Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มโครการ-อิอิ

รูปเล่มโครการ-อิอิ

Published by nattareka_6231, 2017-11-19 19:32:39

Description: รูปเล่มโครการ-อิอิ

Search

Read the Text Version

โครงการสถานพี ฒั นาการเกษตรท่ีสูงตามแนวพระราชดารัส จัดทาโดยนายธนดล รกั คา รหสั นิสิต ๖๐๔๗๐๔๘๓นายธนทัต อ่อนสละ รหัสนิสติ ๖๐๔๗๐๔๙๐นางสาวนัฐริกา จันทร์ดา รหัสนิสิต ๖๐๔๗๐๕๖๘นางสาวนาตยา ยอดคา รหัสนิสติ ๖๐๔๗๐๕๙๙นางสาวปาริฉัตร สุขดี รหสั นิสติ ๖๐๔๗๐๗๔๒นางสาววมิ ลสิริ ถิ่นสิรพิ ัฒนกจิ รหัสนิสติ ๖๐๔๗๑๐๖๐นางสาวอจั ฉราภรณ์ วงคญ์ าติ รหัสนิสติ ๖๐๔๗๑๓๖๗นางสาวอินทุกาญจน์ คงภู รหสั นิสิต ๖๐๔๗๑๓๙๘นายวชั รพล ก้อนแก้ว รหัสนสิ ิต ๖๐๔๗๑๖๔๐นางสาวสุภาภรณ์ ไมก้ ร่าง รหัสนิสิต ๖๐๔๗๑๗๖๓คณะสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์โครงการนี้เป็นสว่ นหน่ึงรายวชิ าสารสนเทศศาสตร์เพ่อื การศึกษาค้นควา้ (๐๐๑๒๒๑) ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร

โครงการสถานีพัฒนาการเกษตรทสี่ งู ตามแนวพระราชดารัส จัดทาโดยนายธนดล รกั คา รหสั นสิ ติ ๖๐๔๗๐๔๘๓นายธนทัต อ่อนสละ รหสั นิสิต ๖๐๔๗๐๔๙๐นางสาวนฐั รกิ า จันทรด์ า รหสั นิสติ ๖๐๔๗๐๕๖๘นางสาวนาตยา ยอดคา รหัสนิสติ ๖๐๔๗๐๕๙๙นางสาวปารฉิ ตั ร สขุ ดี รหสั นสิ ิต ๖๐๔๗๐๗๔๒นางสาววิมลสริ ิ ถ่ินสริ พิ ัฒนกิจรหสั นิสติ ๖๐๔๗๑๐๖๐นางสาวอจั ฉราภรณ์ วงค์ญาติ รหสั นสิ ติ ๖๐๔๗๑๓๖๗นางสาวอนิ ทกุ าญจน์ คงภู รหสั นิสติ ๖๐๔๗๑๓๙๘นายวชั รพล กอ้ นแก้ว รหสั นสิ ติ ๖๐๔๗๑๖๔๐นางสาวสภุ าภรณ์ ไมก้ ร่าง รหัสนิสติ ๖๐๔๗๑๗๖๓คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ สาขาวชิ าการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์โครงการนเ้ี ปน็ สว่ นหนึง่ รายวชิ าสารสนเทศศาสตรเ์ พื่อการศึกษาค้นคว้า (๐๐๑๒๒๑) ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คานา โครงการฉบับนี้เป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาสารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า (๐๐๑๒๒๑)ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ โดยมจี ุดประสงค์ เพ่ือการศกึ ษาความรู้จากโครงการสถานพี ัฒนาการเกษตรท่ีสูงตามแนวพระราชดารัส ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเก่ียวกับ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมพสกนิกรในพ้ืนท่ีต่าง ๆ ด้วยมีพระราชประสงค์ท่ีจะเห็นประชาชนอยู่ดีมีสุขตามสมควรแก่อัตภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรมและแก้ปัญหาการปลูกฝ่ินขอชาวเขา จึงทาให้เกิด “โครงการสถานีพัฒนาการเกษตรท่ีสูงตามแนวพระราชดารัส” คณะผู้จัดทาได้เลือก หัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ รวมถึงเป็นการน้อมสานึกในพระมหากรุณาธคิ ุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สดุ มิได้ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชคณะผู้จัดทาจะต้องขอขอบคุณ อาจารย์สมัทรชา เนียมเรือง ผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศกึ ษา เพื่อน ๆ ทุกคนท่ีให้ ความช่วยเหลือมาโดยตลอด คณะผู้จัดทาหวังว่าโครงการฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผ้อู า่ นทกุ ๆ ทา่ น คณะผูจ้ ัดทา

เกย่ี วกับโครงการโครงการพัฒนาการเกษตรท่ีสงู ตามแนวพระราชดารัสเร่ือง โครงการพฒั นาการเกษตรทส่ี ูงตามแนวพระราชดารัสรายวิชาสารสนเทศศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาค้นคว้า (๐๐๑๒๒๑)จดั ทาโดย นายธนดล รักคา รหัสนสิ ิต ๖๐๔๗๐๔๘๓นายธนทตั อ่อนสละ รหัสนิสิต ๖๐๔๗๐๔๙๐นางสาวนัฐริกา จันทร์ดา รหสั นสิ ิต ๖๐๔๗๐๕๖๘นางสาวนาตยา ยอดคา รหัสนสิ ิต ๖๐๔๗๐๕๙๙นางสาวปารฉิ ัตร สุขดี รหสั นสิ ติ ๖๐๔๗๐๗๔๒นางสาววิมลสิริ ถน่ิ สิรพิ ัฒนกิจ รหัสนิสิต ๖๐๔๗๑๐๖๐นางสาวอัจฉราภรณ์ วงคญ์ าติ รหัสนิสิต ๖๐๔๗๑๓๖๗นางสาวอนิ ทุกาญจน์ คงภู รหสั นิสิต ๖๐๔๗๑๓๙๘นายวัชรพล ก้อนแก้ว รหัสนสิ ติ ๖๐๔๗๑๖๔๐นางสาวสภุ าภรณ์ ไม้กร่าง รหสั นสิ ิต ๖๐๔๗๑๗๖๓อาจารย์ทีป่ รึกษา อาจารยส์ มัทรชา เนยี มเรอื งสถานศกึ ษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ มหาวิทยาลยั นเรศวรปีการศกึ ษา ๒๕๖๐

กิตติกรรมประกาศ โครงการพัฒนาการเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดารัสน้ี สาเร็จลุล่วงได้ ด้วยความอนุเคราะห์จากอาจารย์สมัทรชา เนยี มเรือง อาจารย์ท่ีปรกึ ษาโครงการท่ีได้ให้คาเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแกไ้ ขข้อบกพร่องต่างๆ ให้ความอนุเคราะห์ ให้คาปรึกษา ให้ความสะดวกในการทางานมาโดยตลอด จนโครงการเล่มน้ีเสร็จสมบรู ณ์ คณะผู้จดั จงึ ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูง ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครองทุกท่าน ที่ให้คาปรึกษาในเร่ืองต่างๆ เป็นผู้ให้กาลงั ใจ และใหโ้ อกาสการศกึ ษาอนั มีคา่ ยิ่ง ขอขอบคุณเพ่ือนในกลุ่มทุกคน และเพื่อนคณะสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ทใ่ี ห้ความช่วยเหลอื ตลอดจนคาแนะนาทเ่ี ปน็ ประโยชน์ในการทาโครงการ สดุ ท้ายน้ี คณะผู้จัดทาโครงการพัฒนาการเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดารัส ขอขอบพระคุณทุกท่านเป็นอย่างสูงท่ีให้ การสนับสนุน เอื้อเฟื้อ และให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือ จนกระท่ังโครงการน้ี สาเร็จ ลุล่วงได้ดว้ ยดี คณะผจู้ ัดทา

หวั ขอ้ โครงการ : โครงการพฒั นาการเกษตรท่สี ูงตามแนวพระราชดารสัผู้จัดทาโครงการ : นายธนดล รักคา รหสั นิสิต ๖๐๔๗๐๔๘๓อาจารยท์ ่ีปรึกษา :ปีการศกึ ษา : นายธนทตั ออ่ นสละ รหัสนิสิต ๖๐๔๗๐๔๙๐ นางสาวนฐั รกิ า จนั ทรด์ า รหัสนสิ ติ ๖๐๔๗๐๕๖๘ นางสาวนาตยา ยอดคา รหัสนสิ ติ ๖๐๔๗๐๕๙๙ นางสาวปาริฉัตร สุขดี รหัสนสิ ิต ๖๐๔๗๐๗๔๒ นางสาววิมลสริ ิ ถ่ินสิรพิ ฒั นกจิ รหัสนิสติ ๖๐๔๗๑๐๖๐ นางสาวอัจฉราภรณ์ วงคญ์ าติ รหสั นิสติ ๖๐๔๗๑๓๖๗ นางสาวอินทกุ าญจน์ คงภู รหสั นสิ ิต ๖๐๔๗๑๓๙๘ นายวัชรพล กอ้ นแก้ว รหสั นสิ ติ ๖๐๔๗๑๖๔๐ นางสาวสภุ าภรณ์ ไม้กรา่ ง รหสั นิสิต ๖๐๔๗๑๗๖๓ อาจารยส์ มทั รชา เนยี มเรอื ง ๒๕๖๐ บทคดั ย่อ โครงการพัฒนาการเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดารัสของนิสิตช้ันปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ รายวิชาสารสนเทศศาสตร์เพ่ือการศึกษาค้นคว้า (๐๐๑๒๒๑) มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดทาข้ึนเพ่ือการศึกษาความรู้จากโครงการสถานพี ัฒนาการเกษตรท่สี งู ตามแนวพระราชดารสั การทาการเกษตรของชาวเขาจะมีลักษณะเป็นการทาไร่เล่ือนลอย คือ ย้ายท่ีไปเรื่อยๆ หลังจากที่ดินขาดความอุดมสมบูรณ์หรือมีวัชพืชเกิดขึ้น ทาให้มีการทาลายปา่ เพื่อการเพาะปลูกกันมากขึ้นทุกปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทราบถึงปญั หาในเรอื่ งนเี้ ป็นอย่างดี ทรงเห็นวา่ การทจ่ี ะขบั ไล่หรือเคล่ือนยา้ ยชาวเขา ให้ไปอยใู่ นท่ที ี่กาหนดใหน้ ั้นจะทาไดย้ าก แตถ่ ้าสามารถช่วยให้ชาวเขามีความรู้ ความสามารถทาการเกษตรอย่างถูกวิธี ก็จะทาให้ชาวเขาตั้งหลักแหล่งอยู่ในที่ถาวรได้โดยไม่เคล่อื นย้ายทาไร่เลือ่ นลอยดังแต่กอ่ น และจะกอ่ ให้เกิดผลดีต่อส่วนรวมในที่สดุ จึงทาให้เกิดโครงการส่วนพระองค์ขึ้นเม่ือ พ.ศ.๒๕๑๒ มชี ่ือวา่ \"โครงการหลวง\" จงึ ทาให้เกดิ การคน้ ควา้ วจิ ัยทางเกษตรสาขาใหม่ขนึ้ ในประเทศไทย น่ันคือ \"การเกษตรทส่ี งู \" ปจั จุบันโครงการหลวงทาการส่งเสริมและพัฒนาในพื้นท่ีท่ีเป็นเป้าหมายศูนย์พฒั นาโครงการหลวง ๓๘ แห่ง ตั้งอยู่ในพ้ืนท่ี ๕ จังหวัดของภาคเหนือตอนบน ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลาพูน และพะเยา ครอบคลุมพ้ืนที่ประมาณ๑.๗๑ ลา้ นไร่ มีประชากรที่ได้รับประโยชน์จานวนแสนกว่าคน ผลผลิตที่สาคัญจากโครงการหลวง ประกอบด้วย ผักปลอดภัยสมนุ ไพร ถ่วั และธัญพชื ผลไม้ เหด็ ดอกไม้เมืองหนาว ผลติ ผล ปศุสตั ว์ ผลิตผลประมง ผลิตผลปา่ ไม้ ดอกไม้แห้ง ผลิตภัณฑ์จากแฝก ไมก้ ระถาง และผลติ ภัณฑ์แปรรูปในช่อื การคา้ โครงการหลวง เป็นตน้

สารบญั เรอ่ื ง หน้า กคานา ข คเกี่ยวกบั โครงการ ง จกิตตกิ รรมประกาศ ๑บทคัดย่อ ๓ ๑๖สารบญั ๑๗ ๑๘บทท่ี ๑ บทนา ๑๙ ฉ - ทีม่ าและความสาคัญของโครงการ ช - วตั ถปุ ระสงค์ - ขอบเขตการศึกษาค้นควา้ - สถานที่ - ระยะเวลา - ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับบทท่ี ๒ เอกสารที่เกีย่ วข้องบทที่ ๓ วิธดี าเนินงาน และวิธีจัดทาโครงการบทที่ ๔ ผลการดาเนนิ งานบทท่ี ๕ สรปุ ผลการดาเนินงานภาคผนวกบรรณานกุ รมขอ้ มลู ผู้จัดทา

บทท่ี ๑ บทนาท่ีมาและความสาคญั การทาการเกษตรของชาวเขาจะมีลักษณะเป็นการทาไร่เลื่อนลอย คือ ย้ายที่ไปเรื่อยๆ หลังจากท่ีดินขาดความอุดมสมบูรณ์หรือมีวัชพืชเกิดขึ้น ทาให้มีการทาลายป่า เพื่อการเพาะปลูกกันมากขึ้นทุกปีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ ทรงทราบถึงปัญหาในเร่ืองนี้เป็นอย่างดีทรงเห็นว่าการท่ีจะขับไล่หรือเคล่ือนย้ายชาวเขา ให้ไปอยู่ในที่ท่ีกาหนดให้น้ันจะทาได้ยาก แต่ถ้าสามารถช่วยให้ชาวเขามีความรู้ ความสามารถทาการเกษตรอย่างถูกวิธี ก็จะทาให้ชาวเขาต้ังหลักแหล่งอยู่ในที่ถาวรได้โดยไม่เคลื่อนย้ายทาไร่เลื่อนลอยดังแต่ก่อน และจะก่อให้เกิดผลดีต่อส่วนรวมในท่ีสุดจึงทาให้เกิดโครงการส่วนพระองค์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒ มีช่ือว่า \"โครงการหลวง\" จึงทาให้เกิดการค้นคว้าวิจัยทางเกษตรสาขาใหม่ขึ้นในประเทศไทย นัน่ คือ \"การเกษตรทส่ี ูง\" พชื หลายชนิดท่ีสามารถปลูกได้ตลอดปบี นท่ีสูง เช่น ผกั ต่างๆ มันฝรั่ง ไม้ดอกและไม้ ประดบั จึงทาให้เกิดอาชีพท่ีจะปลูก \"พืชนอกฤดู\" ได้อีกด้วย เช่น ผักและไม้ดอกเมืองหนาวนั้น จะปลูกได้ในพ้ืนท่ีต่าเฉพาะในฤดูหนาวเท่านั้น ในฤดูทไี่ ม่สามารถปลูกได้ในพนื้ ที่ต่า จึงเหมาะที่จะปลูกบนที่สูง เพราะจะขายได้ราคาดีและไม่มกี ารแข่งขนั มากนัก การปลูกพชื บนทสี่ ูงน้ันสามารถต้ังวตั ถปุ ระสงคใ์ ห้เกิดประโยชน์ไดเ้ ปน็ ๔ กรณี คอื  ปลกู พชื เมืองหนาวที่ไม่สามารถปลกู ในท่ีอื่นได้  ปลูกพชื ท่ที าใหไ้ ด้คุณภาพของผลิตผล และผลประโยชนด์ ีขึน้  ปลูกพืชนอกฤดู  ปลกู พชื เพื่อผลิตเมลด็ หรือหวั พันธุ์ในบรรดาพชื ต่าง นอกจากการปลูกพืชแล้ว การเล้ียงสัตว์บนท่ีสูงก็สามารถทาได้เช่นกัน เช่น แกะและวัวพันธุ์ต่างประเทศ จึงอาจเหมาะสาหรับโครงการผสมพันธ์ุสัตว์หรือโครงการเลี้ยงวัวพันธุ์ต่างประเทศ นอกจากน้ีกรมประมงได้ทดลองเล้ียงปลาหลายชนิด เพ่ือศึกษาชนิดของปลาที่มีความเหมาะสม ที่จะเล้ียงในที่อุณหภมู ิต่าไดด้ ี ซงึ่ ตอ่ มาไดพ้ บว่าปลาท่ีมกี ารเจริญเติบโตได้ดี คือ ปลานลิ ปลาไน ปลาไนทรงเครอ่ื ง และปลาจีน ปัจจุบันโครงการหลวงทาการส่งเสริมและพัฒนาในพื้นท่ีท่ีเป็นเป้าหมายศูนย์พัฒนาโครงการหลวง๓๘ แห่ง ตั้งอยู่ในพ้ืนท่ี ๕ จังหวัดของภาคเหนือตอนบน ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลาพูน และพะเยา ครอบคลุมพ้ืนที่ประมาณ ๑.๗๑ ล้านไร่ มีประชากรท่ีได้รับประโยชน์จานวนแสนกว่าคน ผลผลิตที่สาคัญจากโครงการหลวง ประกอบด้วย ผักปลอดภัย สมุนไพร ถ่ัวและธัญพืช ผลไม้ เห็ด ดอกไม้เมืองหนาวผลิตผล ปศุสัตว์ ผลิตผลประมง ผลิตผลป่าไม้ ดอกไม้แห้ง ผลิตภัณฑ์จากแฝก ไม้กระถาง และผลิตภัณฑ์แปรรปู ในชอื่ การค้า โครงการหลวง เป็นตน้

วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพ่ือให้ความรู้แก่ราษฎรในการทาการเกษตรอย่างถูกหลักวิชาการ โดยใช้พื้นที่อย่างจากัดแต่ให้ได้ ผลผลิตเพิ่มมากขึ้นพอเล้ียงตนเองได้ และหยุดยั้งการบุกรุกการแผ้วถางป่าขยายพ้ืนท่ีทากินของ ราษฎร ๒. ทาการอนรุ กั ษส์ ภาพป่าบริเวณ ในพืน้ ที่ และลาห้วยต่างๆ ให้กลับคืนสภาพป่าทส่ี มบูรณ์ ๓. เพื่อสร้างงานให้ราษฎรมีอาชีพ มีรายได้ เป็นการช่วยสนับสนุนรัฐบาลในการแก้ปัญหาการว่างงาน ของราษฎร และช่วยพฒั นาคุณภาพชีวติ ใหม้ ีความเปน็ อยู่ทด่ี ขี ึน้ ๔. สร้างชุมชน ใหม้ ีความเขม้ แขง็ เพอื่ ตอ่ ต้านปญั หายาเสพติดและสกัดเสน้ ทางลาเลียงยาเสพตดิ ผ่านไปขอบเขตการศกึ ษาคน้ ควา้ ศึกษาค้นคว้าโครงการพัฒนาการเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดารัสจากข้อมูลในอินเทอร์เน็ตและหนังสอืสถานท่ี สานกั หอสมุดแห่งชาติ มหาวทิ ยาลัยนเรศวรระยะเวลา ๒ เดือน (๒๐ กันยายน – ๒๐ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐)ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ ๑. เพื่อนาพื้นท่ีที่ถูกแผ้วถางแล้วนามาทาประโยชน์ให้เกิด ผลผลิตสูงสุด เป็นแหล่งรายได้ และเป็น วทิ ยาลยั ของชาวบา้ นและเปน็ ตวั อยา่ งแก่ราษฎรทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ ฯ ๒. ฟ้ืนฟสู ภาพป่าเสื่อมโทรม ให้กลบั คืนสภาพเป็นป่าท่สี มบรู ณ์ดงั เดมิ ๓. การจดั ระเบียบพ้นื ทช่ี ายแดนและสกัดกั้นการขนยา้ ยยาเสพติดจากนอกประเทศเขา้ สปู่ ระเทศไทย

บทที่ ๒ เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้องโครงการพัฒนาการเกษตรทีส่ ูงตามแนวพระราชดารัส การทาการเกษตรของชาวเขาจะมีลักษณะเป็นการทาไร่เล่ือนลอย คือ ย้ายที่ไปเร่ือยๆ หลังจากท่ีดินขาดความอุดมสมบูรณ์หรือมีวัชพืชเกิดข้ึน ทาให้มีการทาลายป่า เพ่ือการเพาะปลูกกันมากขึ้นทุกปีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ ทรงทราบถึงปัญหาในเรื่องน้ีเป็นอย่างดีทรงเห็นว่าการท่ีจะขับไล่หรือเคลื่อนย้ายชาวเขา ให้ไปอยู่ในท่ีท่ีกาหนดให้นั้นจะทาได้ยาก แต่ถ้าสามารถช่วยให้ชาวเขามีความรู้ ความสามารถทาการเกษตรอย่างถูกวิธี ก็จะทาให้ชาวเขาตั้งหลักแหล่งอยู่ในที่ถาวรได้โดยไม่เคล่ือนย้ายทาไร่เล่ือนลอยดังแต่ก่อน และจะก่อให้เกิดผลดีต่อส่วนรวมในท่ีสุดจึงทาให้เกิดโครงการส่วนพระองค์ขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๒ มีชื่อว่า \"โครงการหลวง\" จึงทาให้เกิดการค้นคว้าวิจัยทางเกษตรสาขาใหม่ขึ้นในประเทศไทย น่ันคือ \"การเกษตรทส่ี ูง\"การเกษตรท่สี งูการเกษตร พืชหลายชนิดที่สามารถปลูกได้ตลอดปีบนที่สงู เช่น ผักต่างๆ มันฝร่ัง ไม้ดอกและไม้ ประดับ จึงทาให้เกิดอาชีพท่ีจะปลูก \"พืชนอกฤดู\" ได้อีกด้วย เช่น ผักและไม้ดอกเมืองหนาวน้ัน จะปลูกได้ในพื้นที่ต่าเฉพาะในฤดูหนาวเท่าน้ัน ในฤดูท่ีไม่สามารถปลูกได้ในพ้ืนที่ต่า จึงเหมาะที่จะปลูกบนท่ีสูง เพราะจะขายได้ราคาดีและไม่มีการแขง่ ขันมากนกั การปลกู พชื บนท่สี ูงน้ันสามารถตัง้ วัตถุประสงคใ์ ห้เกิดประโยชนไ์ ดเ้ ป็น ๔ กรณี คือ  ปลูกพืชเมืองหนาวที่ไมส่ ามารถปลูกในท่ีอน่ื ได้  ปลูกพชื ที่ทาให้ได้คณุ ภาพของผลติ ผล และผลประโยชน์ดีข้นึ  ปลูกพชื นอกฤดู  ปลกู พชื เพ่ือผลิตเมล็ดหรือหวั พนั ธุ์ในบรรดาพืชต่างปศสุ ัตว์และประมง นอกจากการปลูกพืชแล้ว การเล้ียงสัตว์บนที่สูงก็สามารถทาได้เช่นกัน เช่น แกะและวัวพันธ์ุต่างประเทศ จึงอาจเหมาะสาหรับโครงการผสมพันธ์ุสัตว์หรือโครงการเล้ียงวัวพันธุ์ต่างประเทศ นอกจากนี้กรมประมงได้ทดลองเล้ียงปลาหลายชนิด เพ่ือศึกษาชนิดของปลาทม่ี ีความเหมาะสม ที่จะเลี้ยงในท่ีอุณหภูมิต่าไดด้ ี ซึง่ ต่อมาไดพ้ บว่าปลาทม่ี กี ารเจริญเติบโตได้ดี คือ ปลานิล ปลาไน ปลาไนทรงเครื่อง และปลาจนี

แนวทางการจดั การเกษตรบนพน้ื ที่สูง ๑. การปลูกพืชในทซี่ งึ่ เปน็ ภูเขาและหบุ เขา ควรคานึงถงึ แหล่งต้นนา้ ลาธาร ในพน้ื ทลี่ าดชันสูงและท่ีดินไม่ ดี ควรปลูกไม้ป่าหรือไม้ผลบางชนิดท่ีทนทาน เช่น บ๊วย ส่วนในที่ซึ่งมีความลาดชันปานกลางถึงลาด ชันน้อยจะเหมาะสาหรับไม้ผลและพืชอายุสั้นต่างๆ เช่น ผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ พืชไร่ตลอดจนพืช สมนุ ไพร ๒. การทาการเกษตรบนที่สูงซึ่งเป็นแหล่งต้นน้าลาธาร ควรทาด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ การใช้ สารเคมีต่างๆ เช่น ยาฆ่าแมลง ปุ๋ยเคมี และยากาจัดวัชพืช อาจปะปนลงไปในลาห้วยลาธารต่างๆ ได้ งา่ ย และสารเคมีบางชนิดอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ในน้า ซึ่งจะไหลลงมาสู่พ้ืนที่ต่าและ ลงสู่แม่น้าในที่สดุ ทาให้เกิดปัญหาต่อเน่ือง การให้น้าแก่พืชท่ีปลูกบนที่สูงควรทาอย่างประหยัดและมี การควบคมุ ๓. การทาการเกษตรที่สูง อาจก่อให้เกิดการพังทลายของดินได้โดยง่าย หากขาดความเข้าใจหรือขาด ความระมัดระวงั ซงึ่ จะทาให้เกดิ ปัญหาในการปลูกพืช การเตรียมดนิ แบบขน้ั บันไดเพ่ือใช้ปลกู พืช จงึ มี ความสาคัญในท่ีลาดชัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงสาหรับพืชอายุสั้นซึ่งจะต้องปลูกหลายครั้งในแต่ละปีและ ตอ้ งการการไถพรวนอยูเ่ สมอ ๔. การรกั ษาสมดุลของธรรมชาติ เม่อื เปรียบเทียบเกษตรบนพื้นท่ีสงู กับพื้นท่ีต่าแลว้ การทาการเกษตรบน ท่ีสงู นบั วา่ ยงั ใหม่มาก ดังน้ัน ควรพยายามรักษาสมดลุ ของธรรมชาตไิ ว้ ปัจจุบันโครงการหลวงทาการส่งเสริมและพัฒนาในพื้นที่ที่เป็นเป้าหมายศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ๓๘แห่ง ต้ังอยู่ในพื้นที่ ๕ จังหวัดของภาคเหนือตอนบน ได้แก่ เชยี งใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลาพูน และพะเยาครอบคลุมพ้ืนท่ีประมาณ ๑.๗๑ ล้านไร่ มีประชากรท่ีได้รับประโยชน์จานวนแสนกว่าคน ผลผลิตท่ีสาคัญจากโครงการหลวง ประกอบด้วย ผักปลอดภัย สมุนไพร ถั่วและธัญพืช ผลไม้ เห็ด ดอกไม้เมืองหนาว ผลิตผลปศุสัตว์ ผลิตผลประมง ผลิตผลป่าไม้ ดอกไม้แห้ง ผลิตภัณฑ์จากแฝก ไม้กระถาง และผลิตภัณฑ์แปรรูปในชื่อการคา้ โครงการหลวง เปน็ ต้น

สถานีเกษตรหลวงอา่ งขาง อาเภอฝาง จงั หวัดเชยี งใหม่ประวัติความเปน็ มา สถานีเกษตรหลวงอ่างขางเป็นสถานีวิจัยแห่งแรกของโครงการหลวง จัดตั้งข้ึนในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ตามพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีมีพระราชประสงค์ให้ชาวไทยภูเขาที่อาศัยอยู่ตามดอยตา่ ง ๆ ทางภาคเหนือเลิกการปลูกฝ่นิ และทาไร่เล่อื นลอยอนั เป็นสาเหตุสาคัญท่ที าให้ป่าไม้และตน้ นา้ ลาธารของประเทศถูกทาลาย สถานีเกษตรหลวงอ่างขางเป็นสถานีที่ทดลอง ค้นคว้าวิจัยพืชเมืองหนาวเพ่ือนาผลการทดลอง คน้ คว้า และวจิ ัยไปสง่ เสรมิ ใหช้ าวไทยภเู ขาในพ้นื ทีป่ ลูกทดแทนฝน่ิสถานทีต่ ัง้ และลักษณะท่ัวไป ๑. ท่ีตั้ง ต้ังอยู่ในเขตหมู่บ้านคุ้มหมู่ที่ ๕ ต.แม่งอน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ ๑,๔๐๐ เมตร พืน้ ทปี่ ระมาณ ๑,๘๑๑ ไร่ ๒. ภูมิประเทศ บริเวณดอยอ่างขางมีลักษณะเป็นแอ่งรูปรีคล้ายกระทะประกอบด้วยเขาหินปูน และเขา หินดินดาน ความลาดชันของพ้ืนที่ไหล่เขาสองด้านระหว่าง ๑๕ – ๔๕ เปอร์เซ็นต์ ยอดเขาท่ีสูงท่ีสุด ของเทือกเขาอ่างขางสูงประมาณ ๑,๙๒๐ เมตร พื้นท่ีราบบริเวณท่ีต้ังของสถานีฯ สูง ๑,๔๐๐ เมตร ลาดจากเหนือลงใต้ ๓. ภมู อิ ากาศ มีอากาศหนาวเย็นยาวนานและมีอุณหภูมิต่ามากในฤดูหนาว ภูมิอากาศปี ๒๕๕๔ อุณหภูมิ ต่าสดุ เฉล่ีย ๑๓.๗ องศาเซลเซียส อณุ หภูมิสงู สุดเฉลี่ย ๒๒.๐ องศาเซลเซยี ส ปริมาณน้าฝน ( ต.ค. ๕๒ - ก.ย. ๕๔ ) รวม ๒,๓๙๔.๓๐ มิลลเิ มตร  โครงการปรับปรุงพนั ธ์แุ ละทดสอบพนั ธส์ุ ตรอเบอรร์ ่ี

 การผลติ พชื

สถานเี กษตรหลวงจงั หวัดเชยี งรายประวตั คิ วามเปน็ มา สถานีเกษตรหลวงเชียงรายเป็นการส่งเสริมการเกษตรบนพื้นที่สูง เร่ิมดาเนินการเพื่อสนองพระราชดาริในการพัฒนาอาชีพให้กับราษฎรชาวไทยภูเขา โดยมีโครงการหลวงเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๑๒ เน่ืองจากปัญหาชนกลุ่มน้อย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ชาวไทยภูเขา” มีถิ่นท่ีอยู่อาศัยทางภาคเหนือตอนบนของประเทศ และมีลักษณะการดารงชีพ เช่น การทาไร่เลื่อนลอย ปลูกพืชเสพติด การบุกรุกทาลายพ้ืนที่ป่า มีที่อยู่อาศัยไม่เป็นหลักแหล่ง มีลักษณะการดารงชีวิตสืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษสภาพปัญหาขาดความรู้ด้านวิชาการเกษตร ปัญหายาเสพติด ปญั หาการเสอ่ื มโทรมของสภาพดิน ปัญหาต้นน้าลาธาร ตลอดจนทรพั ยากรธรรมชาตบิ นพื้นที่สูง  ศนู ย์ส่งเสรมิ และพฒั นาอาชีพการเกษตร จังหวดั เชียงราย (เกษตรท่ีสูง) สาขาดอยตงุ สถานที่ต้ัง กิโลเมตรที่ ๕ ตามเส้นทางสู่พระตาหนักดอยตุง ตาบลแม้ฟ้าหลวง อาเภอแม่ฟ้าหลวงจังหวัดเชียงราย สูงจากระดับน้าทะเล ๕๕๐ เมตร ระยะทางจากตัวเมืองจังหวัดเชียงราย ผ่านเส้นทางอาเภอแม่จนั ไปอาเภอแม่สาย ระยะทาง ๕๐ กิโลเมตร ใช้เวลาเดนิ ทาง ๑ ช่วั โมง ลักษณะพ้ืนที่ส่วนใหญ่เปน็ ภเู ขาสูงมีที่ราบเชงิ เขาแคบ รับผดิ ชอบสง่ เสรมิ เกษตรกรชาวไทยภูเขาในเขตโครงการพัฒนาดอยตงุ ๒,๙๖๓ ครวั เรอื น  ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาอาชพี การเกษตร จังหวดั เชียงราย (เกษตรทส่ี งู ) สาขาดอยผาหมน่

สถานท่ีตั้ง อยูใ่ นเขตบา้ นรม่ ฟ้าไทย หมู่ที่ ๒๓ ตาบลตับเต่า อาเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ระยะทางห่างจากตัวเมืองจังหวัดเชยี งรายถึงศูนย์ฯ ดอยผาหม่น ผ่านทางอาเภอเทิงประมาณ ๙๗ กิโลเมตร ใช้เวลาเดนิ ทางประมาณ ๒ ชั่วโมง ศูนย์ฯ ดอยผาหม่นรับผิดชอบส่งเสริมเกษตรกรชาวไทยภูเขาจานวน ๘,๕๔๕ ครัวเรือนประชากร ๔๕,๖๙๐ คน สง่ เสริมเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวงผาต้ังห้วยแล้ง และโครงการฟาร์มตวั อย่างอันเนื่องมาจากพระราชดาริ บา้ นรม่ ฟ้าทอง อาเภอเวยี งแก่น จังหวัดเชยี งราย  ศนู ย์สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวดั เชยี งราย (เกษตรที่สงู ) สาขาแม่ปูนหลวง ก่อตั้งเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๖ สถานที่ต้ัง พ้ืนท่ีศูนย์ฯ แม่ปูนหลวง ตั้งอยู่ในเขตหมู่บ้านสามกุลา หมู่ท่ี ๘ตาบลเวียง อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ครอบคลุมพื้นที่ท้ังหมด ๑๘ หมู่บ้าน ประชากรประมาณ๓,๑๓๖ ครัวเรือน จานวนประชากร ๑๕,๔๖๕ คน ลักษณะพื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงสลับกับแนวลาห้วย มีความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ ๑,๐๐๐ เมตร และยอดดอยสูงสุด ๑,๒๕๐ เมตร ระยะทางจากเชียงรายถึงศูนยฯ์ แม่ปูนหลวง ประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ ๓ ชัว่ โมง สภาพภูมิอากาศอณุ หภูมิเฉลี่ยสูงสุด ๒๗ องศาเซลเซียส ในเดือนมีนาคม – พฤษภาคม อณุ หภูมเิ ฉลี่ยตา่ สดุ ๑๓ องศาเซลเซยี สในเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ประชากรประกอบด้วยชาวไทยภูเขาเผ่าต่างๆ ได้แก่ มูเซอแดง ลีซอ อาข่า ม้งกะเหรี่ยง

สถานีเกษตรหลวงจังหวัดแมฮ่ อ่ งสอนประวตั คิ วามเปน็ มา วันท่ี ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๖ ท่ีพระตาหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ คณะทางานส่วนพระองค์ได้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เพ่ือทรงมีพระบรมราชวินิจฉัย ให้กรมส่งเสริมการเกษตรใช้พ้ืนท่ีบริเวณศูนย์โครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ บ้านห้วยมะเขือส้ม อาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จานวนประมาณ ๑๐๐ ไร่ ซ่ึงเป็นท่ีตั้งของหน่วยงานย่อยกรมทหารราบท่ี ๒๑ รักษาพระองค์ เพื่อจัดตั้งเป็นศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูง ดาเนินงานด้านการขยายผลของโครงการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดารแิ ละทรงมพี ระบรมราชวนิ จิ ฉยั อนญุ าตใหใ้ ช้พื้นท่ีได้ ดังน้ันในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ กรมส่งเสริมการเกษตร จึงจัดสรรงบประมาณและบุคลากรจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูงห้วยมะเขือส้ม ต่อมาในปี ๒๕๔๖ เม่ือมีการปรับโครงสร้างระบบราชการ จึงยกสถานะศนู ย์ฯ ใหเ้ ปน็ ศนู ย์ส่งเสริมการเกษตรทีส่ ูงจงั หวัดแม่ฮอ่ งสอนสภาพภมู ิศาสตรจ์ งั หวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอนประกอบด้วย ๗ อาเภอ ๔๕ ตาบล ๔๑๕ หมู่บ้าน มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมพม่าเป็นแนวยาวประมาณ ๔๘๐ กิโลเมตร มีขนาดพื้นที่ ๗,๙๒๕,๗๘๕ ไร่หรือ ๑๒,๖๘๑,๒๕๙ ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน ครอบคลุมพ้นื ที่ประมาณร้อยละ ๙๐.๕ ของพื้นท่ีจังหวัด ส่วนที่เหลือประมาณร้อยละ ๙.๕ เป็นที่ราบหุบเขา สภาพป่าโดยทวั่ ไปค่อนข้างสมบรู ณ์ ชนิดป่าเป็นป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ ปา่ เตง็ รงั ป่าสนและปา่ ไผจ่ ากการแปลภ าพ จ าก ด าว เที ย ม (ปี ๒ ๕ ๔ ๑ ) จั งห วัด แ ม่ ฮ่ อ งส อ น มี เน้ื อ ท่ี ป่ าอ ยู่ ๘ ,๗ ๕ ๔ .๔ ๔ ต ารางกโิ ลเมตร (๕,๔๗๙,๖๕๐ ไร่) คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๑๔ ของพื้นท่จี งั หวัด

ผลงานดเี ด่นดา้ นส่งเสริมการเกษตร ศนู ย์ส่งเสริมการเกษตรท่ีสูงจังหวัดแมฮ่ ่องสอน ไดใ้ ช้กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แกเ่ กษตรกรและผูท้ ีส่ นใจ เพือ่ นาไปขยายผลโดยผ่านฐานการเรยี นรู้ แปลงสาธติ และการผลติ ปัจจัยการผลติ ไดแ้ ก่  ฐานการเรียนรู้การอนุรกั ษ์และฟ้ืนฟูกล้วยไม้ท้องถ่ิน จานวน ๑ ฐาน เพื่อใช้ในการถ่ายทอดความรู้ ด้านการรวบรวมพันธุ์ การผลิตและอนุบาลลูกกล้วยไม้ การนากล้วยไม้กลับคืนสู่ธรรมชาติและการ ผลิตเชิงการคา้  ฐานการเรียนรู้การอนุรักษ์พันธ์ุเฟิร์น จานวน ๑ ฐาน เพื่อใช้ในการถ่ายทอดความรู้ด้านการ รวบรวมพนั ธุ์ การผลติ การขยายพนั ธุแ์ ละการผลติ เชงิ การค้า  แปลงสาธติ การปลูกพืชบนพ้ืนทสี่ ูง (ไม้ผลไม้ยนื ต้น) ได้แก่ ชาจีน, กาแฟ, ท้อ, อโวกาโด, กาแฟ , ไผ่, กลว้ ยนา้ หว้า, และศุภโชค 

 แปลงสาธิตการปลกู พืชผกั และสมนุ ไพร ได้แก่ พืชผักเมอื งหนาว, เหด็ , สมนุ ไพร จุดสาธิตการผลิตต้นพันธ์ุพืชบนพื้นที่สูง ได้แก่ พีช (ท้อ), อโวกาโด, มะม่วง, ไผ่, ไม้ดอกไม้ประดับ, พลัม, พลับและไม้ยืนต้นท่ีมีศักยภาพ (ลูกชิด,เมเปิล, จาปีป่า) รวม ๑๕,๐๐๐-๒๐,๐๐๐ ต้น/ปี เพ่ือ บรกิ ารและสนับสนุนปจั จยั การผลิตแก่เกษตรกร

สถานีเกษตรหลวงจงั หวัดลาพนูประวัตคิ วามเปน็ มา หมู่บ้านพระบาทห้วยต้ม เป็นหมู่บ้านชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหร่ียงขนาดใหญ่มีชาวพ้ืนเมืองอาศัยอยู่บางส่วนชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงน้ีเคร่งครัดในการถอื ปฏบิ ัติมังสะวริ ัตและเคารพสักการะครบู าวงศ์ (พระครูพัฒนากิจจานุรักษ์) ซ่ึงได้มาจาพรรษาท่ีวัดพระบาทห้วยต้ม โดยชาวเขาเหล่านี้ อพยพมาจากประเทศพม่า, จังหวัดตาก, เชียงใหม่ และแมฮ่ อ่ งสอน พ.ศ. ๒๕๒๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จเยี่ยมราษฎรหมู่บ้านพระบาทห้วยต้ม ทรงทอดพระเนตร เห็นสภาพพ้ืนที่และชีวิตความเป็นอยู่ ของราษฎร ทรงมีพระราชดาริว่า \"หมู่บ้านแหง่ นี้ประสบปัญหาขาดแคลนทท่ี ากนิ ขา้ วไมพ่ อบรโิ ภค ชาวบ้านเป็นโรคขาดสารอาหาร ชาวเขาเผ่ากะเหร่ยี งได้อพยพมาอยู่รวมกันเช่นนี้ เป็นผลดีในการลดการหักล้างทาลายป่าลดพื้นที่ปลูกฝิ่นทางอ้อม จะไม่ได้ไปรับจ้างปลูกฝ่ินให้ชาวเขาอ่ืนอีกด้วย ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ รับหมู่บ้านพระบาทห้วยต้มและหมู่บา้ นผาลาดให้เปน็ หม่บู ้านบริวารอยูภ่ ายใตม้ ลู นิธิโครงการหลวงตั้งแตบ่ ัดน้ัน เป็นตน้ มา ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดลาพูน (เกษตรท่ีสูง) เดิมชื่อศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูงพระบาทห้วยต้ม สังกัดสานักงานเกษตรจังหวัดลาพูน กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค ต่อมาเมื่อมีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ และกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๕ ทาให้ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูงพระบาทห้วยต้ม (เดิม) ไปอยู่ภายใต้การกากับดูแล ของสานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ ๖ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นหน่วยราชการส่วนกลาง มีท่ีต้ังสานักงานในส่วนภูมิภาค และเปล่ยี นชอื่ เปน็ ศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจังหวดั ลาพนู (เกษตรทสี่ งู )

การท่องเท่ียวเชิงเกษตรภายในศูนย์พัฒนาโครงการหลวงพระบาทห้วยต้ม แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วนได้แก่ แปลงสาธิตพืชผักที่แปลกใหม่ ได้แก่ ฟักบัตเตอร์นัท ฟักจานบิน ฟักคอหงส์ และพริกเม็กซิกันเผ็ดและหวาน, แปลงสาธติ ผกั ทส่ี ่งเสริมให้เกษตรกรปลกู ได้แก่ มะเขอื ม่วงกา้ นดา คะน้ายอดดอยคา ไม้ผล ประเภทไม้ผล, แปลงสาธิตการปลูกไมผ้ ลเมืองรอ้ น ได้แก่ มะมว่ งพันธ์ุจากต่างประเทศ มะเฟอื ง สายพันธไ์ุ ต้หวัน มะปรางเสาวรส อโวคาโด้ บ๊วย และท้อ, แปลงไม้ดอกไม้ประดับ การปลูกกุหลาบหนู และแปลงพืชสมุนไพร ได้แก่ตะไครห้ อม เพอื่ นามาสกัดเปน็ นา้ มนั หอมระเหย

สถานีเกษตรหลวงจงั หวัดพะเยา ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ได้ดาเนินการจดั ตั้งศนู ย์ส่งเสรมิ การเกษตรทีส่ ูง จ.พะเยาขึ้นซึ่งรับผิดชอบพื้นที่สูง จ.พะเยา และในปี ๒๕๕๒ ได้รับผิดชอบ จ.พะเยา และ จ.น่าน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแหล่งถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านการเกษตรแก่เกษตรกรบนพื้นทีสูง ปฏิบัติงานในพื้นที่โครงการหลวงโครงการพระราชดาริใน สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ โครงการโรงเรียน ตชด. ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ตลอดจนพัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร ให้สอดคล้องและสนับสนุนจุดท่องเที่ยว“ภลู ังกา” ของจงั หวัดพะเยา  โครงการสถานีพัฒนาการเกษตรทสี่ ูงตามพระราชดาริ บา้ นสันตสิ ุข-ขนุ กาลัง จงั หวดั พะเยา วนั เสาร์ ที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรพื้นที่ป่าดอยผาช้างตาบลขุนควร อาเภอปง จังหวัดพะเยา เป็นท่ีต้ังถ่ินฐานของราษฎรชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง เป็นแหล่งกาเนิดของแม่น้ายม สภาพป่าต้นน้าถูกบุกรุกแผ้วถางขยายเป็นวงกว้างขึ้นเร่ือยๆ ถ้าปล่อยทิ้งไว้จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศป่าต้นน้าและจะเกิดผลกระทบตามมาอีกหลายประการเช่น อุทกภัย ภัยแล้ง ดินถล่ม ฯลฯ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯเชิญแม่ทัพภาคที่ ๓ ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา ผู้แทนจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชและผู้แทนจากส่วนราชการต่างๆ ที่เก่ียวข้องมาร่วมประชุมปรึกษาหารือเพ่ือช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาความ

เดือดร้อนขอราษฎรให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ณ บริเวณดอยผาช้าง สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถมีพระราชดาริให้ต้ัง “สถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง ตามพระราชดาริ บ้านสันติสุข-บ้านขุนกาลัง” ณ บ้านสันติสุข อาเภอปง จังหวัดพะเยา ให้ฟื้นฟูระบบนิเวศ ป่าต้นน้าให้สมบูรณ์ และต้ังธนาคารข้าวให้เหมือนธนาคารการเงนิ มีเป้าหมายให้เป็นสถานที่เรียนรู้และรับจ้างเป็นแรงงานของชุมชนฝึกทาการเกษตรแผนใหม่ควบคู่กับการอนุรักษ์ดนิ และน้า เนอ่ื งจากราษฎรขาดทักษะและขาดความรทู้ างด้านการเกษตร สง่ เสรมิ ให้ราษฎรมคี วามเข้าใจว่าป่ามีความสาคัญกับน้าอย่างมาก ถ้าถางป่าหมดก็จะเกิดความแห้งแล้ง แนวทางดังกล่าวน้ีจะเป็นการแกไ้ ขปัญหาความยากจนของราษฎร ส่งเสริมใหร้ าษฎรมคี วามรู้ทางการเกษตรอยา่ งถูกวิธี ทรพั ยากรธรรมชาติป่าไม้ และสัตว์ป่าได้รับการฟื้นฟูให้มีความอุดมสมบูรณ์ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ปัญหายาเสพติดจะหมดไปเกิดความมั่นคงต่อชาติบ้านเมอื ง ชมุ ชนสามารถอยู่รว่ มกบั ป่าได้อย่างเก้ือกลู กนั เท่ียวเชิงเกษตรกับศูนย์เรียนรู้การปลูกพืชเมืองหนาวแบบครบวงจรบนพื้นที่กว่า ๖๐ ไร่บนดอยสูงจะไดพ้ บกับผลไม้ เช่น ลูกพลับ ลกู ทอ้ สตอเบอรร์ ่ี แมคคาเดเมีย ส่วนไม้ดอก แกลดิโอลัส ดาวเรือง เบญจมาศกล้วยไม้ และผกั เมืองหนาว เชน่ สลัด กะหลา่ หัวใจ กะหล่าปม คะนา้ หวั

บทที่ ๓ วธิ ดี าเนินงาน และวิธจี ัดทาโครงการ ในการจัดทาโครงการในหัวข้อโครงการพัฒนาการเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดารัส คณะผู้จัดทาได้ทาโครงการตามขัน้ ตอน ดงั ต่อไปนี้ ๑. วสั ดุ อุปกรณ์ โปรแกรมที่ใชใ้ นการทางาน - โปรแกรมสาหรับการทารปู เล่ม Microsoft Word - โปรแกรมสาหรบั การเสนอ Microsoft Power Point - เครือ่ งคอมพิวเตอร์ พร้อมเชือ่ มต่อระบบเครือข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต สาหรับการทางาน ๒. วิธีดาเนนิ งาน - ประชุม ปรกึ ษาหารือ และเสนอความคิดเห็น แบ่งหน้าที่ของสมาชิกภายในกลุ่ม และหา ข้อมูลในการดาเนนิ งาน - รวมรวบขอ้ มูลทไี่ ด้จากการศึกษาคน้ คว้า นามาวิเคราะห์และเลือกใช้ในส่วนที่สาคญั - จัดทาโครงรา่ งของโครงการพฒั นาการเกษตรทส่ี งู ตามแนวพระราชดารัส - รายงาน ความก้าวหน้าเป็นระยะๆ กับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ และนาเสนอ ขอข้อเสนอแนะจากอาจารย์ท่ีปรกึ ษาโครงการ เพอ่ื นามาปรบั ปรุงให้ดขี ึ้น - ศึกษาวิธีการจัดทารูปเล่มของโครงการ และวิธีการทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) เพิ่มเตมิ เพอื่ ใช้ในการทารูปเล่มโครงการ ให้อยใู่ นรูปแบบของหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ - จัดทารูปเล่มโครงการพัฒนาการเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดารัส โดยนาเสนอใน รูปแบบไฟลค์ อมพวิ เตอร์ และหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ - ประเมินผลการดาเนินงาน และนาเสนอโครงการพัฒนาการเกษตรทีส่ ูงตามแนวพระราช ดารัสตอ่ อาจารย์ท่ปี รกึ ษา

บทท่ี ๔ ผลการดาเนินงาน การจัดทาโครงการพัฒนาการเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดารัสนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้เก่ียวกับโครงการพัฒนาการเกษตรท่ีสูงตามแนวพระราชดารัสแก่ผู้อ่าน และผู้ที่สนใจ หรือประชาชนชาวไทยได้เห็นถึงความสาคัญ และตระหนักถึงคุณค่าของการเกษตรไทย พร้อมทั้งยังระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ เพื่อให้คณะผู้จัดทาสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองยิง่ ขึน้ ตลอดจนสามารถนามาตดิ ตอ่ สือ่ สารกันได้ ระหวา่ งอาจารย์ เพื่อน และผูท้ ่ีสนใจทวั่ ไป ซึ่งมผี ลการดาเนนิ งาน ดงั น้ีผลการดาเนินงาน การจัดทาโครงการพัฒนาการเกษตรท่ีสูงตามแนวพระราชดารัสน้ี คณะผู้จัดทาได้เร่ิมการดาเนินงานตามข้ันตอนการดาเนินงานที่นาเสนอในบทท่ี ๓ เรียบร้อยแล้ว ส่ิงที่ได้ออกมา คือ ข้อมูลเก่ียวกับโครงการพัฒนาการเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดารัสจานวนมาก และหลากหลายแหล่งที่มาของข้อมูล ซึ่งทางคณะผู้จัดทาได้ทาการเรียบเรียงข้องมูล และนาเสนอในรูปแบบที่ต่างๆ เช่น การนาเสนอในแบบรูปเล่มโครงการการนาเสนอแบบ Microsoft Power Point และการนาเสนอในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK)เป็นต้น

บทที่ ๕ สรปุ ผลการดาเนนิ งาน โครงการพัฒนาการเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดารัสน้ันเกิดจาก การทาการเกษตรของชาวเขาจะมีลักษณะเป็นการทาไร่เล่ือนลอย คือ ย้ายที่ไปเร่ือยๆ หลังจากท่ีดินขาดความอุดมสมบูรณ์หรือมีวัชพืชเกิดขึ้นทาให้มีการทาลายป่า เพ่ือการเพาะปลูกกันมากข้ึนทุกปี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงทราบถึงปัญหาในเร่ืองน้ีเป็นอย่างดี ทรงเห็นว่าการท่ีจะขับไล่หรือเคลื่อนย้ายชาวเขา ให้ไปอย่ใู นท่ที ่ีกาหนดใหน้ ั้นจะทาได้ยาก แต่ถ้าสามารถช่วยให้ชาวเขามีความรู้ ความสามารถทาการเกษตรอย่างถูกวิธี ก็จะทาให้ชาวเขาต้ังหลักแหล่งอยู่ในท่ีถาวรได้โดยไม่เคล่ือนย้ายทาไร่เล่ือนลอยดังแต่ก่อน และจะก่อให้เกิดผลดีต่อส่วนรวมในท่ีสุดจึงทาให้เกิดโครงการส่วนพระองค์ข้ึนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒ มีชื่อว่า \"โครงการหลวง\" จงึ ทาให้เกดิ การคน้ ควา้ วิจยั ทางเกษตรสาขาใหมข่ ้นึ ในประเทศไทย นน่ั คือ \"การเกษตรท่ีสูง\" พืชหลายชนิดท่ีสามารถปลูกได้ตลอดปบี นที่สูง เช่น ผักต่างๆ มันฝรั่ง ไม้ดอกและไม้ ประดับ จึงทาให้เกิดอาชีพที่จะปลูก \"พืชนอกฤดู\" ได้อีกด้วย เช่น ผักและไม้ดอกเมืองหนาวน้ัน จะปลูกได้ในพื้นที่ต่าเฉพาะในฤดหู นาวเทา่ นั้น ในฤดูท่ีไม่สามารถปลูกได้ในพนื้ ทต่ี ่า จึงเหมาะท่ีจะปลูกบนที่สงู เพราะจะขายได้ราคาดีและไม่มีการแข่งขันมากนกั การปลูกพืชบนที่สงู น้นั สามารถต้งั วัตถุประสงคใ์ ห้เกิดประโยชน์ไดเ้ ปน็ ๔ กรณี คือ  ปลูกพืชเมืองหนาวที่ไม่สามารถปลกู ในท่ีอื่นได้  ปลกู พืชท่ีทาใหไ้ ด้คุณภาพของผลติ ผล และผลประโยชน์ดีข้นึ  ปลูกพืชนอกฤดู  ปลูกพืชเพื่อผลิตเมล็ดหรือหวั พันธ์ใุ นบรรดาพืชตา่ ง นอกจากการปลูกพืชแล้ว การเลี้ยงสัตว์บนที่สูงก็สามารถทาได้เช่นกัน เช่น แกะและวัวพันธ์ุต่างประเทศ จึงอาจเหมาะสาหรับโครงการผสมพันธ์ุสัตว์หรือโครงการเล้ียงวัวพันธ์ุต่างประเทศ นอกจากน้ีกรมประมงไดท้ ดลองเล้ียงปลาหลายชนิด เพ่ือศึกษาชนดิ ของปลาทมี่ ีความเหมาะสม ท่ีจะเลี้ยงในที่อุณหภมู ิต่าไดด้ ี ซง่ึ ตอ่ มาไดพ้ บวา่ ปลาที่มีการเจรญิ เตบิ โตได้ดี คอื ปลานลิ ปลาไน ปลาไนทรงเคร่อื ง และปลาจนี ปัจจุบันโครงการหลวงทาการส่งเสริมและพัฒนาในพื้นที่ท่ีเป็นเป้าหมายศูนย์พัฒนาโครงการหลวง๓๘ แห่ง ตั้งอยู่ในพื้นที่ ๕ จังหวัดของภาคเหนือตอนบน ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลาพูน และพะเยา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ ๑.๗๑ ล้านไร่ มีประชากรท่ีได้รับประโยชน์จานวนแสนกว่าคน ผลผลิตที่สาคัญจากโครงการหลวง ประกอบด้วย ผักปลอดภัย สมุนไพร ถั่วและธัญพืช ผลไม้ เห็ด ดอกไม้เมืองหนาวผลิตผล ปศุสัตว์ ผลิตผลประมง ผลิตผลป่าไม้ ดอกไม้แห้ง ผลิตภัณฑ์จากแฝก ไม้กระถาง และผลิตภัณฑ์แปรรูปในชอ่ื การค้า โครงการหลวง เป็นตน้

ภาคผนวก







บรรณานกุ รม มูลนิธิโครงการหลวง. (๒๕๕๕). สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่.สืบค้นเม่อื วนั ที่ ๑๓ พฤศจิกายน, ๒๕๖๐, จาก www.royalprojectthailand.com. รศ.สมพร อิศวิลานนท์. (๒๕๕๙).เกษตรพ้ืนที่สูงของรัชกาลท่ี ๙.สืบค้นเม่ือวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน,๒๕๖๐,จาก http://www.komchadluek.net นายปวิณ ปุณศรี. (๒๕๕๖).การเกษตรท่สี ูงในประเทศไทย.สืบคน้ เม่ือวันท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน, ๒๕๖๐,จาก http://chm-thai.onep.go.th ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร (ศวทก.) (๒๕๕๕).เกษตรบนที่สูง.สืบค้นเมื่อวันท่ี ๑๓ พฤศจิกายน,๒๕๖๐, จาก http://www.mcc.cmu.ac.th นายนาวิน อินทจักร. (๒๕๖๐).ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดเชียงราย(พ้นื ท่สี งู ).สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน, ๒๕๖๐, จาก http://www.haec๐๔.doae.go.th

ข้อมลู ผู้จัดทาช่อื – นามสกุล นายธนดล รกั คา ช่อื เล่น กายภูมิลาเนา 39/281 หมู่ 4 ถนนสามโคก – ปทุม ตาบลสามโคก อาเภอสามโคก จงั หวัดปทุมธานี 12160หมายเลขโทรศัพท์ 088 – 8788051 E-mail [email protected]ชือ่ – นามสกุล นายธนทัต ออ่ นสละช่อื เล่น เก็ตภูมิลาเนา 93 หมู่ 4 ตาบลหนองไผ่ อาเภอหนองไผ่ จงั หวัดเพชรบูรณ์ 67140หมายเลขโทรศพั ท์ 099 – 5825281 E-mail [email protected]ชอ่ื – นามสกุล นางสาวนัฐรกิ า จันทรด์ า ช่อื เล่น โดนัทภมู ิลาเนา 126/1 หมู่ 3 ซอยแหลมนกแกว้ บา้ นเนินควง ตาบลนาอิน อาเภอพิชยั จังหวัดอตุ รดิตถ์ 53120หมายเลขโทรศัพท์ 088 – 1530367 E-mail [email protected]ชอ่ื – นามสกุล นางสาวนาตยา ยอดคา ชือ่ เล่น ตุ้มภูมลิ าเนา 15 หมู่ 2 ตาบลตะเบาะ อาเภอเมอื ง จงั หวัดเพชรบูรณ์ 67000หมายเลขโทรศพั ท์ 094 - 6038011 E-mail [email protected]ชอ่ื – นามสกุล นางสาวปาริฉตั ร สุขดี ชือ่ เล่น มวิ ล์ภมู ิลาเนา 99 หมู่ 7 ตาบลสามง่าม อาเภอสามง่าม จงั หวัดพจิ ิตร 66140หมายเลขโทรศัพท์ 096 – 1475651 E-mail [email protected]

ชือ่ – นามสกุล นางสาววมิ ลสิริ ถน่ิ สิรพิ ฒั นกิจ ชอ่ื เลน่ แพรวภมู ลิ าเนา 88/115 หมูบ่ ้าน บ้านสวยเจา้ พระยา หมู่ 10 ตาบลหนองกรด อาเภอเมอื ง จังหวดั นครสวรรค์ 60150หมายเลขโทรศพั ท์ 097-9204658 E-mail [email protected]ชอื่ – นามสกุล นางสาวอจั ฉราภรณ์ วงคญ์ าติ ช่อื เลน่ โมภูมิลาเนา 4 หมู่ 10 ตาบลหัวฝาย อาเภอสูงเม่น จังหวดั แพร่ 54130หมายเลขโทรศพั ท์ 061 – 9017412 E-mail [email protected].ชอ่ื – นามสกุล นางสาวอินทุกาญจน์ คงภู ชื่อเล่น ลูกเกดภมู ิลาเนา 200 หมู่ 5 ตาบลบ้านนอ้ ยซุ้มข้เี หล็ก อาเภอเนินมะปราง จงั หวัดพิษณุโลก 65190หมายเลขโทรศัพท์ 091 – 3932032E-mail [email protected]ชือ่ – นาสกุล นายวชั รพล กอ้ นแกว้ ช่ือเล่น เอ็มภูมลิ าเนา 49 หมู่ 10 ตาบลไร่ออ้ ย อาเภอพิชัย จงั หวดั อุตรดิตถ์ 53120หมายเลขโทรศัพท์ 096 - 71200-82E-mail [email protected]ชอ่ื – นามสกุล นางสาวสุภาภรณ์ ไม้กรา่ ง ชอ่ื เล่น กุ้งภูมิลาเนา 253 หมู่ 9 ตาบลกดุ จิก อาเภอเมือง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000หมายเลขโทรศัพท์ 093 – 4492177E-mail [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook