทิ ัล ในปจ จบุ นั โลกมีการเปล่ยี นแปลงอยางรวดเร็วจากยคุ Analogไปสยู คุ Digital และยคุ Robotic จึงทําให เทคโนโลยดี ิจทิ ลั มีอิทธิพลตอการดํารงชีวิตและการทํางานซึง่ เปน แกนหลกั ของการพัฒนาประเทศจงึ ตอ งปรบั ตัวให สอดคลอ งกบั บริบทของการเปลย่ี นแปลง เพือ่ ปองกันไมใหเกิด cultureshock เนื่องจากการเปลีย่ นผา นเทคโนโลยี และเพ่ือปองกันความเส่ยี งที่อาจเกดิ จากการใชเ ทคโนโลยีทไี่ มเหมาะสม เชนการสูญเสียการเปนสวนตวั ความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสนิ การโจรกรรมขอ มูลการโจมตีทางไซเบอร เปนตน Digital literacy หรือทักษะความเขา ใจและใชเทคโนโลยดี ิจิทลั เปนทักษะดา นดิจิทัลพนื้ ฐานที่จะเปน ตวั ชวย สาํ คัญ สาํ หรบั ในการปฏิบตั ิงานการส่ือสาร และการทํางานรว มกนั กับผอู นื่ ในลักษณะ “ทํานอย ไดมาก” หรือ “Workless but get more impact” และชว ยสวนรสรางคุณคา (ValueCo-creation) และความคุม คา ในการ ดาํ เนินงาน (Economy ofScale) เพอื่ การกาวไปสูการเปนประเทศไทย 4.0อีกทัง้ ยงั เปน เคร่ืองมือชว ยใหส ามารถ เรยี นรูและพฒั นาตนเองเพื่อใหไ ดรบั โอกาสการทาํ งานทด่ี ีและเติบโตกาวหนา (Learnand Growth)

7 ทักษะการความเขา ใจเเละใชเทคโนโลยีดิจิทลั 9 ดา น

8 ประโยชนของการพฒั นา Digital literacy 1. ทํางานไดรวดเรว็ ลดขอผดิ พลาดและมีความม่ันใจในการทํางานมากขึน้ 2. มคี วามภาคภูมิใจในผลงานท่ีสามารถสรางสรรคไ ดเ อง 3. สามารถแกไขปญหาทเ่ี กดิ ขึน้ ในการทํางานไดมปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ 4. สามารถระบุทางเลือกและตดั สนิ ใจไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ 5. สามารถบรหิ ารจดั การงานและเวลาไดดีมากขนึ้ และชวยสรางสมดลุ ในชีวติ และการทาํ งาน 6. มีเคร่อื งมอื ชวยในการเรยี นรูและเติบโตอยางเหมาะสม

9 วทิ ยาการคํานวณ วิทยาการคาํ นวณ คือการเรียนวิชาการคํานวณ จะไมจ าํ กัดอยูเพียงแคการคิดใหเหมือนคอมพวิ เตอรเ ทา น้นั และไมไดจาํ กดั อยเู พยี งการคิดในศาสตรของนกั วิทยาการคอมพิวเตอร แตจะเปน กระบวนการความคิดเชิงวเิ คราะหเพ่ือนาํ มาใช แกป ญหาของมนุษย โดยเปน การสัง่ ใหค อมพวิ เตอรท ํางานและชว ยแกไ ขปญหาตามท่ีเราตองการไดอยาง มีประสิทธภิ าพ Coding โคด ดิ้ง (Coding) คือ การเขยี นชดุ คําส่งั หรอื โปรแกรมคอมพิวเตอรใ นรูปโคด (Code) เพื่อใหคอมพิวเตอร เขาใจและทาํ ในสงิ่ ทผ่ี ูเขียนโคดตอ งการ หรือกลา วงาย ๆ คือ \"โคดด้งิ \" เปนการเขียนคําส่ังใหคอมพิวเตอรทํางานดว ย ภาษาหรือรหัส (Code) ทค่ี อมพวิ เตอรเ ขาใจ เชน ภาษา Python, JavaScript และ C เปนตน

10 กระบวนการทางเทคโนโลยี คอื การแกป ญหาหรอื สนองความตองการที่พบในสถานการณเ ทคโนโลยี จะตอ งใชท รพั ยากร ความรูและ ทกั ษะตา งๆ ที่เก่ียวของ จึงจาํ เปนตอ งมีวิธีการหรือกระบวนการทาํ งานในการแกป ญหาหรือสนองความตอ งการอยา ง เปนขั้นตอนทีช่ ดั เจน มขี ้ันตอนทง้ั หมดทงั้ หมด7ขั้นตอน 1. กําหนดปญ หาหรือความตองการ (Identify the problem) 2. รวบรวมขอ มลู (Information gathering) 3. เลือกวิธกี าร (Selection) 4. ออกแบบและปฏบิ ัตกิ าร (Design and making) 5. ทดสอบ (Testing) 6. ปรับปรงุ แกไข (Modification and improvement) 7. ประเมินผล (Assessment)

11 บรรณานุกรม ภาษาคอมพิวเตอร : https://sites.google.com/ntun.ac.th/kamsamida/computer-language เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร : https://sites.google.com/ntun.ac.th/lnwza007eiei/เทคโนโลยสารนเทศและการสอสาร-ictinformation- communication-technology ทักษะการใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล : https://sites.google.com/ntun.ac.th/hafiz7-19/Digital-Literacy วทิ ยาการคาํ นวณ : https://sites.google.com/ntun.ac.th/haree/home/CS

12 ภาคผนวก 1.แนบภาพสถติ ิเก่ียวผเู ขา ชมการ (live) หรือนาํ เสนอออนไลน ยอดวิว 100 หรอื ยอดแชร 100 https://www.facebook.com/permalink.ph p?story_fbid=3086648161551284&id=100 006183918758

13 2.ยอดผูเขา ดูเวบ็ ไซตข อง Admin ยอดแชร 100 https://qrgo.page.link/pbwHD https://www.facebook.com/permalink.ph p?story_fbid=1538202106595873&id=1000 12182954091

14 3.ยอดผูเ ขา ชมเวบ็ ไซตร ายงาน 100 แชร https://www.facebook.com/h eart.napasrapee.528/posts/11 15395125876748


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook