Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore takrawhistory

Description: takrawhistory

Search

Read the Text Version

ป ระวัติกีฬาตะกร้อ (TAKRAW) คำว่า “ตะกร้อ” ตามพจนานุกรม หมายถึง ของเล่นชนิดหนึ่งที่สานด้วยหวาย สำหรบั เตะเลน่ ตามพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2542 ให้คำนยิ ามไวว้ า่ ลกู กลม สานด้วยหวายเป็นตาๆ สำหรับเตะ ต้นกำเนิดตะกร้อเกิดขึ้นเม่ือใด สมัยใด ไม่สามารถบอกได้แน่นอน เพราะไม่ได้มี การจดบันทึกไว้ อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ พงศาวดารและจดหมายเหตุต่างๆ พอจะวเิ คราะหไ์ ดว้ า่ ตะกรอ้ มมี าในประเทศไทยเปน็ เวลาชา้ นานแลว้ ในขณะเดยี วกนั หลายประเทศ ต่างก็เข้าใจว่า ตะกร้อเกิดข้ึนในประเทศของตนและได้แผ่อิทธิพลเข้าไปในประเทศข้างเคียง มีผู้รู้ บางท่านกลา่ ววา่ ตะกรอ้ เริ่มมมี าในสมัยกรุงศรอี ยุธยาตอนปลาย ตะกร้อทำด้วยหวายใช้เล่นกันในประเทศพม่า ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และท่ีน่าสนใจ คอื พวกไดยัค บอร์เนียว มีตะกรอ้ หวายเล่น วิธีเลน่ แบบเดียวกบั ไทย การเรียกช่ือของประเทศตา่ งๆ มีดังน้ ี • พม่า สานด้วยหวาย เป็นแบบหลวมโปร่ง น้ำหนักเบา ขนาดเท่ารูตะกร้อของไทย เรยี กว่า ชินลง (CHING LOONG) • ลาว สานดว้ ยหวายเสน้ เลก็ มรี ถู ยี่ บิ นำ้ หนกั เบาขนาดเทา่ ลกู ตะกรอ้ ของไทย เรยี กวา่ กะตอ้ (KATOR) • มาเลเซีย สิงคโปร์ บรไู น สานด้วยหวาย มีสองหรอื สามชั้น ไม่มรี ู ลกู เลก็ อยู่ข้างใน น้ำหนักเบา มคี วามยืดหยนุ่ น้อย ขนาดเลก็ กวา่ ลกู ตะกร้อของไทย เรียกวา่ รากา (RAGA) • อินโดนเี ซยี เรียกวา่ ราโก (RAGO) • ฟิลิปปนิ ส์ เรียกว่า ซปี า้ (SIPA) • สาธารณรัฐประชาชนจีน นำเอาขี้เถ้ามาป้ันเป็นก้อนกลมๆ แล้วห่อด้วยสำลีหรือผ้านุ่ม นำขนหางไกฟ่ า้ มาปกั ลกั ษณะคลา้ ยหัวหอมทม่ี ใี บอยู่ เรียกว่า แตกโก (T’EK K’AU) • สาธารณรฐั เกาหลี นำเอาดนิ หรอื ขี้เถา้ หอ่ ด้วยสำลีหรอื ผา้ นมุ่ นำขนหางไก่ฟา้ มาปัก ลกั ษณะคลา้ ยหัวหอมท่มี ีใบอยู่ คำเรียก เอามาจากภาษาจีน • ไทย สานด้วยหวายเป็นตาๆ ลักษณะลูกทรงกลม เรียกว่า ตะกร้อ (TAKRAW) คนไทยนยิ มเลน่ ตะกรอ้ วง ตะกรอ้ ลอดหว่ ง และตะกร้อขา้ มตาขา่ ย (แบบไทย) ค่มู ือผ้ตู ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ 17

ป ระวัติกีฬาเซปักตะกร้อ (SEPAK TAKRAW) เซปักตะกร้อ สันนิษฐานว่าไม่ได้เป็นกีฬาดั้งเดิมของไทยอย่างแน่นอน เพราะคนไทย นยิ มเลน่ เฉพาะตะกรอ้ วง ตะกรอ้ ลอดหว่ ง และตะกรอ้ ขา้ มตาขา่ ย (แบบไทย) เทา่ นน้ั สว่ นประเทศ มาเลเซยี สงิ คโปร์ เรม่ิ มกี ารเลน่ ตะกรอ้ ขา้ มตาขา่ ยในตอนปลายสงครามโลกครง้ั ที่ 2 หรอื ประมาณ ปี พ.ศ. 2488 โดยประเทศมาเลเซยี ไดป้ ระกาศยนื ยนั วา่ ตะกรอ้ เปน็ กีฬาของประเทศมาลายเู ดิม เรยี กว่า เซปกั รากา (SEPAK RAGA) เซปักตะกรอ้ มปี ระวตั ิความเปน็ มา ดงั นี ้ พ.ศ. 2502 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) คร้ังที่ 1 ข้ึนท่ีกรุงเทพมหานคร ได้มีการสาธิตการเตะตะกร้อวง และตะกร้อพลิกแพลงร่วมกับนักกีฬา ตะกรอ้ พมา่ พ.ศ. 2504 ประเทศพม่าเป็นเจ้าภาพจัดกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) คร้ังที่ 2 ขน้ึ ทีก่ รงุ ยา่ งกุ้ง นกั กีฬาตะกรอ้ ไทยไดไ้ ปรว่ มสาธติ การเตะตะกร้อวง ตะกร้อลอดห่วง และตะกร้อ ขา้ มตาข่าย พ.ศ. 2508 ประมาณเดือนเมษายน สมาคมกีฬาไทยในพระราชูปถัมภ์ ได้จัดงาน เทศกาลกฬี าไทย ณ ท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร ครัง้ นน้ั สมาคมกีฬาตะกรอ้ จากเมืองปีนัง ประเทศมาเลเซยี ไดน้ ำวธิ กี ารเลน่ ตะกรอ้ ของมาเลเซยี คอื “เซปกั รากา จารงิ ” (SEPAK RAGA JARING) มาเผยแพรเ่ พอ่ื เชอ่ื มสมั พนั ธไมตรี และแลกเปลยี่ นศลิ ปวฒั นธรรมระหวา่ งประเทศไทยกบั มาเลเซยี โดยจัดให้มีการสาธิตกีฬาของท้ังสองประเทศ ใช้วิธีเล่นตามกติกาของประเทศมาเลเซีย 1 วัน และเล่นตามกติกาของประเทศไทย 1 วัน กตกิ าของไทย ตะกรอ้ ไทยใชก้ ติกาการแขง่ ขนั แบบเสิรฟ์ ขา้ มตาข่ายคล้ายกับกีฬาแบดมนิ ตนั มีสาระสำคญั ดังน ี้ 1. สนามแขง่ ขันและตาขา่ ยคลา้ ยกนั กบั กฬี าแบดมนิ ตนั (ความยาวสนามสั้นกวา่ ) 2. จำนวนผูเ้ ลน่ และคะแนนการแขง่ ขนั • การเล่น 3 คน แตล่ ะเซ็ทจบเกมท่ี 21 คะแนน (แขง่ ขัน 2 ใน 3 เซท็ ) • การเลน่ 2 คน แตล่ ะเซท็ จบเกมที่ 15 คะแนน (แข่งขัน 2 ใน 3 เซ็ท) • การเล่น 1 คน แต่ละเซท็ จบเกมท่ี 11 คะแนน (แขง่ ขัน 2 ใน 3 เซ็ท) 3. ผเู้ ลน่ แตล่ ะคน แตล่ ะทมี สามารถเล่นไดไ้ ม่เกนิ 2 ครง้ั (2 จงั หวะ) 18 คมู่ ือผ้ตู ัดสนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้

4. ผู้เล่นแต่ละคน แต่ละทีม ช่วยกันไม่ได้ หากผู้ใดถูกลูกตะกร้อในจังหวะแรก ผ้นู นั้ ต้องเลน่ ลูกใหข้ ้ามตาข่ายตอ่ ไป 5. การเสิรฟ์ แตล่ ะคนตอ้ งโยนและเตะดว้ ยตนเองตามลำดบั กบั มอื เรยี กวา่ มือ 1 มือ 2 และมอื 3 มลี ูกสนั้ -ลกู ยาว กติกาของมาเลเซีย เล่นแบบข้ามตาข่าย เรียกว่า เซปัก รากา จาริง ดัดแปลงการเล่น มาจากกีฬาวอลเลย์บอล โดยมีนักกีฬาฝ่ายละ 3 คน แต่ละคนสามารถเล่นลูกตะกร้อได้ไม่เกิน คนละ 3 ครั้ง/จังหวะ และสามารถช่วยกันได้ ต้องให้ลูกตะกร้อข้ามตาข่าย แต่ละเซ็ทจบเกมท่ ี 15 คะแนน แข่งขัน 2 ใน 3 เซ็ท เช่นเดียวกัน การสาธติ กฬี าตะกรอ้ ระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซยี วนั แรก เลน่ กติกาของประเทศไทย ปรากฏวา่ ประเทศไทยชนะด้วยคะแนน 21 ตอ่ 0 วนั ทส่ี อง เลน่ กตกิ าของประเทศมาเลเซยี ปรากฏวา่ ประเทศมาเลเซยี ชนะดว้ ยคะแนน 15 ตอ่ 1 จากผลของการสาธิต จึงได้มีการประชุมพิจารณาร่วมกัน กำหนดกติกาการเล่นกีฬา ตะกรอ้ ข้ึนใหม่ เพ่ือนำเสนอเข้าแขง่ ขันในกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) คร้งั ท่ี 3 ดงั น้ ี • วิธีการเลน่ และรปู แบบของสนาม ให้ถือเอารปู แบบของประเทศมาเลเซยี • อุปกรณ์การแข่งขัน (ลูกตะกร้อ-เน็ต) และขนาดความสูงของเน็ตให้ถือเอารูปแบบ ของประเทศไทย • ให้ตงั้ ชอื่ ว่า “เซปัก-ตะกรอ้ ” เป็นภาษาของ 2 ชาติรวมกนั กล่าวคือคำวา่ “เซปัก” เปน็ ภาษามาเลเซยี แปลวา่ “เตะ” คำว่า “ตะกรอ้ ” เป็นภาษาไทย หมายถงึ “ลกู บอล” พ.ศ. 2508 เดือนธันวาคม ประเทศมาเลเซียเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) ครงั้ ที่ 3 ณ กรงุ กวั ลาลมั เปอร์ ไดบ้ รรจกุ ฬี าเซปกั ตะกรอ้ ชายทมี ชดุ ชงิ 1 เหรยี ญทอง เป็นครัง้ แรก มปี ระเทศเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั 4 ประเทศ คอื ไทย มาเลเซีย สงิ คโปร์ และลาว พ.ศ. 2520 ประเทศมาเลเซียเปน็ เจ้าภาพจัดการแขง่ ขนั กีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) ครั้งที่ 9 และได้เปล่ียนช่ือเป็นกีฬาซีเกมส์ (SEA GAMES) ครั้งท่ี 9 โดยมีประเทศอินโดนีเซีย บรูไน ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เพ่ิมเข้ามา พ.ศ. 2526 กีฬาตะกร้อ เป็นกีฬาชนิดหน่ึงในสมาคมกีฬาไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ์ ต่อมาได้ก่อต้ังสมาคมตะกร้อแห่งประเทศไทย เม่ือวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2526 โดยมี พันเอกจารกึ อารีราชการัณย์ เปน็ นายกสมาคมคนแรกจนถึงปัจจบุ นั พ.ศ. 2533 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ (ASIAN GAMES) ครั้งท่ี 11 ณ กรุงปักกิ่ง ได้บรรจุกีฬาเซปักตะกร้อชายทีมชุดและทีมเดี่ยว เป็นคร้ังแรก นอกจากนี้ยังได้เปล่ียนลูกตะกร้อหวาย (Rattan Ball) มาเป็นลูกตะกร้อพลาสติก (Synthetic Ball) เป็นครง้ั แรกอีกดว้ ย คู่มือผู้ตัดสนิ กฬี าเซปกั ตะกร้อ 19

พ.ศ. 2540 ประเทศอินโดนีเซียเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ (SEA GAMES) ครั้งที่ 19 ณ กรุงจากาตาร์ ได้บรรจุกีฬาเซปักตะกร้อหญิงทีมชุดและทีมเด่ียวอีก 2 เหรียญทอง เปน็ ครง้ั แรกรวมเป็น 4 เหรยี ญทอง พ.ศ. 2541 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ (ASIAN GAMES) ครั้งที่ 13 ณ กรุงเทพมหานคร ได้เพ่ิมกีฬาตะกร้อวง (Takraw Circle) ชายและหญิง อกี 2 เหรียญทองเปน็ ครง้ั แรก รวมเปน็ 6 เหรียญทอง พ.ศ. 2546 ประเทศเวียดนามเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ (SEA GAMES) ครั้งท่ี 22 ณ กรุงฮานอย นอกจากกีฬาเซปักตะกร้อชิง 6 เหรียญทองแล้ว ยังได้บรรจุกีฬาที่มี การเล่นแบบเดียวกบั กฬี าเซปกั ตะกรอ้ ทีเ่ รียกว่า กีฬาเตะลกู ขนไก่ (Shuttle Cock) เปน็ ครัง้ แรก พ.ศ. 2548 ประเทศฟิลิปปินส์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ (SEA GAMES) ครง้ั ท่ี 23 ณ กรุงมนลิ า ได้จดั ใหม้ กี ารแขง่ ขันกีฬาเซปกั ตะกรอ้ ประเภทคู่ (Double) และตะกรอ้ ลอดห่วงสากล (Hoop Sepak Takraw) เปน็ ครงั้ แรก พ.ศ. 2549 ประเทศกาตารเ์ ปน็ เจา้ ภาพจดั การแขง่ ขนั กฬี าเอเชย่ี นเกมส์ (ASIAN GAMES) ครงั้ ท่ี 15 “โดฮาเกมส”์ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารแขง่ ขนั กฬี าเซปกั ตะกรอ้ คู่ (Double Sepak Takraw) เปน็ ครง้ั แรก การจดั แขง่ ขนั กฬี าเซปกั ตะกรอ้ ในการแขง่ ขนั ระดบั นานาชาติ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ ไดบ้ รรจเุ ขา้ ในการแขง่ ขนั ระดบั นานาชาตไิ ดแ้ ก่ กฬี าแหลมทอง กฬี าซเี กมส์ และกฬี าเอเชย่ี นเกมส์ ดงั น ี้ กีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 3 ปี พ.ศ. 2508 ประเทศมาเลเซีย กฬี าแหลมทอง ครง้ั ที่ 4 ปี พ.ศ. 2510 ประเทศไทย กฬี าแหลมทอง ครง้ั ที่ 5 ปี พ.ศ. 2512 ประเทศพมา่ (ไมม่ ีการแขง่ ขัน) กีฬาแหลมทอง ครง้ั ที่ 6 ปี พ.ศ. 2514 ประเทศมาเลเซีย กีฬาแหลมทอง ครง้ั ที่ 7 ปี พ.ศ. 2516 ประเทศสิงคโปร์ กีฬาแหลมทอง คร้งั ที่ 8 ปี พ.ศ. 2518 ประเทศไทย กีฬาแหลมทอง ครง้ั ที่ 9 ปี พ.ศ. 2520 ประเทศมาเลเซยี กีฬาซีเกมส์ ครง้ั ท่ี 10 ปี พ.ศ. 2522 ประเทศอินโดนเี ซยี กีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 11 ปี พ.ศ. 2524 ประเทศฟิลปิ ปนิ ส ์ กีฬาซเี กมส ์ ครงั้ ที่ 12 ปี พ.ศ. 2526 ประเทศสิงคโปร ์ กีฬาซเี กมส ์ ครั้งท่ี 13 ปี พ.ศ. 2528 ประเทศไทย กีฬาซเี กมส ์ ครงั้ ท่ี 14 ปี พ.ศ. 2530 ประเทศอินโดนีเซยี 20 คู่มือผู้ตดั สินกฬี าเซปักตะกร้อ

กีฬาซีเกมส ์ ครง้ั ที่ 15 ปี พ.ศ. 2532 ประเทศมาเลเซยี กฬี าซเี กมส ์ ครั้งท่ี 16 ปี พ.ศ. 2534 ประเทศฟิลิปปนิ ส ์ กฬี าซีเกมส์ ครั้งท่ี 17 ปี พ.ศ. 2536 ประเทศสิงคโปร ์ กฬี าซีเกมส์ คร้ังท่ี 18 ปี พ.ศ. 2538 ประเทศไทย กีฬาซเี กมส ์ ครั้งท่ี 19 ปี พ.ศ. 2540 ประเทศอนิ โดนีเซยี กฬี าซีเกมส์ ครั้งที่ 20 ปี พ.ศ. 2542 ประเทศบรไู น กฬี าซีเกมส์ ครง้ั ที่ 21 ปี พ.ศ. 2544 ประเทศมาเลเซยี กฬี าซเี กมส์ ครัง้ ที่ 22 ปี พ.ศ. 2546 ประเทศเวียดนาม กีฬาซเี กมส์ ครง้ั ท่ี 23 ปี พ.ศ. 2548 ประเทศฟลิ ิปปินส ์ กฬี าซีเกมส์ ครง้ั ท่ี 24 ปี พ.ศ. 2550 ประเทศไทย กีฬาซเี กมส์ ครั้งท่ี 25 ปี พ.ศ. 2552 ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตย ประชาชนลาว กีฬาซเี กมส์ ครั้งที่ 26 ปี พ.ศ. 2554 ประเทศอนิ โดนเี ซีย กฬี าเอเชย่ี นเกมส์ ครง้ั ที่ 11 ปี พ.ศ. 2533 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน กีฬาเอเชี่ยนเกมส ์ ครั้งที่ 12 ปี พ.ศ. 2537 ประเทศญป่ี ุ่น กีฬาเอเชย่ี นเกมส์ คร้งั ท่ี 13 ปี พ.ศ. 2541 ประเทศไทย กีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 14 ปี พ.ศ. 2545 ประเทศสาธารณรฐั เกาหล ี กีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 15 ปี พ.ศ. 2549 ประเทศกาตาร ์ กฬี าเอเชย่ี นเกมส์ ครงั้ ที่ 16 ปี พ.ศ. 2553 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจนี ค่มู อื ผ้ตู ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ 21