Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)

แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)

Published by nurse4thai, 2021-01-18 16:16:44

Description: แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)

แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ซึ่งเป็นแผนพัฒนาระยะ 5 ปี เพื่อเป็นกลไกเชื่อมต่อเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ด้านสุขภาพ ให้สามารถนำสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม เกิดประสิทธิผลตามเป้าหมายการพัฒนาด้านสุขภาพของประเทศ



download เอกสาร ได้จาก link ต่อไปนี้

Keywords: แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564),แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ,แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12,ยุทธศาสตร์ชาติ

Search

Read the Text Version

2.3 ตัวชว้ี ัด 2.3.1 ความครอบคลุมของหน่วยบริการปฐมภูมิ (PCC) ทีม่ ที ีมแพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั (รอ้ ยละ 100) 2.3.2 จานวนศนู ยแ์ พทย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง 4 สาขาหลกั (มะเร็ง หวั ใจ อุบตั เิ หตุ ทารกแรกเกดิ ) ใน 12 เขตสขุ ภาพ (มีครบทั้ง 4 สาขาทุกเขตสุขภาพ) 2.3.3 อตั ราสว่ นเตียง(ในระบบประกนั สขุ ภาพภาครฐั )ตอ่ ประชากรภาพรวมทง้ั ประเทศ (ไม่น้อยกวา่ 2 : 1,000) และการกระจายระหวา่ งพนื้ ที่ (แตกต่างกนั ไม่เกนิ ร้อยละ 10) 2.3.4 ระยะเวลารอคอยในการรับการรักษาพยาบาลที่แผนกผปู้ ุวยนอก (ลดลงรอ้ ยละ 30 จาก คา่ เฉลยี่ ของปี 2557, 2558, 2559) 2.3.5 อตั ราการสง่ ตอ่ ออกนอกเขตสุขภาพ (ลดลงรอ้ ยละ 50) 2.3.6 อตั ราตายจากโรคท่สี าคญั (มะเรง็ ตบั หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลอื ดสมอง) (ลดลงรอ้ ยละ 5 จากค่าเฉลย่ี ของปี 2557, 2558, 2559) 2.3.7 ความพงึ พอใจของผ้รู ับบรกิ ารสขุ ภาพ (ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 90) 2.3.8 ความพงึ พอใจของผูใ้ หบ้ รกิ ารสขุ ภาพ (ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 90) 2.4 มาตรการ/ แนวทางการพฒั นา 2.4.1 จัดกลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster) ให้เป็นเครือข่ายการดแู ลประชาชนท่ี อยใู่ นเขตรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั เป็นการประจา ต่อเนื่อง ดว้ ยทีมสุขภาพ (สหสาขาวิชาชีพ) โดยให้ Primary Care Cluster 1 Cluster ประกอบด้วย ทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว 3 ทีม ให้การดูแลรับผิดชอบประชากร ประมาณ 30,000 คน (1 ทีม ตอ่ ประชากร 10,000 คน) ให้บริการทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา ด้วยเทคโนโลยีท่ี เหมาะสม 2.4.2 เพิ่มขีดความสามารถของหน่วยบริการทุกระดับให้เป็นไปตามมาตรฐานบริการด้าน การแพทยแ์ ละสาธารณสุข และความเชยี่ วชาญแต่ละระดบั (1) พัฒนาระบบบริการตามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โดย เชื่อมโยงทุกระดับบริการใหไ้ ร้รอยตอ่ ลดชอ่ งว่างของการบริการสขุ ภาพ (Service Gap) เพือ่ ลดปัญหาสุขภาพ (2) พัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพที่มีความจาเพาะและเหมาะสมกับปัญหาสุขภาพใน ทุกระดับ เช่น ระบบการแพทยฉ์ ุกเฉิน ระบบการดแู ลระยะยาวในคนสูงวัย คนพกิ ารและผู้ปุวยเร้ือรัง การดูแล ประคับประคอง การดแู ลผูป้ ุวยในระยะสุดท้ายของชีวติ (3) พฒั นาระบบเครอื ข่ายการสง่ ตอ่ ทุกระดบั ให้มีประสทิ ธภิ าพ (4) พัฒนาระบบบรกิ ารแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ให้มีการจัดบริการ OPD แพทยแ์ ผนไทยคู่ขนาน OPD ปกติในโรงพยาบาลทุกระดับ (รพศ./รพท./รพช.) มีระบบการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ผสมผสานในการดูแลผู้ปุวยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุในหน่วยบริการปฐมภูมิ มีการใช้ยาสมุนไพรที่ได้ คณุ ภาพและมาตรฐานทดแทนการนาเข้ายาจากตา่ งประเทศ (5) ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพนานาชาติ (Medical & Wellness Hub) ที่ไม่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อบริการสุขภาพโดยรวมของคนไทย โดยเน้นการสนับสนุนกิจการสปา การส่งเสริม สุขภาพ การแพทยแ์ ผนไทย ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพและสมนุ ไพรไทย - 47 -

2.4.3 พัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายและพันธมิตรในการจัดบริการด้านสุขภาพ เพ่ือสร้าง ความเข้มแขง็ ให้กบั ระบบสุขภาพ สามารถแขง่ ขันไดใ้ นเวทรี ะหวา่ งประเทศ (1) บูรณาการการจดั ทาแผนงาน/โครงการพัฒนาด้านการแพทย์และสาธารณสุข รว่ มกัน ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัยท่ีมีโรงพยาบาล สถาบันและหน่วยงานบริการทางการแพทย์และ สาธารณสุข ตลอดจนสถานพยาบาลภาคเอกชน เพ่ือการจัดสรรและกระจายทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า ไม่ ซ้าซอ้ น (2) สร้างกลไกประชารฐั ในการจดั บริการดา้ นสขุ ภาพ ใช้ทรพั ยากรที่มีอยูใ่ ห้เกดิ ความคุม้ ค่า 2.4.4 สร้างระบบคุณภาพและความปลอดภัยของผู้ป่วย(Patient Safety) และการลดปัญหา การฟ้องรอ้ ง ในหนว่ ยบรกิ ารทุกระดับ 2.4.5 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อการตัดสินใจในการใชเ้ ทคโนโลยีด้านสุขภาพ (HTA) อยา่ งมีประสิทธิผล 2.4.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพ่ือพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้มีนวัตกรรม ใหม่ๆเพ่ือการพ่งึ พาตนเองดา้ นสขุ ภาพ 2.5 แผนงาน/ โครงการทเ่ี กี่ยวข้อง 1) แผนงานพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภมู ิ (Primary Care Cluster) 1.1 โครงการพฒั นาระบบการแพทยป์ ฐมภมู ิและเครือขา่ ยระบบสุขภาพระดบั อาเภอ (DHS) 2) แผนงานพัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Plan) 2.1 โครงการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ตดิ ตอ่ เรอ้ื รงั 2.2 โครงการปอู งกนั และควบคมุ การด้ือยาต้านจลุ ชีพและการใชย้ าอย่างสมเหตุสมผล 2.3 โครงการพัฒนาศนู ย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ 2.4 โครงการพัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาทารกแรกเกดิ 2.5 โครงการดูแลผสู้ ูงอายุ ผูพ้ กิ ารและผู้ดอ้ ยโอกาส แบบประคบั ประคอง 2.6 โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารการแพทย์แผนไทยฯ 2.7 โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพ สาขาสุขภาพจติ และจติ เวช 2.8 โครงการพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ 5 สาขาหลัก 2.9 โครงการพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ สาขาโรคหวั ใจ 2.10 โครงการพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ สาขาโรคมะเรง็ 2.11 โครงการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต 2.12 โครงการพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ สาขาจกั ษวุ ทิ ยา 2.13 โครงการพัฒนาระบบการดแู ลสุขภาพช่องปาก 2.14 โครงการพัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาปลกู ถ่ายอวัยวะ 3) แผนงานพัฒนาระบบบริการการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ครบวงจรและระบบการส่งต่อ 3.1 โครงการพัฒนาระบบบรกิ ารการแพทย์ฉกุ เฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ 4) แผนงานพัฒนาคณุ ภาพหน่วยงานบรกิ ารด้านสุขภาพ 4.1 โครงการพฒั นาและรบั รองคณุ ภาพตามมาตรฐาน (HA) สาหรบั สถานพยาบาล 4.2 โครงการพฒั นาคุณภาพ รพ.สต. - 48 -

5) แผนงานพฒั นาตามโครงการพระราชดาริและพ้ืนท่เี ฉพาะ 5.1โครงการพฒั นา รพ.เฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษา และรพ.สมเด็จพระยุพราช 5.2 โครงการพฒั นาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษและสขุ ภาพแรงงานขา้ มชาติ (Migrant Health) 5.3 โครงการเพ่ิมการเข้าถึงบริการด้านสขุ ภาพในชายแดนใต้ 6) แผนงานพัฒนาประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข 6.1 โครงการพฒั นาสถานบรกิ ารด้านสขุ ภาพ 6.2 โครงการพัฒนาผลติ ภัณฑส์ ุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 พฒั นาและสร้างกลไกเพื่อเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การกาลงั คน ดา้ นสขุ ภาพ (People Excellence) กาลังคนด้านสุขภาพ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญในระบบสุขภาพเป็นกลไกหลักในการบรรลุเปูาหมาย การมีสุขภาพดีของประชาชน ปัญหาในระบบบริการสุขภาพท่ีสาคัญประการหนึ่งคือ ความเป็นธรรมในการ กระจายกาลังคนดา้ นสุขภาพ แม้สถานการณ์การกระจายกาลังคนจะได้รับการแก้ปัญหาไประดับหนึ่งแล้ว แต่ พบว่าในบางสายงานยังมีปัญหาความไม่เหมาะสมของการกระจายตัว นอกจากนี้ปัญหาการสูญเสียกาลังคน ด้านสุขภาพออกจากระบบยังมีอย่างต่อเนื่อง การผลิตและพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพไม่สอดคล้องกับความ ต้องการของระบบสุขภาพ ปัญหาผลิตภาพของกาลังคนและการธารงรักษา ปัญหาความเหลื่อมล้าเร่ือง ค่าตอบแทนท่ีมีความไม่เป็นธรรมระหวา่ งวิชาชีพ ปัญหาด้านข้อมูลกาลังคนที่ยังไม่สามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูล กนั ในทกุ ภาคสว่ นท้งั ภาครัฐ ภาคเอกชน องคก์ รวิชาชพี ตา่ งๆ จงึ ทาให้ไมม่ ีข้อมลู ที่ถูกตอ้ ง ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน และเป็นข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพเพียงพอเพ่ือการวางแผนและบริหารจัดการกาลังคนด้านสุขภาพ ดังนั้นจึงให้ ความสาคัญกับการปฏิรูประบบและกลไกการบริหารจัดการกาลังคนด้านสุขภาพในทุกระดับ พัฒนาระบบ ข้อมูลสารสนเทศด้านกาลังคน การวางแผนกาลังคนด้านสุขภาพ สนับสนุนการวางแผนผลิตและพัฒนา กาลังคนให้มีความเป็นเลิศ เช่ียวชาญในวิชาชีพ มีทักษะการทางานเป็นทีมสุขภาพ มีคุณธรรมและจริยธรรม เคารพศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ มีคุณภาพชีวิตและมีความสุขในการทางาน ใส่ใจในการเรียนรู้ต่อเน่ืองตลอด ชีวิต สอดคล้องกับการศึกษาวิชาชีพแบบTransformative Learningในศตวรรษท่ี 21 ส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาวิชาชีพ หน่วยผลิตและพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ให้มีบทบาทร่วมกันในการวางแผนการผลิต เร่งผลิตและพัฒนากาลังคนดา้ น สุขภาพให้มีปริมาณเพียงพอและมีคุณภาพ มีการกระจายกาลังคนท่ีเหมาะสมเป็นธรรมและท่ัวถึง การธารง รักษาและการบริหารจัดการกาลังคนด้านสุขภาพให้มีความเพียงพอ ความเป็นธรรม ตอบสนองต่อความ ต้องการด้านสขุ ภาพของประชาชนอย่างแท้จรงิ 3.1 วัตถุประสงค์ 3.1.1 เพื่อวางแผนกาลงั คนด้านสุขภาพท่ีสอดรับกับการออกแบบระบบสุขภาพและความจาเปน็ ด้าน สุขภาพของประชาชนแต่ละพ้ืนที่ และทิศทางระบบสขุ ภาพของประเทศ 3.1.2 เพื่อบูรณาการระบบการผลิตกาลังคนด้านสุขภาพของประเทศให้ต้ังอยู่บนฐานของความ ร่วมมือระหวา่ งผู้ผลิต และผใู้ ช้กาลังคนดา้ นสุขภาพท้งั ภาครฐั และเอกชน 3.1.3 เพ่ือสร้างกลไกและระบบการบริหารจัดการกาลังคนด้านสุขภาพ รวมท้ังระบบการติดตามและ ประเมนิ ผลการบริหารจดั การกาลังคนด้านสขุ ภาพในทกุ ระดบั - 49 -

3.1.4 เพ่ือสร้างเครือข่ายกาลังคนด้านสุขภาพ ที่ประกอบด้วยภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถ่นิ และภาคประชาชน 3.2 เป้าหมายการพัฒนา 3.2.1 มีการวางแผนและการกระจายกาลังคนด้านสุขภาพท่ีเหมาะสม ครอบคลุมตามความต้องการ เช่ือมโยงการผลติ การพฒั นาศกั ยภาพและการประเมนิ ผล 3.2.2 มีกลไกในการบูรณาการระดับประเทศ ในการกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์กาลังคนด้าน สุขภาพของประเทศอยา่ งเป็นรูปธรรม 3.2.3 มีระบบการบริหารจัดการกาลงั คนและการธารงรักษากาลงั คนด้านสขุ ภาพทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ 3.2.4 มเี ครอื ขา่ ยกาลงั คนดา้ นสุขภาพเข้มแขง็ 3.3 ตัวชวี้ ดั 3.3.1 อัตราสว่ นกาลงั คนด้านสขุ ภาพตอ่ ประชากร แพทย์ 1 : 1,800 ทนั ตแพทย์ 1 : 3,6 00 เภสชั กร 1 : 2,300 พยาบาลวชิ าชพี 1 : 300 3.3.2 สัดสว่ นแพทยต์ อ่ ประชากรระหว่างพนื้ ที่ (แตกต่างกันไม่เกนิ รอ้ ยละ 20) 3.3.3 ขดี ความสามารถของบุคลากรด้านสขุ ภาพ (อยูใ่ นระดบั 1 ใน 3 ของเอเชยี ) 3.3.4 ระดับความสุขในการปฏิบัติงานของบคุ ลากรดา้ นสขุ ภาพ (ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80) 3.4 มาตรการ/ แนวทางการพัฒนา 3.4.1 พัฒนาระบบและกลไกการขับเคล่ือนการบริหารจัดการ การบูรณาการ เพื่อกาหนดทิศ ทางการจดั การกาลังคนด้านสุขภาพในภาพรวมของประเทศได้อย่างเปน็ ระบบและมีประสทิ ธิผล (1) วางแผนกาลังคนด้านสุขภาพ โดยคานึงถึงความแตกต่างของบริบทและความต้องการ ด้านสุขภาพของแต่ละพ้ืนที่ และสอดรบั กบั แผนการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) (2) พฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศด้านกาลังคนให้ครบถ้วน ครอบคลุม เป็นปัจจุบนั สามารถ เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน เพ่ือให้ได้ข้อมูลกาลังคนระดับประเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน สามารถ นาไปใช้ประโยชนใ์ นการวางแผนและบริหารระบบกาลังคนดา้ นสุขภาพ (3) พัฒนาระบบการธารงรักษากาลังคนด้านสุขภาพ โดยปรับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม สะท้อนผลการปฏิบัติงาน สามารถสร้างแรงจูงใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบการวางแผน บนั ไดความกา้ วหนา้ อาชีพ และรูปแบบการจา้ งงานทีย่ ดื หยุน่ (4) สร้างสภาพแวดล้อมให้เออื้ ตอ่ การปฏบิ ตั ิงาน และเป็น happy work place (5) ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คับตา่ งๆที่เกี่ยวขอ้ งกับการบริหารจัดการกาลังคน 3.4.2 เรง่ ผลิตและพัฒนากาลงั คนด้านสขุ ภาพ (1) วางแผนการผลิต ให้มีปริมาณท่ีเพียงพอ พัฒนากระบวนการผลิต(หลักสูตร การรับและ คดั เลือกนกั ศกึ ษา)ใหม้ ปี ระสิทธิภาพ มกี ารกระจายกาลังคนท่ีเหมาะสมเป็นธรรมและทั่วถงึ (2) สนบั สนุนใหม้ กี ลไกประชารฐั ร่วมในการบรหิ ารจัดการกาลงั คนดา้ นสุขภาพในเขตสุขภาพ - 50 -

(3) พัฒนากลไกการดูแลการผลิตและการประกอบวิชาชีพ ให้ได้มาตรฐาน มีคุณธรรม จริยธรรม (4) สร้างความเข้มแข็งของบุคลากรด้านสุขภาพ โดยการพฒั นาศักยภาพ เสริมทักษะ มีการ จัดการความรอู้ ย่างเปน็ ระบบและต่อเนอ่ื งใหท้ ันตอ่ สถานการณ์การเปล่ียนแปลง 3.4.3 สร้างกลไกการสอ่ื สารและภาคีเครอื ข่ายกาลงั คนดา้ นสุขภาพ (1) พฒั นาระบบการส่อื สารองค์กร เพื่อสง่ เสริมการรบั รู้และความเข้าใจในทิศทางเดียวกนั (2) พฒั นาเครือขา่ ยกาลังคนดา้ นสขุ ภาพให้เข้มแขง็ และย่ังยืน 3.5 แผนงาน/ โครงการท่ีเกี่ยวข้อง แผนงานการพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการกาลงั คนดา้ นสขุ ภาพ 1. โครงการพัฒนาการวางแผนกาลังคนด้านสขุ ภาพ 2. โครงการผลติ และพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพสคู่ วามเป็นมอื อาชพี 3. โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการกาลังคน 4. โครงการพัฒนาเครือขา่ ยกาลงั คนด้านสขุ ภาพ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 พฒั นาและสร้างความเขม้ แขง็ ในการอภิบาลระบบสขุ ภาพ (Governance Excellence) สถานการณ์ปญั หาการอภิบาลในระบบสุขภาพเกิดขึ้นและสะสมเรื่อยมา การขาดเอกภาพเชงิ นโยบาย ต่างคนต่างทา ขาดการกาหนดเปูาหมายร่วม ความเป็นคู่ขัดแย้ง ความไม่ไวว้ างใจระหวา่ งกันในระดับนโยบาย ทั้งฝุายการเมือง และข้าราชการประจา ทาให้ขาดความร่วมมือ ขาดการประสานงาน ตลอดจนกลไกต่างๆท่ี ตั้งขึ้นตามกฎหมายขาดประสิทธิภาพ ไม่มีประสิทธิผล โครงสร้างการทางานท่ีมีความซ้าซ้อน ปัญหาธรรมาภิ บาลในการแต่งต้ังโยกย้ายยังมีปรากฏอยู่เนืองๆ การจัดซ้ือจัดจ้างที่ถูกแทรกแซง ขาดกลไกการเฝูาระวั ง ตรวจสอบ ถ่วงดุลและทัดทานเม่ือมีสิ่งไม่ถูกต้องเกิดข้ึน ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพมีความซ้าซ้อน กระจัดกระจาย ไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ ผู้บริหารไม่สามารถนาข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ ขาดการกาหนดมาตรฐานดา้ นข้อมูลท่ีสาคัญ การบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขาด ความเชี่ยวชาญ ขาดกลไกในการดูแลการเงินการคลังด้านสุขภาพ ประกอบในปัจจุบัน ประเทศไทยอยู่ในช่วง ของการปฏิรูปประเทศให้มีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน มีการจัดทาแผนการปฏิรูปด้านสาธารณสุข ดังน้ันจึงให้ ความสาคัญกับการปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการระบบสุขภาพให้เกิดความเป็นเอกภาพ มีธรรมาภบิ าล จัดต้ัง กลไกที่มีหน้าที่ในการกาหนดนโยบายและกากับทิศทางด้านสุขภาพของประเทศ ปรับปรุงระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้าให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น สร้างความสมดุลระหว่างผู้ซ้ือและผู้ให้บริการ กาหนดทิศทาง การเงินการคลงั ดา้ นสุขภาพของประเทศไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ บริหารจัดการทรพั ยากรให้มีการกระจายอย่าง เหมาะสม มีระบบข้อมูลสุขภาพท่ีครบถ้วน ครอบคลุม ทันเวลา สามารถใช้ประโยชน์ได้ สร้างระบบยา เวชภัณฑ์และเทคโนโลยีทางการแพทย์ท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ส่งเสริมให้มีกลไประชารัฐเข้ามามีส่วนร่วมในการบริการด้านสุขภาพ สร้างกลไกการบูรณาการแผนงาน/ โครงการ กิจกรรม และการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างหน่วยงานด้านสุขภาพทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึง องค์กรต่างๆในระดับท้องถิ่น สนับสนุนการวิจัยด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นปัญหาท่ีสาคัญของ ประเทศ ให้สามารถนาผลการวจิ ัย/นวตั กรรมมาใช้ในการพัฒนางานด้านสขุ ภาพ - 51 -

4.1 วัตถุประสงค์ 4.1.1 เพื่ออภบิ าลระบบสขุ ภาพอยา่ งมีธรรมาภบิ าล เปน็ เอกภาพ อนั จะสง่ ผลใหม้ คี วามม่ันคง ย่ังยนื ของระบบสขุ ภาพ 4.1.2 เพอ่ื พฒั นาระบบสนบั สนุนการบริการสุขภาพ ระบบขอ้ มูลข่าวสารด้านสขุ ภาพ การเงนิ การคลงั ด้านสุขภาพ รวมถึงยาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 4.2 เปา้ หมายการพฒั นา 4.2.1 มีการจดั ตัง้ กลไกท่ที าหนา้ ทก่ี าหนดนโยบายด้านสุขภาพระดับชาติ 4.2.2 มีกลไกบริหารจดั การทรพั ยากรสุขภาพทเี่ หมาะสม และเปดิ โอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วน รว่ มในการพฒั นาระบบสขุ ภาพของประเทศ 4.3 ตัวชวี้ ัด 4.3.1 ความครอบคลุมของหนว่ ยงานด้านสขุ ภาพท่ีผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ITA (Integrity and Transparency Assessment) (รอ้ ยละ 93) 4.3.2 ระดับการใชป้ ระโยชน์ไดท้ ้ังการบรหิ ารจดั การและบริการประชาชนของระบบข้อมูลสขุ ภาพ ครอบคลุมประเด็นขอ้ มูลทสี่ าคญั (ใชป้ ระโยชน์ได้ในระดบั นโยบายและการปฏิบัติ) 4.3.3 จานวนผลงานวจิ ยั / นวตั กรรม ด้านสุขภาพท่สี ามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ (เพม่ิ ขึ้นร้อยละ 5) 4.3.4 สัดสว่ นมูลค่าการนาเข้ายาและเทคโนโลยีดา้ นสขุ ภาพ (ไมเ่ พ่มิ ขึ้น) 4.3.5 รายจ่ายด้านสุขภาพต่อผลติ ภณั ฑ์มวลรวมของประเทศ (ไมเ่ กินรอ้ ยละ 5) 4.3.6 มีกลไกทสี่ ามารถสรา้ งความเป็นเอกภาพด้านสขุ ภาพอย่างยั่งยนื 4.4 มาตรการ/ แนวทางการพัฒนา 4.4.1 สร้างระบบธรรมาภบิ าลและการจดั การความรู้ (1) สรา้ งกลไกระดบั ชาตใิ นการดแู ลระบบบริการสขุ ภาพใหเ้ กดิ เอกภาพ (2) สง่ เสรมิ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรสขุ ภาพ อยา่ งมธี รรมาภบิ าล สนบั สนนุ ใหม้ กี ารบรู ณาการแผนงาน/โครงการ กจิ กรรม และการใช้ทรพั ยากรร่วมกนั ระหว่างหนว่ ยงานด้านการแพทยแ์ ละ สาธารณสุขทัง้ ภาครัฐ เอกชน และทอ้ งถน่ิ (3) ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ กลไกประชารฐั ในการร่วมลงทนุ ด้านการให้บริการทางการแพทยแ์ ละ สาธารณสขุ บนพืน้ ฐานประโยชน์ของประชาชน (4) ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ท่ีเก่ียวข้องด้านสุขภาพให้ทันต่อสถานการณ์ และ สามารถบงั คับใชไ้ ด้อย่างมปี ระสิทธผิ ล 4.4.2 สง่ เสรมิ ระบบการวจิ ัยและการสรา้ งนวัตกรรมดา้ นสุขภาพ (1) สนบั สนุนการวจิ ยั และการสร้างนวัตกรรม ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่สาคัญ อาทิเช่น การวิจัยด้านยาและวัคซีน การวิจัยในมนุษย์และการจัดการความรู้เพ่ือนามาใช้พัฒนางานด้านการแพทย์และ การสาธารณสุข (2) ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยสมุนไพรไทยอย่างครบวงจร เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ ผลิตภณั ฑ์แปรรปู จากสมุนไพรไทย ให้เกิดผลดีตอ่ เศรษฐกิจของประเทศอยา่ งชดั เจน - 52 -

4.4.3 พัฒนาระบบยา เวชภัณฑ์และเทคโนโลยีของประเทศ สร้างเสริมความเข้มแข็งของระบบ ข้อมลู ขา่ วสารด้านยาและเวชภณั ฑ์และระบบขนส่ง ให้ประชาชนสามารถรับรู้ข้อมูล ให้สามารถพึง่ พาตนเองได้ ประชาชนสามารถเข้าถึงยาและเวชภัณฑ์ เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use: RDU) มPี roduct champion สง่ เสริมการใชย้ าสมนุ ไพรไทยทดแทนยาแผนปจั จุบนั 4.4.4 เสริมสรา้ งกลไกและกระบวนการในการบรหิ ารจัดการขอ้ มูลสุขภาพ (1) สร้างมาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพที่สามารถแลกเปลี่ยนและเช่ือมโยงกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มาตรฐานโครงสร้างชุดข้อมูลสุขภาพ มาตรฐานระบบรายงาน มาตรฐานของData Itemและ Data Value มาตรฐานการแลกเปลีย่ นข้อมลู สขุ ภาพและเครอื่ งมอื ทใ่ี ชเ้ ช่ือมโยงในหน่วยบรกิ ารทกุ ระดบั (2) พัฒนาคลังข้อมูลสุขภาพ กาหนดรูปแบบการบริหารจัดการคลังข้อมูลในระบบบริการ สขุ ภาพ (Big Data Management in Healthcare System) และมาตรฐานความปลอดภัยข้อมลู สขุ ภาพ (3) พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล(Personal Health Record: PHR) สร้างและ เช่ือมต่อระบบทะเบียนอิเลคทรอนิกส์สุขภาพส่วนบุคคล เช่ือมโยงการให้บริการในโรงพยาบาลทุกระดับ เพ่อื ให้ประชาชน/ผ้ปู ุวยสามารถใช้ประโยชน์ได้ (4) พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลด้านสุขภาพ เช่น Digital Health, Smart Device และนามาใช้ ในการให้บรกิ ารประชาชน/ผู้ปวุ ย เพ่อื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการรักษาพยาบาล 4.4.5 ปรับปรุงและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทบทวนปรับปรุงชุด สิทธิประโยชน์ ลดความเหลื่อมล้าของ 3 กองทุน และให้ความสาคัญกับการบริการสุขภาพในระดับปฐม ภูมิ 4.4.6 สร้างและพัฒนากลไกการดูแลด้านการเงินการคลังสุขภาพของประเทศ ให้มี S A F E: (มี ความย่ังยืน (Sustainability) มีความเพยี งพอ (Adequacy) มีความเป็นธรรม (Fairness) และ มีประสิทธภิ าพ (Efficiency)) ตลอดจนมีระบบเฝูาระวงั ตดิ ตามประเมินผลทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 4.5 แผนงาน/ โครงการทเ่ี ก่ียวข้อง 1) แผนงานการพัฒนาระบบธรรมาภบิ าลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ 1.1 โครงการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส 1.2 โครงการพฒั นาระบบควบคุมภายในและบรหิ ารความเส่ียง 2) แผนงานการพัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศดา้ นสขุ ภาพ 2.1 โครงการพฒั นาระบบขอ้ มลู ข่าวสารเทคโนโลยีสขุ ภาพแห่งชาติ (NHIS) 2.2 โครงการพฒั นาสุขภาพดว้ ยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล (Digital Economy) 3) แผนงานการบรหิ ารจดั การดา้ นการเงินการคลงั สขุ ภาพ 3.1 โครงการลดความเหล่อื มล้าของ 3 กองทุน 3.2 โครงการบรหิ ารจดั การดา้ นการเงนิ การคลงั 4) แผนงานการพัฒนางานวจิ ัยและองคค์ วามรูด้ า้ นสุขภาพ 4.1 โครงการพฒั นางานวจิ ยั 4.2 โครงการสร้างองค์ความรแู้ ละการจัดการความร้ดู า้ นสขุ ภาพ 5) แผนงานการปรับโครงสรา้ งและการพฒั นากฎหมายดา้ นสขุ ภาพ 5.1 โครงการปรบั โครงสร้างและพัฒนากฎหมายด้านสขุ ภาพ - 53 -

สว่ นที่ 6 การขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) สูก่ ารปฏิบตั ิ จากขอ้ มูลการประเมนิ ผลแผนพัฒนาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) การนานโยบายไปสกู่ ารปฏิบตั ิในชว่ งแผนพัฒนาสขุ ภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 11(พ.ศ.2555 – 2559) ภายใต้ สถานการณ์ทีไ่ มป่ กตทิ างเมืองของประเทศ ทาให้ความตอ่ เนอื่ งของนโยบายมนี ้อยกว่าที่ควรจะเปน็ นโยบาย บางอยา่ งถกู ยกเลกิ หรอื เปลย่ี นแปลงสาระสาคญั บางอย่างไป ปัจจัยท่คี น้ พบเกีย่ วข้องกบั การนานโยบายไปสู่ การปฏบิ ตั ใิ นช่วงแผนพฒั นาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบับที่ 11(พ.ศ.2555 – 2559) มีดังตอ่ ไปน้ี 1. ผูก้ าหนดนโยบายไมเ่ หน็ ความสาคญั ของแผน 2. กระบวนการบรหิ ารและการส่อื สารแผนสู่การปฏิบตั ิมีไม่เพียงพอ 3. ขาดการเชื่อมโยงระหว่างแผนพัฒนาสขุ ภาพแหง่ ชาติ กับแผนพัฒนาปกตอิ ่ืนๆ 4. ขาดการสนบั สนุนขององคก์ รในใชแ้ ผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ แนวทางการขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) สกู่ ารปฏิบตั ิ การนายุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพในช่วงแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ไปปฏิบัติให้บรรลุตามเปูาหมายที่วางไว้ได้อย่างเป็นรูปธรรม เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนางานด้าน การแพทย์และสาธารณสุขของประเทศอย่างแท้จริง จาเป็นต้องมีกระบวนการหรือขั้นตอน/แนวทางการ ขับเคลื่อนแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) และการบริหารความเสี่ยง สู่การ ปฏบิ ตั ิ ท่สี าคัญ ดงั นี้ 1. ดาเนนิ การสอ่ื สาร ประชาสัมพันธ์ สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ ให้ประชาคมสาธารณสุข องค์กร ภาคี สุขภาพ ตระหนกั และเขา้ ใจในสาระสาคัญของแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) และพร้อมเข้าร่วมในการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ แม้ว่าระหวา่ งกระบวนการยกร่างจะมีการระดมความเห็น สร้างความเข้าใจในการร่างเนื้อหาสาระของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ร่วมกันกับภาคีเครือข่ายจานวนมาก แต่ก็คงไม่สามารถเข้าถึงทุกคนที่เก่ียวข้องสาคัญได้ ความพยายามที่จะ สร้างความเป็นเจ้าของร่วมจึงทาได้ระดับหนึ่งเท่าน้ัน การทาความเข้าใจต่อทิศทางและสาระหลักของการ พฒั นาสขุ ภาพ จึงมคี วามจาเปน็ โดยอาจมีแนวทางดังนี้ 1.1 จัดสง่ เอกสารให้ไปถงึ ภาคเี ครอื ข่ายทง้ั สถาบันและไม่ใช่สถาบนั ที่น่าจะเปน็ ผู้เล่น (Player) ในการ ขับเคลื่อนแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ให้กว้างขวางมากท่ีสุด รวมถึงการ ส่ือสารชอ่ งทางอ่ืนๆ เช่น Social network ใน website, web link รูปแบบตา่ งๆนอกจากการเผยแพร่ทาง เอกสาร 1.2 จัดเวทีสร้างความเข้าใจ หาประเด็นและมาตรการที่มีลาดับความสาคัญ (Priority) เพื่อเสนอฝุาย กาหนดนโยบายขับเคลือ่ นผ่านช่องทางต่างๆหรอื นาไปดาเนินการในสว่ นที่เก่ยี วขอ้ งตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี 1.3 ประสานกับสถาบันการศึกษาโดยเฉพาะท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียน การสอน เร่ืองสุขภาพหรือการ สาธารณสุขเพ่อื ให้มเี นอ้ื หาเร่อื งแผนพัฒนาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ในทกุ หลกั สตู ร โดยการจดั ส่ือท่จี าเป็นเหมาะสม สนับสนุนสถาบนั ตา่ งๆ - 54 -

1.4 จัดฝึกอบรมวิทยากรแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ให้มีจานวน เพียงพอต่อการเป็นครู ก. ในการขยายความรู้ความเข้าใจต่อทิศทางและเน้ือหาสาระของแผนพัฒนาสุขภาพ แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ในการฝึกอบรมพัฒนาหลักสูตรต่างๆท้ังภายในกระทรวง สาธารณสุขและภาคเี ครอื ขา่ ยอน่ื ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง จะทาใหเ้ กิดการเรยี นรู้อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะช่วงแรกของการ ใช้แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) 2. สร้างความเชื่อมโยงระหว่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) และ นโยบายรัฐบาล เข้าสู่แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ แผนคาของบประมาณ และแผน ระดับอ่ืนๆ เช่น แผนการลงทุน แผนพัฒนาระบบข้อมูล แผนการผลิตบุคลากร เป็นต้น โดยการวิเคราะห์ให้ เห็นความเชื่อมโยงอย่างเป็นรูปธรรมว่าแผนต่างๆที่ดาเนินการโดยเฉพาะการของบประมาณหรือกาหนด ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานต่างๆสอดคล้องกับทิศทางและสาระหลักของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12(พ.ศ.2560 – 2564) หรือไม่เพียงใด หากไม่มีความสอดคล้องในยุทธศาสตร์ใดมากๆอาจจะต้องมีเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นระยะเพ่ือนาไปสู่การปรับแผนในอนาคต แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) จึงจะมีความเป็นพลวัต ไม่แข็งทื่อ แผนข้ันพ้ืนฐานของการพัฒนาแผนพัฒนาสุขภาพ แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ควรเร่ิมจากแผนพัฒนาสุขภาพระดับตาบล ซ่ึงมีกระบวนการทา ให้เกิดความเชื่อมโยงจากทิศทางกรอบของการพัฒนาระดับชาติลงไปถึงจุดเริ่มต้น ในกรณีการจัดทา แผนพัฒนาสุขภาพระดับตาบลจะเป็นการหนุนเสริมซ่ึงกันและกันในการขับเคลื่อนงานด้านสุขภาพเพื่อ แก้ปัญหาของประเทศอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืนตามหลักการของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) 3. ผู้บริหารทุกระดับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความสาคัญและใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) เป็นกรอบแนวทางดาเนินงานพัฒนาด้าน สุขภาพของหน่วยงาน มีกลไกท่ีช่วยให้เกิดการนาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ไปใช้วางแผนขององค์กร ภาคีเครือข่ายต่างๆ โดยการใช้เวทีต่างๆที่มีผู้บริหารองค์กรเข้าร่วม รวมถึง การทาให้ทิศทางและสาระหลักของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) เข้าถึง ผู้บรหิ ารมากท่ีสดุ 4. จดั ตง้ั คณะกรรมการกากบั ทิศทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เพอื่ กากับการดาเนินงาน ติดตามประเมินผลแผนฯ เป็นระยะและต่อเนื่อง จัดทาระบบการ รายงานผลการประเมินให้รวดเร็ว ทันเหตุการณ์ เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานให้บรรลุ ตามเปูาหมายได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และจดั ใหม้ ีการประเมนิ ผลแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) รอบระยะเวลาคร่ึงแผนและมีการนาเสนอในเวทีที่เหมาะสมในการแสวงหาแนวทางแก้ไข หรือปรับจุดอ่อนที่เกิดข้ึนระหว่างการนาแผนไปสู่การปฏิบัติในระดบั และมิตติ ่างๆ หรือแม้กระท่ังหากมี ความ จาเปน็ ต้องปรับทิศทางหรือยุทธศาสตร์ มาตรการที่กาหนด หากมีความจาเปน็ ตามสภาวการณ์ท่ีเปล่ียนแปลง ไป 5. จัดให้มีกลไกในการพัฒนาวิธีหรือกระบวนการยกร่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับต่อไป โดยการศึกษากระบวนการจัดทายุทธศาสตร์ระดับชาติระยะยาวหรือระยะปานกลาง ในการบริหารของ ประเทศต่างๆเพื่อนามาเปน็ แนวทางการเตรียมการในการยกร่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2565 – 2569) ให้เกิดกระบวนการการมีส่วนร่วมและเป็นเจ้าของอย่างกว้างขวาง หลากหลาย และได้รับ การยอมรับมากทสี่ ดุ - 55 -

เอกสารอา้ งอิง กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. (2558) รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จากข้อมูลความ จาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.)และขอ้ มลู พื้นฐานปี 2558. กรงุ เทพฯ: ห้างหนุ้ ส่วนอดุ มศึกษา. คณะอนุกรรมการวางแผนพัฒนาการสาธารณสุข สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเสรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ. (2524). แผนพัฒนาการสาธารณสุขตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์สานักข่าวพาณชิ ย์ กรมพาณชิ ย์สมั พนั ธ.์ คณะกรรมการวางแผนพัฒนาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. (2530). แผนพัฒนาการสาธารณสุข ตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530-2534). กรุงเทพฯ: โรง พิมพอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ . คณะกรรมการวางแผนพัฒนาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. (2535). แผนพัฒนาการสาธารณสุข ตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 7 (พ.ศ.2535-2539). กรุงเทพฯ: โรง พมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศึก. คณะกรรมการอานวยการจัดทาแผนพัฒนาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.(2539). แผนพัฒนาการ สาธารณสุข ในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540-2544). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ . คณะกรรมการอานวยการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข. (2544). แผนพัฒนา สุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 9 พ.ศ. 2545-2549. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์องค์การรับสง่ สินคา้ และพสั ดุภณั ฑ์. คณะกรรมการอานวยการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข. (2544). แผนพัฒนา สุขภาพแหง่ ชาติ ในช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศึกในพระบรมราชูปภมั ถ.์ คณะกรรมการอานวยการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข. (2555). แผนพัฒนา สุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555- 2559). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ภัมถ์. คณะทางานขับเคลื่อนและปฏิรูปด้านระบบบริการ กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แนวทางการดาเนินงาน Primary Care Cluster สาหรับหน่วยบริการ. นนทบรุ ี: เอกสารอดั สาเนา. สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข. (2558). บัญชีรายจ่ายสุขภาพ แหง่ ชาติของประเทศไทย พ.ศ. 2555. นนทบุร.ี - 56 -

สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข. (2558). รายงานภาระโรคและการ บาดเจบ็ ของประชากรไทย พ.ศ. 2556. นนทบรุ :ี บรษิ ทั เดอะ กราฟโิ ก ซสิ เต็มส์ จากดั . ศิวนารถ เยี่ยงสวา่ ง และคณะ. (2556). ระบบบริการสุขภาพคนต่างด้าวในประเทศไทย: สถานการณ์ การ ตอบสนองและขอ้ ทา้ ทายในอนาคตในบรบิ ทประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558. นนทบุร.ี ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2557) ประชากรสงู อายุไทย: ปจั จุบนั และอนาคต. กรุงเทพฯ. สถาบันวจิ ัยประชากรและสงั คม มหาวิทยาลัยมหดิ ล. (2559). สขุ ภาพคนไทย 2559. นครปฐม:อัมรินทร์พริ้ นต้งิ แอนด์พับลชิ ช่ิง จากดั . สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). รายงานผลการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ 3 ปีของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11. กรุงเทพฯ: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จากดั . สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). ร่าง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ. สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2559). ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2559. นนทบุร.ี สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2557). รายงานข้อมูลทรัพยากร สาธารณสขุ ประจาปี 2557. นนทบุร.ี สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2558). สรุปสถิติที่สาคัญ พ.ศ.2558. นนทบรุ .ี สานักวิชาการสาธารณสุข สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2558). แนวโน้มการเปล่ียนแปลงด้าน สาธารณสุขหลัง...2015. นนทบรุ :ี โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั . - 57 -

ภาคผนวก - 58 -

(สาเนา) คาสัง่ กระทรวงสาธารณสขุ ที่ 128 /๒๕๕9 เรือ่ ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการจดั ทาแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ด้วยแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ได้ดาเนินการมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2555 และจะสนิ้ สุดในปี พ.ศ. 2559 โดยจะมีการประกาศใชแ้ ผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ซ่ึงอยู่ภายใต้การกาหนดทิศทางและยุทธศาสตร์ การพฒั นาประเทศของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้อง เป็นท่ียอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลพัฒนาสุขภาพอนามัยของประชาชน และสามารถ นาไปสู่การปฏบิ ัติได้ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. ๒๕๔๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข จึงแต่งต้ัง คณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) โดยมีองค์ประกอบและ อานาจหน้าท่ี ดงั นี้ 1. คณะกรรมการอานวยการจดั ทาแผนพัฒนาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 1.1 องคป์ ระกอบ 1) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการ 2) ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรปี ระจากระทรวงสาธารณสขุ รองประธานกรรมการ 3) เลขาธกิ ารคณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาติ กรรมการ 4) เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ กรรมการ 5) เลขาธกิ ารคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น กรรมการ 6) ผอู้ านวยการสานักงบประมาณ กรรมการ 7) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ 8) ปลัดกรงุ เทพมหานคร กรรมการ 9) ปลดั กระทรวงกลาโหม กรรมการ 10) ปลดั กระทรวงแรงงาน กรรมการ 11) ปลัดกระทรวงพาณิชย์ กรรมการ 12) ปลดั กระทรวงมหาดไทย กรรมการ 13) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ 14) ปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม กรรมการ 15) ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ 16) ปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรรมการ 17) ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ กรรมการ 18) นายกสมาคม... - 59 -

18) นายกสมาคมคนพกิ ารแห่งประเทศไทย กรรมการ 19) ประธานสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย กรรมการ ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี 20) รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ (กลมุ่ ภารกจิ ดา้ นพัฒนาการแพทย์) 21) รองปลดั กระทรวงสาธารณสุข กรรมการ (กลุ่มภารกจิ ดา้ นพฒั นาการสาธารณสขุ ) 22) รองปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กรรมการ (กลุ่มภารกจิ ดา้ นสนับสนนุ งานบรกิ ารสขุ ภาพ) 23) เลขาธิการสานกั งานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ กรรมการ 24) เลขาธกิ ารสถาบันการแพทย์ฉุกเฉนิ แหง่ ชาติ กรรมการ 25) ผู้อานวยการสถาบนั วิจัยระบบสาธารณสุข กรรมการ 26) ผจู้ ดั การกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสริมสุขภาพ กรรมการ 27) ผู้อานวยการองค์การเภสชั กรรม กรรมการ 28) รองปลดั กระทรวงสาธารณสุข (ด้านบริหาร) กรรมการและเลขานุการ 29) ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร เขตสขุ ภาพท่ี 2 30) ผู้อานวยการสานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1.2 อานาจหน้าท่ี 1) กาหนดนโยบาย กรอบทิศทางการพัฒนาสาธารณสุขของประเทศ เพ่ือเป็นแนวทาง ในการวางแผนจดั ทาแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 2) พิจารณาให้ความเหน็ ชอบ ใหข้ อ้ เสนอแนะต่อยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาสาธารณสขุ 3) พิจารณาให้ความเห็นชอบ ให้ข้อเสนอแนะในการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) กับหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องทั้งภาครฐั และเอกชน 4) แต่งต้งั คณะอนุกรรมการ และคณะทางานตามความเหมาะสม 2. คณะกรรมการดาเนินงานจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 2.1 องค์ประกอบ 1) ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการ 2) รองเลขาธิการคณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาติ (ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย) กรรมการ 3) รองเลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการ (ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย) 4) รองผูอ้ านวยการสานกั งบประมาณ (ด้านสังคม 2) กรรมการ สานกั นายกรฐั มนตรี 5) รองปลัดกรุงเทพมหานคร (ฝาุ ยการแพทยแ์ ละอนามยั ) กรรมการ 6) รองปลดั กระทรวง... - 60 -

6) รองปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ กรรมการ (ท่ีได้รบั มอบหมาย) 7) รองปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม กรรมการ (ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย) 8) รองปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย) กรรมการ 9) รองปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (ที่ได้รับมอบหมาย) กรรมการ 10) หัวหนา้ ผตู้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ 11) อธิบดกี รมการแพทย์ กรรมการ 12) อธิบดีกรมควบคุมโรค กรรมการ 13) อธบิ ดกี รมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กรรมการ 14) อธบิ ดีกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กรรมการ 15) อธบิ ดีกรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ กรรมการ 16) อธิบดีกรมสุขภาพจติ กรรมการ 17) อธบิ ดกี รมอนามยั กรรมการ 18) เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา กรรมการ 19) ผู้แทนสานกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ กรรมการ 20) ผแู้ ทนสถาบันพัฒนาและรับรองคณุ ภาพโรงพยาบาล กรรมการ 21) ผู้แทนองค์การเภสัชกรรม กรรมการ 22) ผแู้ ทนสานักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ กรรมการ 23) ผแู้ ทนสถาบันการแพทยฉ์ ุกเฉนิ แห่งชาติ กรรมการ 24) ผแู้ ทนสถาบันวัคซีนแหง่ ชาติ กรรมการ 25) ผแู้ ทนโรงพยาบาลบา้ นแพว้ กรรมการ 26) ผู้แทนสถาบนั วิจัยระบบสาธารณสุข กรรมการ 27) รองปลดั กระทรวงสาธารณสขุ (ดา้ นบริหาร) กรรมการและเลขานุการ 28) ผ้ตู รวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ เขตสขุ ภาพที่ 2 29) ผู้อานวยการสานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ 2.2 อานาจหน้าท่ี 1) เสนอแนวทางและขั้นตอนในการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2) พิจารณาเอกสารและข้อมูลประกอบการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 3) ประสานการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) กบั หน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง 4) พจิ ารณา... - 61 -

4) พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะต่อการจัดประชุมระดมสมอง ประชุมสัมมนาต่างๆ เพอื่ การจัดทาแผนพฒั นาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 5) รายงานความก้าวหน้าในการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ต่อคณะกรรมการอานวยการฯ เปน็ ระยะๆ ตามความเหมาะสม 6) จดั ทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เสนอตอ่ ผู้บริหาร 7) แตง่ ตัง้ คณะอนุกรรมการ และคณะทางานตามความเหมาะสม 8) อ่นื ๆ ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ทง้ั น้ี ตัง้ แตบ่ ดั นีเ้ ป็นตน้ ไป ส่งั ณ วันท่ี 21 มกราคม พ.ศ. ๒๕๕9 (ลงช่ือ) ปยิ ะสกล สกลสตั ยาทร (นายปยิ ะสกล สกลสตั ยาทร) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ สาเนาถูกตอ้ ง (นางสาวดารณี คมั ภรี ะ) นักวิชาการสาธารณสขุ เชยี่ วชาญ - 62 -

(สาเนา) คาสง่ั คณะกรรมการดาเนินงานจัดทาแผนพฒั นาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ที่ 1 /๒๕๕9 เรอื่ ง แต่งตัง้ คณะทางานจดั ทาร่างแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ตามที่ กระทรวงสาธารณสุข ได้มีคาสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 128/2559 ลงวันที่ 21 มกราคม 2559 แต่งต้ังคณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เพื่อให้การดาเนินงานจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ท่ีเก่ียวข้อง และเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จานวน 2 คณะ ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการอานวยการจัดทา แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2) คณะกรรมการดาเนินงานจัดทาแผน พัฒนาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เพื่อให้การดาเนินงานมีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ประธานคณะกรรมการ ดาเนินงานจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) จึงแต่งตั้งคณะทางานจัดทา ร่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) อาศัยอานาจในการแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการและคณะทางานตามความเหมาะสม โดยมอี งค์ประกอบและอานาจหน้าที่ ดงั น้ี 1. องค์ประกอบ 1.1 ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ที่ปรึกษา 1.2 นายสมศักด์ิ อรรฆศลิ ป์ ที่ปรึกษา รองปลดั กระทรวงสาธารณสขุ (ด้านบรหิ าร) ประธานคณะทางาน 1.3 นายศภุ กจิ ศิริลกั ษณ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี 2 1.4 นายพงศธร พอกเพ่มิ ดี รองประธานคณะทางาน ผู้อานวยการสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ 1.5 นางสาวศิรวิ รรณ พิทยรงั สฤษฏ์ คณะทางาน ผู้อานวยการสานกั งานพฒั นานโยบายสุขภาพระหวา่ งประเทศ 1.6 นายยศ ตรี ะวฒั นานนท์ คณะทางาน หวั หนา้ โครงการประเมินเทคโนโลยแี ละนโยบายด้านสุขภาพ 1.7 นายอภชิ ยั ลิมานนท์ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ คณะทางาน 1.8 นายสภุ โชค เวชภณั ฑ์เภสัช สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ คณะทางาน 1.9 นายจักรรฐั พทิ ยาวงศ์อานนท์ สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ คณะทางาน 1.10 นายขวญั ประชา เชียงไชยสกุลไทย คณะทางาน สานักงานพัฒนานโยบายสขุ ภาพระหวา่ งประเทศ คณะทางาน 1.11 นางณชิ ากร ศิริกนกวไิ ล สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ 1.12 นางสาวสุกัลยา คงสวสั ดิ์ สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ คณะทางาน 1.13 นางลาพนู อิงคภากร สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ คณะทางาน 1.14 นางมะลิวัลย์... - 63 -

1.14 นางมะลวิ ัลย์ ยืนยงสวุ รรณ สานักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ คณะทางาน 1.15 นางธิติภทั ร คูหา สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ คณะทางาน 1.16 นางอารี สทุ ธอิ าจ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ คณะทางาน 1.17 นางระววิ รรณ จารพุ รประสิทธ์ สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ คณะทางาน 1.18 นายสมลักษณ์ ศริ ิชื่นวิจิตร สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ คณะทางาน 1.19 นางชจู ิตร นาชีวะ สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ คณะทางาน 1.20 ผ้แู ทนกรมการแพทย์ คณะทางาน 1.21 ผ้แู ทนกรมกรมควบคมุ โรค คณะทางาน 1.22 ผู้แทนกรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก คณะทางาน 1.23 ผูแ้ ทนกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ คณะทางาน 1.24 ผูแ้ ทนกรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ คณะทางาน 1.25 ผู้แทนกรมสขุ ภาพจติ คณะทางาน 1.26 ผแู้ ทนกรมอนามัย คณะทางาน 1.27 ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา คณะทางาน 1.28 นางสาวดารณี คมั ภรี ะ คณะทางานและเลขานุการ สานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ 1.29 นางราไพ แก้ววเิ ชยี ร คณะทางานและผชู้ ่วยเลขานุการ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ 1.30 นางนิยดา สขุ ขะ คณะทางานและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ 1.31 นางสาวนริศรา เสนารินทร์ คณะทางานและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร สานักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ 2. อานาจหนา้ ที่ 2.1 กาหนดกรอบประเด็น แนวทางของแผนพัฒนาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2.2 จดั ทาและวเิ คราะหข์ อ้ มูลด้านสขุ ภาพท่เี กีย่ วขอ้ งเพ่อื เปน็ ข้อมลู ในการจดั ทา แผนพฒั นาสขุ ภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2.3 จัดเตรียมเอกสารและข้อมลู เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาของคณะกรรมการจัดทา แผนพฒั นาสขุ ภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2.4 จัดเวทกี ารมสี ว่ นรว่ มจากหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้องและภาคีเครือข่าย เพ่ือพจิ ารณา ใหข้ ้อเสนอแนะต่อแผนพฒั นาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2.5 ยกรา่ งแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เพือ่ เสนอตอ่ คณะกรรมการจดั ทาแผนพฒั นาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2.6 จัดทา… - 64 -

2.6 จัดทาและเผยแพรแ่ ผนพฒั นาสขุ ภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2.7 ปฏบิ ตั ิหน้าทีอ่ ่นื ๆ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ท้ังนี้ ต้งั แตบ่ ดั น้ีเป็นตน้ ไป สง่ั ณ วันท่ี 3 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕9 (ลงชือ่ ) โสภณ เมฆธน (นายโสภณ เมฆธน) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประธานคณะกรรมการดาเนินงาน จัดทาแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) สาเนาถกู ตอ้ ง (นางสาวดารณี คัมภรี ะ) นักวิชาการสาธารณสขุ เชย่ี วชาญ - 65 -

(สาเนา) คาส่ังคณะกรรมการดาเนินงานจัดทาแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ที่ 2 /๒๕๕9 เร่อื ง แตง่ ตง้ั องค์ประกอบเพม่ิ เตมิ ในคณะทางานจัดทาแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) ตามคาสั่งคณะกรรมการดาเนินงานจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2565) ที่ 1 /2559 ลงวันท่ี 3 กุมภาพันธ์ 2559 เรื่อง แต่งต้ังคณะทางานจัดทา แผนพฒั นาสขุ ภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2565) นน้ั เพ่ือให้องค์ประกอบของคณะทางานมีความครอบคลุมและสมบูรณ์ยิ่งข้ึน อาศัยอานาจ ตามความในข้อ 7 ของคณะกรรมการดาเนินงานจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ในคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 25560 – 2564) ที่ 128/2559 ลงวันท่ี 21 มกราคม 2559 จึงแต่งต้ังองค์ประกอบเพิ่มเติม ในคณะทางานจัดทาแผนพฒั นาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ดงั น้ี 1. องคป์ ระกอบ 1.1 ผู้แทนสานักงานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ คณะทางาน 1.2 ผแู้ ทนสถาบนั การแพทยฉ์ ุกเฉนิ แหง่ ชาติ คณะทางาน 1.3 ผแู้ ทนสถาบนั วัคซีนแหง่ ชาติ คณะทางาน 1.4 ผแู้ ทนสานกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาติ คณะทางาน 1.5 ผแู้ ทนสานักงานกองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสริมสุขภาพ คณะทางาน 1.6 ผู้แทนองคก์ ารเภสัชกรรม คณะทางาน 1.7 ผแู้ ทนสถาบันวจิ ัยระบบสาธารณสุข คณะทางาน 1.8 ผแู้ ทนสถาบันรบั รองคณุ ภาพสถานพยาบาล คณะทางาน 1.9 ผู้แทนโรงพยาบาลบ้านแพว้ คณะทางาน 1.10 ผู้แทนคณะแพทยศาสตร์ ศิรริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหิดล คณะทางาน 1.11 ผแู้ ทนคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั คณะทางาน 1.12 ผแู้ ทนคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ คณะทางาน 1.13 นายกสมาคมโรงพยาบาลเอกชน คณะทางาน ทง้ั น้ี ตัง้ แตบ่ ัดน้เี ปน็ ตน้ ไป สาเนาถูกต้อง สงั่ ณ วนั ท่ี 10 มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕9 (นางสาวดารณี คมั ภรี ะ) (ลงชือ่ ) โสภณ เมฆธน นักวิชาการสาธารณสุขเช่ียวชาญ (นายโสภณ เมฆธน) ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ประธานคณะกรรมการดาเนนิ งาน จดั ทาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) - 66 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook