S T R O N G Model จิตพอเพยี งต้านทจุ รติ 1
โรงพิมพ์ A B C D 2
คำนำ aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa 3
สำรบญั Aaaaa 1 Bbbb 2 Cccc 3 Dddd 4 4
STRONG / จิตพอเพียงตา้ นการทุจริต ยุทธศำสตรช์ ำติว่ำดว้ ยกำรปอ้ งกันและปรำบปรำมกำรทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) กำหนด วิสยั ทศั น์ “ประเทศไทย ใสสะอำด ไทยทั้งชำติต้ำนทุจริต (Zero Tolerance and Clean Thailand)” กำหนด พันธกิจหลักเพื่อสร้ำงวัฒนธรรม กำรต่อต้ำนกำรทุจริต ยกระดับธรรมำภิบำลในกำรบริหำรจัดกำร ทุกภำคส่วน และปฏิรูปกระบวนกำรป้องกันและปรำบปรำมกำร ทุจริตท้ังระบบให้มีมำตรฐำนเทียบเท่ำสำกล ผ่ำนยุทธศำสตร์ 6 ด้ำน ได้แก่ สร้ำงสังคมไม่ทนต่อกำรทุจริต ยกระดับเจตจำนงทำง กำรเมืองในกำรต่อต้ำนกำรทุจริต สกัดก้ันกำรทุจริตเชิงนโยบำย พัฒนำระบบป้องกันกำรทุจริตเชิงรุก ปฏิรูปกลไกและกระบวนกำร กำรปรำบปรำมกำรทุจริต และยกระดับ ดัชนีกำรรับรู้กำรทุจริตของ ประเทศไทย โดยเป้ำประสงค์ของยุทธศำสตร์ชำติฯ ระยะที่ 3 คือ ประเทศไทยมีค่ำดัชนีรับรู้กำรทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) สงู กวำ่ ร้อยละ 50 ในปี 2564 โครงกำร “จิตพอเพียงต้ำนทุจริต” เป็นโครงกำรท่ีมีควำม สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติว่ำด้วยกำรป้องกัน และปรำบปรำม กำรทุจรติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในประเดน็ ยุทธศำสตร์ ท่ี 1 กำรสร้ำงสังคมท่ีไม่ทนต่อกำรทุจริต ซึ่งประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) กำรปรับฐำนควำมคิดทุกช่วงวัยต้ังแต่ปฐมวัยให้สำมำรถ แยกแยะ ระหว่ำงผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม (2) ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนกำรกล่อมเกลำทำงสังคม เพื่อต้ำน ทุจริต (3) ประยุกต์หลักพอเพียงเป็นเครื่องมือต้ำนทุจริต และ (4) 5
เสริมสร้ำงพลังกำรมีส่วนร่วมของชุมชน และทุกภำคส่วนเพ่ือต่อต้ำน กำรทุจริต จำกกลยุทธ์ดังกล่ำวข้ำงต้น จึงเป็นที่มำของโครงกำร “จิต พอเพียงต้ำนทุจริต” ในชุดโครงกำรสหยุทธ์ (รศ.ดร.มำณี ไชยธีรำ นุวัฒศิริ, 2560) ท่ีสำนักงำนคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำม กำรทุจริตแห่งชำติ ได้ดำเนินกำรโครงกำรดังกล่ำวใน 27 จังหวัด ใน ปีงบประมำณ 2561 และครบทั้ง 76 จังหวัดและกรุงเทพมหำนคร ในปีงบประมำณ 2562 โครงกำร “จิตพอเพียงต้ำนทุจริต” ในระยะต้นของกำร ดำเนินกำร แม้ว่ำในโครงกำรได้กำหนดกระบวนกำร ต่ำง ๆ ไว้ แต่ ผู้นำโครงกำรสู่กำรปฏิบัติมีควำมเข้ำใจในควำมหมำยแตกต่ำงกันไป ทำให้กำรนำสู่กำรปฏิบัติค่อนข้ำงสับสน จึงมีกำรคิดค้น STRONG model ขึ้นมำเพ่ืออธิบำยโครงกำร “จิตพอเพียงต้ำนทุจริต” ให้มี ระบบมำกขึ้น และเรียกช่ือที่เช่ือมโยงระหว่ำง STRONG model และจิตพอเพียงต้ำนทุจริต ว่ำ โครงกำร “STRONG จิตพอเพียงต้ำน ทจุ ริต” กำรคิดค้น STRONG model เกิดข้ึนจำกกำรตกผลึกทำง ควำมคิดของควำมหมำยของ “จิตพอเพียงต้ำน ทุจริต” ท่ี ประกอบด้วยคำสำคญั 3 คำ คอื จิต พอเพยี ง ต้ำนทุจริต จิตพอเพียงต้านทุจริต ต้องเป็นจิตท่ีมีความแข็งแกร่ง ทำ ให้คิดถึงคำภำษำอังกฤษ คือ Strong ท่ีเป็นคำง่ำย ๆ มีกำรใช้ บ่อย ๆ ควำมหมำยเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไป แต่ต้องคิดให้ตก ผลึกในตัวอักษรทั้ง 6 ตัว ให้สำมำรถเช่ือมโยงกับคำว่ำ พอเพียง และคำว่ำ ต้ำนทุจริต จึงเป็นกำรต้ังต้นในกำรหำควำมหมำยใน 6
ตัวอักษรภำษำอังกฤษทั้ง 6 ตัว ท่ีมีควำมเช่ือมโยงกันและสำมำรถ คิดกจิ กรรมท่ีเปน็ รปู ธรรมได้ S เป็นตัวอักษรตัวแรกของ Strong ทำให้คิดถึงคำ Sufficient ซ่ึงแปลว่ำ พอเพียง เป็นคำสำคัญ และเป็น หลักเป็น แก่นของจิตพอเพียงตำ้ นทจุ รติ คำสำคัญคำถัดไปคือ ต้ำนทุจริต ซ่ึงจำเป็นต้องมีคำอธิบำย หรอื คำจำกดั ควำมใหช้ ัดเจน เพอ่ื ค้นหำคำท่ีเก่ยี วขอ้ งและสอดคล้อง สำหรับใส่ในอกั ษรอังกฤษ t-r-o-n-g กำรทุจริตเกิดขึ้นจำกระบบและคน ระบบที่เน้นควำมโปร่งใส และตรวจสอบได้จะทำให้กำรทุจริตยำกย่ิงขึ้น คนสุจริตที่ไม่ นง่ิ เฉย ไม่ยอมใหม้ ีกำรทจุ รติ เกิดขึ้น ย่อมเป็นกลไกป้องกันกำรทุจริต และทำใหส้ งั คมเจรญิ กำ้ วหนำ้ ได้ยิง่ ขน้ึ กำรประกอบคำต่ำง ๆ ในตัวอักษร t-r-o-n-g จึงเกดิ ขึ้น ดงั นี้ ตวั T จึงใชค้ ำ Transparent โปรง่ ใส R Realise ตื่นรู้ รู้สภำวะ รู้เหตุกำรณ์ที่จะเกิดกำรทุจริต และพรอ้ มจะต่อส้ปู ้องกนั ไม่ให้เกิดกำรทจุ รติ O เป็นตัวอักษรที่คิดหำคำยำกท่ีสุด แต่ในท่ีสุดจึงเลือกคำ Onward ม่งุ ไปข้ำงหน้ำ มุง่ สร้ำงควำมเจริญ N เป็นคำควบกล้ำกับ K Knowledge ควำมรู้ เป็นปัจจัย จำเป็นสำหรับมนุษย์ มีอิทธิพลต่อทัศนคติ ควำมตระหนัก และ พฤติกรรม กำรกระทำ G Generosity เอ้ืออำทร เอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ในฐำนะของเพื่อน มนษุ ย์ โดยมิใชต่ ่ำงตอบแทนหรอื ต้องกำรผลประโยชน์ 7
STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต จึงหมำยถึง ผู้ท่ีมีควำม พอเพียง ไม่เบียดเบยี นตนเองและผู้อน่ื (S) ม่งุ อนำคตท่ีเจริญ ทั้งตนเองและส่วนรวม (O) โดยใช้หลักควำมโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พื้นฐำนจิตใจมีมนุษยธรรม เอื้ออำทร ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์โดย ไม่เห็นแก่ประโยชน์ต่ำงตอบแทน (G) ให้ควำมสำคัญต่อกำรเรียนรู้ ตลอดชีวิต เพื่อกำรดำรงชีวิตในทำงท่ีชอบ (N) แต่ตื่นรู้เร่ืองภัย ทุจริตที่ร้ำยแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจกำรทุจริตประพฤติมิชอบ ท้ัง ปวง ไมย่ อมทนตอ่ กำรทุจริตทกุ รปู แบบ (R) 8
S Sufficient พอเพียง เนื่องจำกควำมพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมมีระดับที่ แตกต่ำงกันตำมวิธีคิด สภำพควำมพร้อมและควำมสำมำรถ รวมทั้ง ตำมสถำนภำพทำงเศรษฐกจิ และสงั คมของบุคคลและครอบครวั กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดท่ีแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและ ส่ ว น ร ว ม ไ ด้ อ ย่ ำ ง ถู ก ต้ อ ง ชั ด เ จ น แ ล ะ เ ป็ น อั ต โ น มั ติ จะนำไปสู่จิตสำนึกท่ีพอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่ เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอำมิสสินบน โดยมติ ้องจำกัดขอบเขตของกำรประกอบอำชีพท่ีสุจริต สำมำรถหำ ทรพั ยส์ นิ เงนิ ทองไดต้ ำมควำมสำมำรถ ทง้ั นี้ โดยไม่เดือดร้อน ตนเองและผู้อื่น T Transparent โปรง่ ใส ควำมโปรง่ ใส ทำใหเ้ ห็นภำพหรือปรำกฏกำรณ์ชัดเจน กลไกหลัก คือ สร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจ และวิธีสังเกต เกีย่ วกบั ควำมโปร่งใสของโครงกำรตำ่ ง ๆ R Realise ตน่ื รู้ เม่ือบุคคลรู้พิษภัยของกำรทุจริต และไม่ทนที่จะเห็นกำร ทุจริตเกิดขน้ึ 9
กลไกหลัก กำรเรียนรู้สถำนกำรณ์กำรทุจริตในพ้ืนท่ี ใน ชุมชน หรือในกรณีท่ีปรำกฏกำรทุจริตขึ้น หรือกรณีศึกษำที่เกิดขึ้น มำแลว้ และมีคำพพิ ำกษำถึงทีส่ ดุ แล้ว O Onward มุง่ ไปข้างหน้า กำรไมม่ กี ำรทจุ ริตของภำครัฐ จะทำให้เงินภำษีถูกนำไปใช้ใน กำรพฒั นำอยำ่ งเต็มที่ กลไกหลัก คือ กำรป้องกันและกำรป้องปรำม ด้วยกระบวนกำร มีส่วนร่วมในกำรเฝ้ำระวังพ้ืนที่ท่ีมีควำมเสี่ยง ในกำรทุจริต เช่น กำร บุกรกุ พื้นทีส่ ำธำรณะ หรือเฝำ้ ระวังโครงกำรใหด้ ำเนินกำรด้วยควำม โปรง่ ใส N Knowledge ความรู้ ควำมรู้ด้ำนต่ำง ๆ มีควำมจำเป็นต่อกำรป้องกันและป้อง ปรำมกำรทจุ ริต กลไกหลัก คอื กำรให้ควำมรู้ในรูปแบบกำรฝึกอบรม หรือให้ สอื่ เรยี นรูอ้ ยำ่ งตอ่ เน่อื ง เชน่ (1) ควำมรู้เกี่ยวกับรูปแบบกำรทุจริตแบบต่ำง ๆ ทั้งแบบสมัย อดีต แบบปจั จบุ นั และแบบทอี่ ำจจะเกดิ ข้นึ ในอนำคต (2) ควำมรู้เกี่ยวกับกำรทุจริตในต่ำงประเทศ (3) วิธกี ำรป้องกนั - ป้องปรำมแบบต่ำง ๆ (4) ควำมรู้เกย่ี วกำรเฝำ้ ระวงั (5) ควำมรเู้ กี่ยวกับกฎหมำยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 10
G. Generosity ความเอื้ออาทร กำรพัฒนำสงั คมไทยให้มีน้ำใจ โอบอ้อมอำรี เอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ โดย ไม่มีผลประโยชน์ตอบแทนหรือหวงั ผลตอบแทนในฐำนะเพือ่ นมนุษย์ กลไกหลัก กิจกรรมจิตอำสำ ช่วยเหลือบุคคล ชุมชน/สังคมใน ยำมวิกฤติ หรอื กำรรว่ มมือในกำรร่วมพฒั นำชุมชน STRONG model สามารถพัฒนาได้อีก 2 ระดับ คือ STRONGER และ STRONGEST ดังรูป 11
การพฒั นาโมเดล STRONG สู่ STRONGER – STRONGEST จำกกำรประยุกต์โมเดล STRONG ในกำรดำเนินโครงกำร “STRONG – จิตพอเพียงต้ำนทุจริต” ตั้งแต่ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 พบว่ำ สมำชิกชมรม STRONG ในพ้ืนที่จังหวัดต่ำง ๆ และ ผู้ เ ข้ ำ ร่ ว มอบ ร มมี คว ำ มรู้ ควำมเข้ ำใจและน ำหลั กกำรของโมเดล STRONG ไปสู่กำรปฏิบัติอย่ำงเป็นรูปธรรม ซึ่งกรณีตัวอย่ำงท่ีแสดงให้ เห็นถึงควำมสำเร็จของกำรดำเนินโครงกำร STRONG – จิตพอเพียง ต้ำนทุจริตและกำรก่อต้ังชมรม STRONG อย่ำงเป็นรูปธรรม คือ จำก กำรที่เพจเฟซบุ๊กชมรม STRONG – จิตพอเพียงต้ำนทุจริต จังหวัดสุ รำษฎร์ธำนี ได้นำเสนอประเด็นกำรทุจริตอำหำรกลำงวัน โดยระบุ ข้อควำมว่ำ “ขนมจีนกับน้ำปลำ คือ อำหำรกลำงวันเด็ก ของ โรงเรียนบ้ำนท่ำใหม่ อ.ท่ำชนะ จ.สุรำษฎร์ธำนี” พร้อมคลิปเป็น หลกั ฐำนประกอบ สง่ ผลให้มกี ำรวพิ ำกษว์ จิ ำรณ์ในสังคมวงกว้ำงและ นำไปสู่กำรลงโทษผู้กระทำผิด รวมถึงได้มีกำรเฝ้ำระวังและแจ้ง เบำะแสกำรทุจริตอำหำรกลำงวันของโรงเรียนในพื้นที่ต่ำง ๆ มำกขึ้น โดยมีคุณครู ผู้ปกครอง และนักเรียนเป็นผู้มีส่วนร่วมในกำรเฝ้ำระวัง และแจ้งเบำะแส (Watch and Voice) ดังเช่นกำรทุจริตอำหำร กลำงวันของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดชัยนำท ที่คุณครูได้มีกำร ร้องเรียนว่ำโครงกำรอำหำรกลำงวันโรงเรียนอำจไม่เป็นไปตำม มำตรฐำนและคุณภำพที่กระทรวงศึกษำธิกำรกำหนด เนื่องจำกมี กำรนำอำหำรสำเร็จรูปมำปรุงเป็นอำหำรกลำงวันของนักเรียนเพ่ือ ลดต้นทุนค่ำใช้จ่ำย จึงนำไปสู่กำรตรวจสอบควำมผิดปกติโครงกำร อำหำรกลำงวันและมีกระแสสังคมทแ่ี สดงผำ่ นทำงสือ่ สงั คมออนไลน์ 12
(Social Media) ในกำรปกป้องผู้แจ้งเบำะแสกำรทุจริตท่ีได้รับ ผลกระทบต่อตำแหน่งหน้ำท่ีจำกกำรมีคำส่ังย้ำยไปช่วยรำชกำรท่ี สำนกั งำนเขตพืน้ ท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำชัยนำท จนกระทั่งคุณครู ที่เป็นผู้แจ้งเบำะแสได้ย้ำยกลับไปทำงำนที่โรงเรียนแห่งเดิมอีกคร้ัง หนึ่ง ซึ่งจำกกรณีทุจริตอำหำรกลำงวัน แสดงให้เห็นว่ำทุกภำคส่วน ในสังคมมีควำมต่ืนรู้และมีควำมพร้อมที่จะเข้ำมำมีส่วนรวมในกำร ป้องกันกำรทุจริต ทั้งในบทบำทของผู้เฝ้ำระวัง ผู้แจ้งเบำะแส และ ให้ควำมคุ้มครองปกป้องผู้แจ้งเบำะแสกำรทุจริตจำกควำมไม่เป็น ธรรมและอทิ ธพิ ลของผมู้ อี ำนำจ นอกจำกนี้ ตำมหลักภำษำอังกฤษท่ีคำว่ำ “STRONG” มี ก ำ ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ ข้ั น ก ว่ ำ ( comparative) แ ล ะ ขั้ น สู ง สุ ด (superlative) จึงมีกำรพัฒนำโมเดล STRONG สู่ STRONGER – STRONGEST เพอ่ื ใหก้ ำรดำเนนิ ภำรกิจป้องกันกำรทุจริตนำประเทศ ไทยไปสู่กำรเป็น “ประเทศไทยใสสะอำด...ไทยท้ังชำติต้ำนทุจริต” อั น เ ป็ น วิ สั ย ทั ศ น์ ข อ ง ยุ ท ธ ศ ำ ส ต ร์ ช ำ ติ ว่ ำ ด้ ว ย ก ำ ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ ปรำบปรำมกำรทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) โดยมี รำยละเอยี ดดงั นี้ โมเดล STRONGER โมเดล STRONGER เป็นกำรพัฒนำไปสู่หลักกำรต่อต้ำน กำรทุจริตท่ีมีควำมเข้มแข็งมำกข้ึน โดยได้เพ่ิมนิยำมเชิงปฏิบัติจำก กำรตัวอักษรแรกของศัพท์ภำษำอังกฤษที่มีควำมหมำยเชิงบวก จ ำ น ว น 2 ค ำ ไ ด้ แ ก่ ควำมเปน็ เลศิ (Excellence: E) และกำรเปล่ียนแปลง (Reformity: R) ซ่ึงแสดงไดด้ งั แผนภำพท่ี 2 13
แผนภาพท่ี 2 โมเดล STRONGER จำกแผนภำพท่ี 2 สำมำรถอธิบำยนิยำมเชิง ปฏิบัติกำรของคำว่ำ “เป็นเลิศ” (Excellence: E) และ “เปลี่ยนแปลง” (Reformity: R) ไดด้ ังน้ี (1) เป็นเลิศ (Excellence: E) 14
ปัจเจกบุคคล องค์กร และชุมชนมุ่งควำมเป็นเลิศ ในกำรนำหลักของโมเดล STRONG ได้แก่ พอเพียง (Sufficient: S) โปร่งใส (Transparent: T) ต่ืนรู้ (Realise: R) มุ่งไปข้ำงหน้ำ (Onward: O) ควำมรู้ (Knowledge: N) และเอ้ืออำทร (Generosity: G) รวมถึงหลักกำรสำคัญของโมเดล STRONG คือ กำรมีส่วนร่วมใน กำรเฝ้ำระวังและกำรแจ้งเบำะแสกำรทุจริต (Watch and Voice) ไป ประยุกต์ใช้ในกำรป้องกันกำรทุจริตภำยในองค์กรและกำรดำเนิน ชวี ติ ประจำวันได้อย่ำงสมั ฤทธิผ์ ล (2) เปลี่ยนแปลง (Reformity: R) ปัจเจกบุคคล องค์กร และชุมชนมุ่งพัฒนำและ ปรับเปลีย่ นตนเองและองค์กรไปสู่กำรสร้ำงสังคมท่ีไม่ทนต่อกำรทุจริต ด้วยหลักควำมพอเพียง กำรแยกแยะผลประโยชน์ส่วนรวมและ ผลประโยชน์ส่วนตน มีกำรบริหำรจัดกำรองค์กรและกำรเปิดเผย ข้ อ มู ล ข่ ำ ว ส ำ ร อ ย่ ำ ง โ ป ร่ ง ใ ส เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก ำ ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก ำ ร ตรวจสอบ รวมถึงมีควำมตระหนักถึงผลกระทบของกำรทุจริต มีกำร พฒั นำและบูรณำกำรองคค์ วำมร้ตู ำ่ ง ๆ ให้เท่ำทันกำรทุจริต โดยต้ังอยู่ บนพน้ื ฐำนของควำมเออื้ อำทรต่อเพ่ือนมนษุ ย์ โมเดล STRONGEST โมเดล STRONGEST เป็นกำรพัฒนำไปสู่กำรป้องกันและ ต่ อ ต้ ำ น ก ำ ร ทุ จ ริ ต ด้ ว ย ค ว ำ ม เ ข้ ม แ ข็ ง สู ง สุ ด อันจะนำไปสูส่ งั คมทม่ี ีควำมโปร่งใสอย่ำงยั่งยืน โดยได้เพิ่มนิยำมเชิง ปฏิบัติจำกกำรตัวอักษรแรกของศัพท์ภำษำอังกฤษท่ีมีควำมหมำย 15
จำนวน 3 คำ ได้แก่ จริยธรรม (Ethics: E) ย่ังยืน (Sustainability: S) และสจั ธรรม (Truth: T) ซึง่ แสดงไดด้ ังแผนภำพท่ี 3 แผนภาพท่ี 3 โมเดล STRONGEST จำกแผนภำพที่ 3 สำมำรถอธิบำยนิยำมเชิง ปฏิบัตกิ ำรของคำว่ำ จริยธรรม (Ethics: E) ย่ังยืน (Sustainability: S) และสจั ธรรม (Truth : T) ได้ดงั นี้ 16
(1) จริยธรรม (Ethics: E) ปจั เจกบุคคล องคก์ ร และชุมชนเป็นผู้มีคุณธรรม มี ค ว ำ ม ซ่ื อ สั ต ย์ แ ล ะ มี ค ว ำ ม รั บ ผิ ด ช อ บ ตำมบทบำทหน้ำท่ีของตนเอง ดำรงตนอย่ำงมีเหตุผล รวมถึง หน่วยงำนภำครัฐและเอกชนมีกำรบังคับใช้ประมวลจริยธรรม จรรยำบรรณ มำตรฐำนทำงคุณธรรม เพ่ือให้กำรปฏิบัติตนของ เจำ้ หน้ำที่รัฐและพนักงำนเอกชนอยูบ่ นฐำนของควำมมจี ริยธรรม (2) ยั่งยนื (Sustainability: S) กำรพัฒนำสังคมไทยให้โปร่งใสไร้กำรทุจริตอย่ำง ยั่งยืน (Sustainable Development) จะสร้ำงสรรค์วัฒนธรรมไทยท่ี แข็งแกร่ง สู่ “ประเทศไทยใสสะอำด ไทยทั้งชำติต้ำนทุจริต” อันเป็น วิสัยทัศน์ของยุทธศำสตร์ชำติว่ำด้วยกำรป้องกันและปรำบปรำมกำร ทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) (3) สจั ธรรม (Truth: T) STRONG Model ที่มีกำรพัฒนำเป็น 3 ระดับ จำก STRONG สู่ STRONGER และปลำยทำงของระดับ STRONGEST คือ มีสัจธรรมเป็นแก่น คือ คนไทยมีจิตใจสะอำด บริสทุ ธิ์ เสยี สละ และประพฤติดีงำม ครองงำน ครองคน และครอง ตนอยู่บนพื้นฐำนของจริยธรรมและควำมซื่อสตั ยส์ ุจริต 17
บรรณานกุ รม SdadkjDSLFJ Sdflkhdfkl DKKDGKDGI 18
ภาคผนวก 19
20
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: