Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ5ส สำหรับพนักงาน 5S Manual for Staffs Update 21-06-2022 Rev01

คู่มือ5ส สำหรับพนักงาน 5S Manual for Staffs Update 21-06-2022 Rev01

Published by thailand.patsavee, 2022-06-22 02:56:51

Description: คู่มือ5ส สำหรับพนักงาน 5S Manual for Staffs Update 21-06-2022 Rev01

Search

Read the Text Version

M ทุกคน ทุกที่ ทุกระดบั ทุกเวลา L HT กดไลค์แฟนเพจ Facebook กนั เยอะๆน้า คู่มือ 5ส สาหรับพนักงาน บริษทั เอม็ อพี ี เฮคซ่า (ประเทศไทย)จากดั

บริษทั MEP Hexa (Thailand) Ltd.ไดต้ ระหนกั ถึงความสาคญั ของคุณภาพงาน คุณภาพชีวิต ของพนกั งาน การกาจดั ความสูญเสียและความสูญเปลา่ จึงไดน้ าระบบ 5ส มาช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินงาน ทางคณะผจู้ ดั ทาจึงหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ คู่มือ 5ส เลม่ น้ีจะเป็นประโยชน์สาหรับผทู้ ่ีอ่านมากท่ีสุด เพอ่ื การปฏิบตั ิ 5ส ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและไดป้ ระสิทธิผลสูงสุด ตามนโยบายการทางาน ของบริษทั ฯ จดั ทาโดย คณะทางาน 5ส

ประวตั ิบริษทั เอม็ อีพี เฮคซ่า (ประเทศไทย) จากดั 6 โครงสร้าง 5ส และการแบ่งพ้ืนที่รับผดิ ชอบ 7 นโยบาย 5ส และวตั ถุประสงคข์ องกิจกรรม 5ส 8 ความหมายของ 5ส 9 ประโยชนข์ องการทา 5ส 10 ปัจจยั ท่ีมีผลต่อความสาเร็จในการทา 5ส 11-12 ความสาเร็จความลม้ เหลวในกิจกรรม 5ส 13 หวั ใจของ ส สะสาง คือการลดความสูญเปล่า 14 หวั ใจของ ส สะดวก 15 วตั ถุประสงคข์ องการทา ส สะดวก 16 หวั ใจของ ส สะอาด 17 การใชย้ ทุ ธการป้ายแดง 18 ความหมายของ Muda, Mura, Muri 19

ตวั อยา่ ง Muda, Mura, Muri 21 โครงการ Employees Housing Contest 22 กติกาและเกณฑก์ ารพิจารณา Employees Housing Contest 23 เงินรางวลั โครงการ Employee Housing Contest 24 หลกั เกณฑก์ ารตรวจประเมิน 25 การตรวจประเมินระบบ 5ส 26 แบบฟอร์มการตรวจประเมินพ้ืนท่ี 5ส 27-29 การวดั ผลความสาเร็จในกิจกรรม 5ส 30 การตรวจประเมินท้งั 3 ระดบั 31-33 มาตรฐานองคก์ ร 34-35 ทีมประชาสัมพนั ธ์ 36-37 การดาเนินกิจกรรม 5ส ท้งั 4 ทีม 38 คณะผจู้ ดั ทาทีมวชิ าการ 39 คณะผจู้ ดั ทาทีมตรวจประเมิน 40 คณะผจู้ ดั ทาทีมมาตรฐาน 41 คณะผจู้ ดั ทาทีมประชาสัมพนั ธ์ 42

MEP Hexa (Thailand)Ltd. หนา้ 6 ในปี พ.ศ.2531 บริษทั ไดก้ ่อต้งั ข้ึนในช่ือ เฮคซ่า คลั เลอร์ (ไทยแลนด)์ จากดั ต้งั อยู่ ณ เลขที่ 26/1 ถนนพระราม 3 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ โดยมี วตั ถปุ ระสงคใ์ นการดาเนินธุรกิจผสมสีเมด็ พลาสติก การทาคอมพาวด์ แม่สี (Master batch) และ Dry powder สาหรับเมด็ พลาสติก (Thermo Plastic) ทุกประเภท ในปี พ.ศ. 2536 จึงไดท้ าการยา้ ยฐานการผลิตมาอยู่ ณ เลขที่ 102 หมู่ 5 นิคมอตุ สาหกรรมเวลโกรว์ ถนนบางนา-ตราด กม.36 ตาบลบางสมคั ร อาเภอบางปะกง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา 24180 โดยมีพ้นื ที่กวา่ 10ไร่ และเพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 112 ลา้ นบาท และในปี พ.ศ. 2554 มีการปรับเปล่ียนโครงสร้างผถู้ ือหุน้ และเปล่ียนชื่อ บริษทั ใหม่เป็น บริษทั เอม็ อีพี เฮคซ่า (ประเทศไทย) จากดั

หนา้ 7 เลขานุการระบบ 5ส ประธานระบบ 5ส ที่ปรึกษาระบบ 5ส คณะทางานระบบ 5ส ทีมประชาสัมพนั ธ์ ทีมวชิ าการ ทีมสร้างมาตรฐาน ทีมตรวจประเมิน หวั หนา้ พ้ืนท่ี 5ส ระดบั หวั หนา้ งาน ผชู้ ว่ ยหวั หวั หนา้ พ้ืนท่ี 5ส พืน้ ทที่ ้งั หมด 22,056.44 ตรม.

นโยบายบริษทั สาหรับการทา 5ส หนา้ 8 วตั ถุประสงค์ของกจิ กรรม 5ส 1. เพอ่ื ส่งเสริมใหม้ ีการนาระบบ 5ส ไปปฏิบตั ิอยา่ งจริงจงั และใหเ้ ป็นมาตรฐานในระดบั สากล 2. เพ่ือส่งเสริมใหเ้ กิดความมีวนิ ยั ใหก้ บั พนกั งานทุกระดบั 3. เพื่อส่งเสริมใหเ้ กิดความปลอดภยั ในสถานท่ีทางาน 4. เพอื่ ส่งเสริมใหเ้ กิดขวญั กาลงั ใจและบรรยาการการทางาน อยา่ งมีความสุข 5. เพ่อื สร้างความพึงพอใจใหก้ บั ลูกคา้ ท้งั ภายในและ ภายนอก โดยการดาเนินการระบบ 5ส

ความหมายของ 5ส หนา้ 9 5ส เป็นการนาอกั ษรตวั หนา้ ของคาภาษาองั กฤษที่เขียนตามการออกเสียงใน ภาษาญ่ีป่ ุนมาใชเ้ พ่ือใหส้ ามารถจดจาไดง้ ่ายจึงกลายมาเป็น คาวา่ 5ส ตามลาดบั ดงั น้ี สะสาง กรอบที่ MHTL ยดึ เป็ นแนวทาง สร้างมาตรฐาน : ลดความสญู เปลา่ : มีส่ิงของและขนั้ ตอน ท่ีจาเป็นพอดี สะดวก : เพ่มิ ประสิทธิภาพ : ลดความผนั แปร : ทา 3ส แรกอยา่ งตอ่ เน่ือง ส : ปรบั ปรุงกระบวนการ เพ่ือสง่ เสรมิ การสรา้ งวนิ ยั ทางานใหง้ ่ายและเรว็ สร้างวนิ ัย สะอาด : เพ่มิ ประสิทธิภาพ : พฒั นาตนเอง สรา้ งภาวะผนู้ า : ปรบั ปรุงกระบวนการ : รกั ษามาตรฐานอยา่ ง ทางานงา่ ยและเรว็ สม่าเสมอ

ประโยชน์ของ 5ส หนา้ 10 1. ส่ิงแวดลอ้ มในการทางานดี เป็นการเพ่มิ ขวญั กาลงั ใจใหแ้ ก่พนกั งาน 5ส มีคุณค่าในการพฒั นาคนใหป้ ฏิบตั ิกิจกรรมจนเกิด 2. ลดอุบตั ิเหตุในการทางาน เป็นนิสยั ท่ีดีมีวนิ ยั อนั เป็นรากฐานของระบบคุณภาพเพราะเป็น 3. ลดความสิ้นเปลืองในการจดั ซ้ือวสั ดุเกินความจาเป็น กิจกรรมท่ีฝึกใหท้ ุกคนคิดร่วมกนั ทาเป็นทีม ค่อยเป็นค่อยไปไม่ยงุ่ ยาก ไม่รู้สึกวา่ การปฏิบตั ิงานอยา่ งมีวนิ ยั เป็นภาระเพมิ่ ข้ึนอีกต่อไป ซ่ึงจะ เป็นประโยชนต์ ่อองคก์ รดงั ต่อไปน้ี 4 ลดการสูญหายของวสั ดุ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ 5 พ้ืนท่ีการทางานเพ่ิมข้ึนจากการขจดั วสั ดุที่เกินความจาเป็นออกไป 6. เพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการทางานมากข้ึน 7 สถานที่ทางานสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยสร้างความพึงพอใจ และความเช่ือมนั่ ใหก้ บั ลูกคา้ 8 พนกั งานมีการทางานร่วมกนั เป็นทีมมากข้ึน 9. สร้างความรู้สึกเป็นเจส้ ของต่อองคก์ รของพนกั งาน

ปัจจัยทมี่ ีผลต่อความสาเร็จในการทา 5ส หนา้ 11 สาหรับปัจจยั สาคญั ท่ีมีผลต่อความสาเร็จในการทากิจกรรม 5ส น้นั มีหลายปัจจยั เขา้ มาเกี่ยวขอ้ งแต่จะมีปัจจยั ที่สาคญั อยู่ 2 ดา้ น คือ ดา้ นบุคคล และดา้ นดาเนินงานที่มีความสาคญั เป็นอยา่ งมากสาหรับการที่จะทาใหก้ ิจกรรม 5ส ประสบผลสาเร็จ 1. ดา้ นบุคลากร 1.1 ผบู้ ริหารระดบั สูง 1.1.1 ตอ้ งใหค้ วามสาคญั และสนบั สนุนอยา่ งจริงจงั โดยถือวา่ การทากิจกรรม 5ส เป็น ส่วนหน่ึงของการทางานปกติ 1.1.2 ตอ้ งเอาใจใส่เขา้ ไปมีส่วนร่วมอาทิ เป็นประธานกรรมการ 5ส ของหน่วยงานและ คอยติดตามผลอยตู่ ลอดเวลา 1.1.3 ตอ้ งทาหนา้ ท่ี ดงั น้ี 1. ทาตนเป็นตวั อยา่ งที่ดีในการทา 5ส เช่น ลงมือสะสางและทาความสะอาดร่วมกบั เจา้ หนา้ ที่ผปู้ ฏิบตั ิงาน 2. ตรวจสอบการดาเนินงาน 5ส ของผ. ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาอยเู่ สมอ 3. ชมเชยหน่วยงานที่ทา 5ส ไดผ้ ลดี 1.2 ผปู้ ฏิบตั ิงาน 1.2.1 ทุกคนตอ้ งมีความเขา้ ใจหลกั การ ข้นั ตอน วิธีการทากิจกรรม 5ส 1.2.2 ทุกคนตอ้ งมีส่วนร่วมเป็นผจู้ ดั ทากิจกรรม 5ส (ไม่มีผสู้ ังเกตุการณ์)

2.ด้านการดาเนินงาน หนา้ 12 2.1 ตอ้ งมีการใหก้ ารศึกษาอบรมเพ่อื สร้างความเขา้ ใจการทากิจกรรม 5ส ใหท้ ุกคนในหน่วยงานทราบรวมท้งั จดั ใหม้ ี การศึกษาดูงานที่สามารถเป็นตวั อยา่ งได้ รวมท้งั ขจดั ขอ้ สงสยั ท้งั ปวง ต่อคาถามวา่ ทาไมตอ้ งทา 5ส 2.2 มีการกาหนดมาตรฐาน และปรับระดบั มาตรฐานใหส้ ูงข้ึน 2.3 มีการติดตามประเมินผลอยา่ งต่อเนื่อง รวมท้งั มีระบบรายงานผลความคืบหนา้ ของกิจกรรม 5ส ใหท้ ราบโดยทว่ั กนั 2.4 จดั ใหม้ ีกิจกรรมเพ่ือกระตุน้ ส่งเสริมการทากิจกรรม 5ส เป็นประจา เช่นการตรวจพ้ืนที่เป็นระยะโดยผบู้ ริหาร เช่น การจดั ใหม้ ีกิจกรรม Morning Rally โดยไม่บอกล่วงหนา้ เมื่อผบู้ ริหารตรวจพ้ืนที่ใดแลว้ อาจใหข้ อ้ สังเกตหรือตกั เตือนในรูป สัญลกั ษณ์เช่น ติดโบวแ์ ดงบริเวณโต๊ะท่ีไม่มีการทา 5ส เพ่ือใหเ้ จา้ ของโตะ๊ ปรับปรุงใหด้ ีข้ึน 2.5 ทากิจกรรม 5ส ควบคู่ไปกบั กิจกรรมอ่ืน อาทิกิจกรรมปรับปรุง หรือระบบขอ้ เสนอแนะสาคญั ท่ีสุดคือความ พยายามอยา่ งต่อเน่ืองเพ่ือทาวนั น้ีใหด้ ีกวา่ เมื่อวานน้ีและทาพรุ่งน้ีใหด้ ีกวา่ วนั น้ี wO R K

ความสาเร็จ / ความล้มเหลว หนา้ 13 กิจกรรม 5ส จะประสบผลสาเร็จไดไ้ ม่ไดข้ ้ึนอยกู่ บั ใครคนใดคนหน่ึงแต่ข้ึนอยกู่ บั ทุกคนร่วมมือกนั “ในทางกลบั กนั กิจกรรม 5ส จะลม้ เหลวไดเ้ พยี งแค่มี คนใดคนหน่ึงในองคก์ รไม่เขา้ ใจ หรือไม่ใหค้ วาม ร่วมมือในการทากิจกรรม 5ส

หัวใจของ ส สะสาง คือ การลดความสูญเปล่า หนา้ 14 ประเดน็ สาคญั ในการคดั แยกวตั ถุสิ่งของ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือ สิ่งที่ไม่ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั คือ ส่ิงที่ไม่ตอ้ งการ ปริมาณที่เกินกวา่ การใชใ้ นชีวติ ประจาวนั คือ สิ่งท่ีไม่ตอ้ งการ วธิ ีการดูสิ่งของทไี่ ม่ใช้ :พจิ ารณาความถใี่ นการใช้ • ส่ิงของที่ไม่ไดใ้ ชเ้ กินกวา่ 1 ปี :ทิ้งหรือ กาจดั ออกจากพ้ืนท่ีทางาน • ใช้ 1 คร้ังใน 6 เดือนถึง 1 ปี :วางไกล ๆ พ้ืนที่ทางาน • ใช้ 1 คร้ังใน 1-6 เดือน:วางไว้ / เกบ็ ไวใ้ กล้ ๆ ในท่ีทางาน • ใชส้ ปั ดาห์ละคร้ัง :วางไว้ / เกบ็ ไวใ้ กล้ ๆ ในพ้ืนท่ีทางาน • ใชท้ ุกวนั :วางไว/้ เกบ็ ไวใ้ กล้ ๆ ในพ้ืนที่ทางาน • ใชท้ ุกชวั่ โมง :วางไวใ้ นท่ีหยบิ ไดท้ นั ที ส่ิงที่สาคญั ส่ิงที่จาเป็นตอ้ งใชแ้ ต่ไม่มี ตอ้ งจดั หาเพิ่มเติมรวมถึงสิ่งท่ีจาเป็นตอ้ งใชแ้ ต่เสียตอ้ งดาเนินการซ่อมแซม วธิ ีปฏบิ ตั หิ น้างาน ข้นั เตรียมการ (บันทึกสถานะปัจจุบัน) 1. กาหนดพ้ืนท่ี / บริเวณตาแหน่งท่ีตอ้ งการปรับปรุง 2. ถ่ายรูปพ้ืนที่ก่อนทา/หลงั ทาความสะอาด 3. คน้ หาสิ่งที่เป็นความสูญเปล่าวตั ถุดิบ ชิ้นส่วนต่าง ๆ สาหรับการผลิตวตั ถุดิบระหวา่ งการผลิตสินคา้ สาเร็จรูป

หัวใจของ ส สะดวก คือ หนา้ 15 เพมิ่ ประสิทธิภาพการทางาน (ความเร็ว) สะดวก คือ การจดั แบ่งหมวดหมู่และการจดั สถานที่น้นั จะตอ้ งวิเคราะห์และวางแผนอยา่ งดีและผปู้ ฏิบตั ิงานในองคก์ ร จะตอ้ งรู้วา่ ส่ิงของที่จาเป็นตอ้ งใชน้ ้นั อยทู่ ี่ไหน โดยมีป้ายช้ีบ่งบอกใหร้ ู้ทาให้ “หยบิ ง่าย หายกร็ ู้ ดูกง็ าม” ข้นั ตอนการดาเนินการ ส สะดวก 1. วางของที่ใชง้ านใหเ้ ป็นที่ หรือมีป้ายบอก 2. นาของไปใชง้ านแลว้ นามาเกบ็ ไวท้ ่ีเดิม 3. วางของที่ใชง้ านบ่อยไวใ้ กลต้ วั 4. จดั ของท่ีใชง้ านใหเ้ ป็นหมวดหมู่ ข้นั ตอนการดาเนินการ ส สะดวก 1. ทาแผนผงั กาหนดช่ือท่ีอยทู่ ี่แน่นอนใหก้ บั ส่ิงของท่ีอยใู่ นพ้ืนที่ท้งั หมดรวมถึงความเชื่อมโยงไปยงั ส่ิงของท่ีมีหน่วย เลก็ ที่สุด 2. กาหนดท่ีวางส่ิงของใหช้ ดั เจนหา้ มปะปนกนั 3. จดั ทาป้ายช่ือตามระบบท่ีไดว้ างไว้ 4. จดั วางตามแผนผงั จดั วางโดยกาหนดใหส้ ่ิงท่ีใชบ้ ่อยใหอ้ ยใู่ กลม้ ือและไกลมือออกไปตามความถ่ีการใชง้ าน

หนา้ 16 วตั ถุประสงค์ของการทา “ส สะดวก” ทุกตาแหน่งสิ่งของตอ้ งมีการกาหนดช่ือ กาหนดตาแหน่ง 1. เพ่ือลดเวลาท่ีสุญเปลา่ ในการคน้ หาส่ิงของ และกาหนดปริมาณ 2. เพื่อลดการสูญหายของเอกสารและอปุ กรณ์ 3. เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพและลดเวลาในการทางาน 4. เพอ่ื จดั สถานท่ีทางานใหเ้ ป็นระเบียบปลอดภยั ในการทางาน กฎพืน้ ฐานในการสร้างความสะดวก “ มีประเดน็ พ้นื ฐาน ประเดน็ ที่ตอ้ งจา” กฎ 3 ก.ในการสร้างความสะดวก - เกบ็ ท่ีไหน ? …… (กาหนดสถานที่) - เกบ็ อะไร ? …… (กาหนดชื่อ) - เกบ็ จานวนเท่าไหร่ ? …..(กาหนดจานวน) และจดั ทาป้ายช้ีบ่งตอ้ งมนั่ ใจวา่ มีคนเขา้ ใจมองเห็นไดแ้ ละตอบ 3 คาถามขา้ งบนได้

หัวใจของ ส สะอาด คือ หนา้ 17 การตรวจสอบ สะอาด คือ การดูแลรักษาความสะอาดของพ้นื ท่ีทางานท้งั หมดอยา่ งสม่าเสมอ รวมถึงการบารุงรักษาเคร่ืองใชอ้ ุปกรณ์ ใหอ้ ยใู่ นสภาพที่ใชง้ านไดต้ ลอดเวลา โดยการปฏิบตั ิดงั น้ี 1. กาหนดผรู้ ับผดิ ชอบพ้ืนที่ตามท่ีไดว้ างแผนไวร้ วมถึงเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ 2. ศึกษารายละเอียดวิธีการทาความสะอาด ระดบั ความสะอาดของพ้ืนท่ีเครื่องจกั รและอุปกรณเ์ พ่ือไม่ใหเ้ กิดความเสียหาย 3. กาหนดแผนการทาความสะอาดขณะทางาน รายกะ รายวนั รายเดือน รายปี Click here ข้นั ตอนการทาความสะอาด Add text 1. มอบหมายพ้ืนที่ 2. ศึกษาวิธี 3. กาหนดเวลา 4. กาหนดรายละเอียด 5. ใชอ้ ุปกรณ์ถูกตอ้ ง 6. ทาทุกวนั (ตรวจสอบสิ่งผดิ ปกติ)

ใช้ยุทธการป้ายแดง หนา้ 18 เป็นหนทางที่จะช่วยระบุ “สิ่งที่ไม่จาเป็น” หรือ “สิ่งที่อยผู่ ดิ ท่ี” ในสถานท่ีทางาน เราจะติดป้ายแดงบนอะไร ??? อะไรกไ็ ดท้ ี่ไม่จาเป็นตอ้ งใช้ สว่ นประกอบของเครอ่ื งจกั ร เคร่อื งจกั ร ชนั้ วาง จุดทค่ี วรสะสาง เอกสารต่าง ๆ 1. บนโต๊ะทางานและลิน้ ชกั โตะ๊ ทางานของแต่ละคน เคร่อื งเขียน 2. ตูเ้ กบ็ เอกสาร / ตูเ้ กบ็ ของ / ช้นั วางของ 3. บริเวณรอบโตะ๊ ทางาน 4. หอ้ งเกบ็ ของ 5. มุมอบั ต่าง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกที่ทางาน 6. พ้ืนของสถานที่ทางานรวมท้งั เพดาน 7. บอร์ดประกาศคาสง่ั ระเบียบ

Muda Mura Muri ความหมาย หนา้ 19 無駄 (Muda) 斑 (Mura) 無理 (Muri) • ในภาษาองั กฤษจะแปลวา่ • ในภาษาองั กฤษจะแปลวา่ • ในภาษาองั กฤษจะแปลวา่ Waste หรือส่ิงท่ีไม่จาเป็น Overburden หรือกาทางานท่ีเกินขีด หรือความสูญเปล่า Unevenness หรือการทางาน ความสามารถ หรือการฝืนทางานท่ี ในสภาวะท่ีไมเ่ หมือนกนั เกินกาลงั ของตวั เอง • คือ สิ่งท่ีทาใหต้ น้ ทุนการ หรือความไมส่ ม่าเสมอ ดาเนินงานสูงข้ึน แตไ่ มไ่ ด้ • คือ การทางานที่เกินความสามารถ, ทาใหผ้ ลผลิตเพิม่ ข้ึนหรือมี • คือ ส่ิงที่ทาใหค้ ุณภาพของ งานปริมาณมากเกินไป หรืองานยาก ประสิทธิภาพสูงข้ึน และไม่ ผลผลิตออกมามี ท่ีมีโอกาสสาเร็จต่า ทาให้เกิดความ สร้างมูลค่าเพม่ิ ประสิทธิภาพไมส่ ม่าเสมอ ผดิ พลาด ใหก้ บั สินคา้ หรือบริการ ซ่ึง นาไปสู่การทางานที่ไมม่ ี อาจเกิดไดห้ ลายลกั ษณะ ทาใหส้ ินคา้ หรือบริการ ประสิทธิภาพ, เกิดการบาดเจบ็ หรือ เช่น เกิดจาก การรอ, การ ไมไ่ ดม้ าตรฐาน ซ่ึงอาจ อุบตั ิเหตุทาใหก้ ารดาเนินงาน เกิดจาก วธิ ีทางานไมช่ ดั เจน, หยดุ ชะงกั และเกิดความเครียด เคลื่อนยา้ ย, การปรับเปล่ียน , การทาใหม,่ เปล่ียนวธิ ีทางานไปมา, ปริมาณงานที่ไมส่ ม่าเสมอ การถกเถียง เป็นตน้ ในแตล่ ะวนั

Muda Mura Muri ความสัมพนั ธ์ หนา้ 20

Muda Mura Muri ตัวอยา่ ง หนา้ 21

โครงการ Employees Housing Contest หนา้ 22 เร่ิมต้นด้วยการประกวด ชื่อโครงการ และช่ือโครงการทไี่ ด้รับคดั เลือก คือ “บ้านนีส้ ุขใจ มวี นิ ัยใน 5ส” คุณริชวุฒิ แซมโต ID 0893 Production 2 ได้รับเงนิ รางวลั 1,000.- บาท The winner (ผชู้ นะเลิศ)

หนา้ 23 กตกิ าและเกณฑ์การพจิ ารณา Employees Housing Contest กติกาและเกณฑก์ ารพิจารณาโครงการ“บ้านนีส้ ุขใจ มีวนิ ัยใน 5ส” ที่ส่งเขา้ ประกวดมีดงั น้ี • กรณีครอบครัวสามารถส่ง 1 โครงการ ต่อ บา้ น/หอ้ ง 1 หลงั • กรณีโสด/อยคู่ นเดียว 1 โครงการ ต่อ บา้ น/หอ้ ง 1 หลงั • หลกั ฐานที่ตอ้ งการ รูปถา่ ย ก่อนทา ขณะทา และหลงั ทา หรือ Video ก่อนทา ขณะทา และหลงั ทา โดยรวมความยาวไม่เกิน 3 นาที • ระยะเวลาในการแข่งขนั เดือน มิถนุ ายน ถึงเดือน กนั ยายน 2022 • ระยะเวลาในการพิจารณา ตุลาคม ถึง พฤศจิกายน มอบรางวลั เดือน ธนั วาคม 2022 • ใชห้ ลกั 5ส อะไรบา้ งในการปรับปรุง เช่น 5s, visual system, Kaizen, Lean • การส่งหลกั ฐานทาง Google form • พนกั งานทุกระดบั สามารถส่ง เขา้ ประกวดโครงการน้ีได้

เงนิ รางวลั โครงการ Employees Housing Contest หนา้ 24 เงนิ รางวลั • รางวลั ที่ 1 3,000 • รางวลั ที่ 2 2,000 • รางวลั ท่ี 3 1,000 • ชมเชย 500 (จากดั 10 รางวลั ) เกณฑก์ ารคดั เลือกคณะกรรมการท้งั 4 ทีม ที่จะทาหนา้ ท่ีตดั สินโครงการ“บ้านนีส้ ุขใจ มวี นิ ัยใน 5ส” • กรรมการที่ส่งช่ือเขา้ ร่วมโครงการไม่มีสิทธ์ิเป็นตวั แทนในการตดั สินโดยเดด็ ขาด • 4 ทีม ทีมละ 2 คน สารอง 1 คน • ใหแ้ ต่ละทีมคดั เลือกกรรมการตดั สิน และส่งรายช่ือก่อนวนั ที่ 19 พฤษภาคม 2565 รองประธาน 5ส แจง้ วา่ ขอใหแ้ ต่ละทีมทบทวน คู่มือ 5ส ในส่วนที่รับผดิ ชอบและส่งมาท่ีส่วนกลางเพ่ือรวบรวมเป็น คู่มือท่ี สมบูรณ์ ซ่ึงคูม่ ือ 5ส น้ีจะเป็นเครื่องมือสาคญั ที่พนกั งานนาหลกั 5ส ไปใชใ้ นการปรับปรุงบา้ น เพ่ือส่งเขา้ ประกวด

หลกั เกณฑ์การตรวจประเมนิ หนา้ 25 คูม่ ือการตรวจประเมิน ตรวจประเมิน 5ส จะมีการระบุรายละเอียดการตรวจประเมิน 5ส แบบไหนนะ ตามมาตรฐานกลาง มาตรฐานพ้ืนท่ีส่วนรวม มาตรฐานพ้ืนท่ีเฉพาะและมาตรฐานอ่ืน ๆ

การตรวจประเมินระบบ 5 ส หนา้ 26 การประเมินผล 5ส มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือส่งเสริมใหก้ ารดาเนินระบบ 5ส เป็นไป อยา่ งต่อเน่ืองโดยอาศยั แบบฟอร์ม ในการตรวจประเมินใหค้ ะแนนเพ่ือแข่งขนั กนั ในองคก์ ร การตรวจประเมินจะมีดว้ ยกนั 3 ระดบั คือ 1. พนกั งานหรือเจา้ ของพ้ืนท่ีตรวจประเมินตนเอง (Self Audit) 2. คณะกรรมการเป็นผดู้ าเนินการตรวจประเมิน (Committee audit) 3. ผบู้ ริหารระดบั สูงสุด เป็นผดู้ าเนินการตรวจประเมิน (Top Management Audit) เกณฑร์ ะดบั คะแนนที่ใชใ้ นการประเมิน 1. Self Audit ผลการประเมินตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ต่ากวา่ 90% จึงจะผา่ นเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน คือ “ผา่ น” ใหค้ ะแนน 1 “ไม่ผา่ น” ใหค้ ะแนน 0 2. Committee audit มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั น้ี - ช่องคะแนนในแต่ละช่องจะมีคะแนนเตม็ 1 คะแนน - พบสิ่งที่ไม่เป็นไปตามเกณฑข์ อง ส แต่ละตวั บางพ้ืนท่ี ไดค้ ะแนน 0.5 ทุกพ้ืนที่ ไดค้ ะแนน สามารถดูจาก ตวั อยา่ งแบบฟอร์มการตรวจประเมินพ้ืนท่ี 5ส หนา้ ถดั ไป

แบบฟอร์มการตรวจประเมนิ พืน้ ที่ 5ส หนา้ 27

แบบฟอรม์ การตรวจประเมนิ พนื้ ที่ 5ส หนา้ 28

แบบฟอรม์ การตรวจประเมนิ พนื้ ท่ี 5ส หนา้ 29 การตรวจในแต่ละคร้ังคิดคานวนเป็น 100% ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ต่ากวา่ 85 % ถึงจะถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ ารตรวจประเมิน หากผลการตรวจ ไดค้ ะแนนต่ากวา่ เกณฑท์ ี่กาหนด 2 คร้ัง ติดต่อกนั พ้ืนท่ีน้นั จะถูกนามาเป็นหวั ขอ้ ในการประชุมของคณะกรรมการ 5ส เพือ่ พจิ ารณา หาสาเหตุที่ทาใหไ้ ม่ผา่ นเกณฑ์

การวดั ผลความสาเร็จในการทากจิ กรรม 5ส หนา้ 30 ระดบั แรก คือ การตรวจประเมินดว้ ยตนเอง (Self Audit) คือ หวั หนา้ พ้ืนที่จะเป็นผเู้ กบ็ คะแนนการตรวจในแต่ละเดือน และใหน้ าผลคะแนนบนั ทึกไวใ้ น SERVER 2 ระดบั ที่สอง คือ การตรวจประเมินโดยคณะกรรมการ (Committee Audit) คือ ทีมตรวจประเมิน ทาการตรวจ 5ส หลงั จากตรวจประเมินครบทุกพ้ืนท่ีจะทาการประชุมเพื่อสรุปผลการตรวจ รวมท้งั ขอ้ ดี ขอ้ เสีย ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ ควรปรับปรุง ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานที่กาหนดแต่ละพ้ืนที่ และคืนแบบตรวจประเมินท่ีสรุปผลคะแนนการตรวจประเมินให้ หวั หนา้ พ้ืนที่ภายใน 3 วนั ทาการ หลงั การตรวจประเมิน เพื่อใหห้ วั หนา้ พ้ืนท่ีทาการลงผลคะแนนตรวจใน SERVER2 ระดบั ท่ีสาม คือ การตรวจประเมินโดยผบู้ ริหารระดบั สูงขององคก์ ร (Top Management Audit) คือระดบั ผบู้ ริหาร หรือ ประธานบริษทั โดยท่ีการตรวจประเมินของกรรมการชุดน้ีจะมีการกาหนดระยะเวลาในการตรวจไว้ ปี ละ 2 คร้ัง โดยทีตรวจประเมินจะลงพ้ืนที่เพ่ือใหห้ วั หนา้ พ้ืนท่ีลงลายมือช่ือรับทราบและจดั เกบ็ หลงั การตรวจประเมินจาก ระดบั ผบู้ ริหารเสร็จสิ้น

หนา้ 31 ระดบั ท่ี 1 Self Audit เป้าหมายในการตรวจ 1. ระดบั คะแนนท่ีไดต้ อ้ งผา่ นเกณฑม์ ากกวา่ หรือเท่ากบั 90% ของแต่ละคร้ังท่ีทาการตรวจ 2. ตรวจประเมินทุกเดือน หลกั ในการตรวจประเมนิ 1. ตรวจโดยหวั หนา้ พ้นื ท่ีน้นั ๆ โดยใชแ้ บบฟอร์มการตรวจประเมินตนเอง 2. ศึกษาหวั ขอ้ การตรวจตามมาตรฐานใหเ้ ขา้ ใจชดั เจน 3. ตรวจผลการปรับปรุงในจุดท่ีได้ Comment ไวค้ ร้ังก่อน 4. ตรวจตามเกณฑท์ ี่กาหนดไวอ้ ยา่ งเคร่งครัด ไม่เขา้ ขา้ งตนเอง 5. ความถี่ในการตรวจเดือนละ 1 คร้ัง อา้ งอิงตาม มาตฐานการตรวจประเมิน 5ส

หนา้ 32 ระดบั ท่ี 2 Committee Audit เป้าหมายในการประเมนิ 1. ตรวจประเมินครบทุกพ้ืนท่ี 100% 2. ผลคะแนนจากการตรวจประเมินแต่ละพ้นื ท่ีตอ้ งมากกวา่ หรือเท่ากบั 85% หลกั ในการตรวจประเมนิ 1. ตรวจโดยทีมตรวจประเมิน โดยใชแ้ บบฟอร์มการตรวจประเมินพ้ืนที่ 5ส 2. ศกึ ษามาตรฐานหวั ขอ้ การตรวจและเกณฑใ์ นการใหค้ ะแนนใหเ้ ขา้ ใจ 3. ผตู้ รวจตอ้ งไม่ตรวจในพ้นื ที่ที่ตนเองสังกดั 4. ตรวจตามมาตรฐานที่ต้งั ไวอ้ ยา่ งเคร่งครัด 5. ความถี่ในการตรวจ 2 เดือนคร้ัง อา้ งอิงตาม มาตรฐานการตรวจประเมิน 5ส

หนา้ 33 ระดบั ที่ 3 Top Management Audit เป้าหมายในการประเมนิ 1. ตรวจประเมินครบทุกพ้นื ที่ 100% หลกั ในการตรวจประเมิน 1. ตรวจโดยผบู้ ริหารระดบั สูงขององคก์ ร โดยใชแ้ บบฟอร์มการตรวจประเมินใน Server2 โฟลเ์ ดอร์ 5S Management System Audit 2. เนน้ การสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมใหเ้ กิดความร่วมมืออยา่ งแทจ้ ริงจากทุกคนในองคก์ ร 3. ความถี่ในการตรวจประเมิน ปี ละ 2 คร้ัง อา้ งอิงตาม มาตรฐานการตรวจประเมิน 5ส

หนา้ 34 มาตรฐาน 5ส แบ่งเป็ น 2 มาตรฐาน คือ 2. มาตรฐานพ้นื ที่ 5ส ซ่ึง เป็นมาตรฐาน เฉพาะสาหรับพ้ืนที่ที่กาหนดเท่าน้นั เช่น 1. มาตรฐานกลาง 5ส ทุกคน ทุกหน่วยงาน มาตรฐานพ้นื ที่จดั เกบ็ แก๊ส LPG เฉพาะ สามารถ พ้ืนท่ี HG มาตรฐานพ้นื ที่หอ้ งพิมพถ์ ุง ใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบตั ิไดเ้ หมือนกนั เฉพาะพ้ืนที่ PR1น้นั เช่น มาตรฐานโตะ๊ ทางาน มาตรฐานคอมพิวเตอร์ มาตรฐานถงั ดบั เพลิง มาตรฐานโรงอาหาร มาตรฐานหอ้ งน้า รายละเอยี ดของมาตรฐานต่างๆ ตดิ ตามทางนีเ้ ลยจร้า ������������������

1. จดั ทามาตรฐานกลาง และ ให้คาปรึกษาในการทามาตรฐานพืน้ ท่ี หนา้ 35 2. ประสานงานเพื่อนามาตรฐานไปปฏบิ ัติ ทมี 3. รวบรวมข้อมูลเพื่อนามาปรับปรับปรุงมาตรฐานให้เป็ นปัจจุบัน มาตรฐาน 4. เป็ นผู้นาในการประชุมเพื่อยกร่างมาตรฐานกลาง

ทีมประชาสัมพนั ธ์ หนา้ 36 1.ประชาสมั พนั ธ์และเผยแพร่ข่าวสารของ คาขวญั 5ส ทีมมาตรฐาน ของทีมวชิ าการ และทีมตรวจ โรงงานสะอาด ประเมิน ไปยงั พนกั งานอยา่ งทวั่ ถึง บรรยากาศสดใส 2. สร้างความสุข สนุกสนานเพื่อใหพ้ นกั งานมี ทกุ คนปลอดภยั ส่วนร่วมในการทากิจกรรม 5ส รว่ มใจทา 5ส 3.สร้างแรงกระตุน้ ใหพ้ นกั งานมีวนิ ยั ใน วฒั นธรรม 5ส

5ส พบเพ่อื นผา่ นกิจกรรมร่วมกบั วชิ าการ สองลุงพาทวั ร์ หนา้ 37 กิจกรรมพบปะพนกั งาน ใหค้ วามรู้ สร้างแรงกระตุน้ ใหพ้ นกั งานมีวนิ ยั ใน 5ส สร้างความสนุกสนานใหพ้ นกั งานมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5ส ติดป้ายประชาสมั พนั ธ์ทวั่ ท้งั โรงงาน ประชาสัมพนั ธ์ขา่ วสารต่างๆผา่ น Facebook ประชาสมั พนั ธข์ ่าวสารต่างๆไปยงั พนกั งานอยา่ งทวั่ ถึง ผา่ นบอร์ดกลาง ป้ายสาระความรู้

การดาเนินการกจิ กรรม 5ส หนา้ 38 ของทีมคณะกรรมการท้งั 4 ทีม ทมี ประชาสัมพนั ธ์ ทมี วชิ าการ ทมี สร้างมาตรฐาน ทีมตรวจประเมิน คำขวญั 5ส โรงงำนสะอำด บรรยำกำศสดใส ทุกคนปลอดภยั ร่วมใจทำ 5ส

คณะผู้จัดทา ทีมวิชาการ 5S หนา้ 39 5S 5S คุณสมเกียรติ คุณอาทร (หวั หนา้ ทีม) คุณพสั วรี ์ คุณคุณากร คุณพิเชษฐ์ คุณปภาพนิ ท์ MH T L คุณธงชยั คุณรัตนา

หนา้ 40 คณุ คนงึ นิจ คณุ บญุ รว่ ม คณุ รณภมู ิ คณุ ศกั ดิสยาม คณุ สวงิ

หนา้ 41 คุณสุมาลี คุณจารุวฒั น์ (หวั หนา้ ทีม) คุณมะนูลณ์ คุณไชยา คุณณชนก คุณสุพตั รา

12 3 4 คณะผู้จัดทา หนา้ 42 ทีมประชาสัมพนั ธ์ 56 78 1.คุณชชั พิสิฐ (หวั หนา้ ทีม) 2. คุณวสนั ต์ 3. คุณธานินท์ 4. คุณพชั รี 5. คุณลลิดา 6. คุณชุติกานต์ 7. คุณวิภาพร 8. คุณเบญจา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook