สมรรถนะของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ประเภทของสมรรถนะ เนื่องจำกแนวคิดเรื่องสมรรถนะมีหลำยสำนักหลำยแนวคิดจึงมีกำรจัดประเภทสมรรถนะไม่ เหมือนกันท้ังนี้ขนึ้ อยู่กับกำรให้คำนิยำมและวัตถุประสงค์ของกำรนำไปใช้ จำกกำรศึกษำของแมคเคลล์ แลนดพ์ บว่ำ สมรรถนะของบุคคลสำมำรถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญๆ่ คือ (สำนกั งำนเลขำธิกำรครุ ุสภำ, 2549 : 60 – 63) 1) สมรรถนะข้ันพื้นฐำน (Threshold competency) หมำยถึง ควำมรู้หรือทักษะพื้นฐำนที่บุคคล จำเป็นต้องมีในกำรทำงำน เช่น ควำมสำมำรถในกำรอ่ำน กำรพูด หรือกำรเขียนซึ่งสมรรถนะเหล่ำนี้ ไมไ่ ด้ทำให้บุคคลนั้นมีผลงำนทแ่ี ตกต่ำงจำกผู้อื่นหรือไมส่ ำมำรถทำให้บุคคล นั้นมีผลงำนทีด่ ีกว่ำผู้อื่นได้ นักวิชำกำรบำงกลุ่มจงึ มีควำมเหน็ ว่ำควำมรู้และทักษะพ้นื ฐำนเหลำ่ น้ไี ม่จดั เป็นสมรรถนะ 2) สมรรถนะข้ันแยกแยะได้ (Differentiating competency) หมำยถึง ปัจจัยที่ทำให้บุคคลมีผล กำรทำงำนสูงกว่ำมำตรฐำนหรือดกี ว่ำบุคคลทั่วไป ซึ่งทำให้บุคคลผู้นั้นมีควำมแตกต่ำงจำกผู้อื่นอย่ำง เห็นได้ชัด สมรรถนะกลุ่มนี้มุ่งเน้นที่กำรใช้ควำมรู้ ทักษะ และคุณลักษณะอื่น ๆ รวมไปถึงค่ำนิยม แรงจูงใจ และเจตคติเพื่อช่วยให้เกิดผลงำนที่ดีเลิศ นักวิชำกำรจำนวนมำกจึงให้ควำมสนใจสมรรถนะ กลุ่มนเี้ พรำะสำมำรถพัฒนำให้เกิดขนึ้ ในตวั บคุ คลได้ นอกจำกกำรแบ่งประเภทของสมรรถนะตำมที่แมคเคลล์แลนด์ได้เสนอไว้แล้วยังมีผู้แบ่งใน ลักษณะอืน่ ๆ อีก ดังตัวอย่ำงต่อไปนี้ 1. ไบรอันท์และพูสตี (Bryant and Poustie, 2001) ไดแ้ บ่งประเภทสมรรถนะเพือ่ ใช้ในกำรศึกษำ สมรรถนะทีจ่ ำเป็นสำหรับกลมุ่ บคุ คลท่ปี ฏิบตั งิ ำนห้องสมดุ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1.1 สมรรถนะหลัก (Core competency) หมำยถึง สมรรถนะที่สะท้อนให้เห็นถึงส่ิงที่องค์กร ทำได้ดีที่สุด และเป็นพื้นฐำนในกำรกำหนดค่ำนิยมขององค์กร จึงเป็นสมรรถนะ ที่จำเป็นสำหรับผู้ ทำงำนทกุ คนไมว่ ่ำจะอยู่ในตำแหน่งใด 1.2 สมรรถนะด้ำนพฤติกรรม ( Behavioral competency) อำจเรียกได้อีกอย่ำงหนี่งว่ำ สมรรถนะด้ำนบุคคล(Personal competency)หมำยถึงคุณลักษณะด้ำนกำรปฏิบัติงำนของบุคคลที่มี อิทธิพลและเปน็ แรงผลกั ดันให้เกิดกำรปฏิบัตโิ ดยปกติจะเกี่ยวข้องกับงำนหลำยๆ ดำ้ นระหว่ำงองค์กร 1.3 สมรรถนะด้ำนเทคนิค (Technical competency) บำงคร้ังอำจเรียกว่ำสมรรถนะด้ำน วิชำชีพ (Professional competency) เป็นสมรรถนะที่เกี่ยวข้องกับควำมรู้หรือทักษะเชิงเทคนิคจึงเป็น สมรรถนะทีจ่ ำเปน็ อย่ำงยิ่งต่อควำมสำเร็จในกำรปฏิบตั งิ ำนเฉพำะดำ้ น 2. ไบแฮมและโมย์เออร์ (Byham and Moyer 1996, quoted in Kierstead, 1998) ได้แบ่งประเภท สมรรถนะเพื่อใช้ในกำรประเมินควำมสำเร็จขององค์กรออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 2.1 สมรรถนะด้ำนพฤติกรรม (Behavioral competency) หมำยถึง ส่ิงที่คนพูด หรือ กระทำ ซึง่ จะส่งผลต่อกำรปฏิบตั ิงำนได้ดีหรือไมด่ ี จดั ทำโดย นำงสำวนฤมล ปปู ินตำ เลขที่ 12 1 รหัสนิสิต 63204296 สำขำกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ มหำวิทยำลยั พะเยำ
สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา 2.2 สมรรถนะด้ำนควำมรู้ (Knowledge competency) หมำยถึง ส่ิงที่คนรู้ เป็นควำมรู้ที่ เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริง เทคโนโลยี วิชำชีพ กระบวนกำร ตลอดจนควำมรู้ที่ใช้ ในกำรปฏิบัติงำนและ ควำมรเู้ กีย่ วกับองค์กร 2.3 สมรรถนะดำ้ นแรงจงู ใจ (Motivational competency) หมำยถึงวิธที ี่บคุ คลแสดงควำมรู้สึก ต่องำน ต่อองค์กร หรือต่อสภำพทำงภูมิศำสตร์ขององค์กรโดยทั้ง 3 สมรรถนะนี้จะเกี่ยวข้องกับ องค์ประกอบด้ำนควำมรู้ (Knowledge : K) ทักษะ (Skill : S) และ ควำมสำมำรถ (Ability : A) รวมท้ัง คณุ ลกั ษณะอืน่ ๆ ของบคุ คล (Other : O) ซึ่งจะส่งผลต่อควำมสำเรจ็ ขององค์กร ดังแสดงในภำพที่ 5 ภำพ 5 แผนภูมิแสดงสมรรถนะ องค์ประกอบของสมรรถนะ และผลสำเร็จขององค์กร ทีม่ ำ : สำนักพัฒนำและส่งเสริมวิชำชีพ (2549 : 62) จัดทำโดย นำงสำวนฤมล ปปู ินตำ เลขที่ 12 2 รหัสนิสิต 63204296 สำขำกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ มหำวิทยำลยั พะเยำ
สมรรถนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา 3. สเปนเซอร์และคณะ (Spencer et al., 1994) ไดแ้ บ่งประเภทสมรรถนะ ออกเป็น 3 กลมุ่ เพื่อ ใช้ในกำรทำวิจยั ได้แก่ 3.1 สมรรถนะหลัก (Essential competency) หมำยถึง พืน้ ฐำนของควำมรู้และทกั ษะทีท่ ุกคน ในองค์กรจำเปน็ ต้องมีซึง่ สำมำรถพัฒนำขึน้ มำได้โดยกำรฝึกอบรม 3.2 สมรรถนะขั้นแยกแยะได้ (Differentiating competency)หมำยถึง สมรรถนะที่สำมำรถ แยกผู้ปฏิบัติงำนที่มีควำมสำมำรถโดดเด่นออกจำกผู้ปฏิบัติงำนที่มีควำมสำมำรถระดับปำนกลำง (Average performance) ได้แม้ว่ำสมรรถนะดำ้ นนี้จะยำกต่อกำรพัฒนำ แต่ก็เป็นตวั กำหนดควำมสำเร็จ ในกำรทำงำนของบุคคลในระยะยำว 3.3 สมรรถนะขั้นกลยุทธ์ (Strategic competency) หมำยถึง สมรรถนะหลักขององค์กรแต่ มุ่งไปที่สมรรถภำพขององค์กร (Organizational capability) รวมไปถึงสมรรถนะจะทีส่ ร้ำงควำมได้เปรียบ ในกำรแข่งขันซึง่ ได้แก่ ควำมสำมำรถดำ้ นนวัตกรรม กำรให้บริกำรควำมรวดเร็วในกำรปฏิบัติงำน และ เทคโนโลยี 4. จีระ หงส์ลดำรมภ์ (2549 : 84) แบ่งประเภทของสมรรถนะสำหรับกำรบริหำรในองค์กร ธรุ กิจออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ 4.1 สมรรถนะประจำกลุ่มงำน (Functional competency) ไดแ้ ก่ ควำมรู้ของบคุ คลทีใ่ ช้ในกำร ปฏิบตั ิงำนตำมหน้ำทีท่ ี่รับผิดชอบ 4.2 สมรรถนะด้ำนองค์กร (Organizational competency) ได้แก่ ควำมรู้ ของบุคคลที่ช่วย ทำให้องค์กรเกิดมูลค่ำเพิ่ม (Value - added) อำทิ กำรมีควำมรู้เกี่ยวกับ กำรยกเครื่ององค์กร (Re - engineering) กำรเปล่ียนแปลงองค์กร วัฒนธรรมองค์กร รวมทั้งกำรบริหำรจัดกำรคุณภำพ โดยรวม (TQM : Total Quality Management) และ Six Sigma เป็นต้น 4.3 สมรรถนะด้ำนภำวะผู้นำ (Leadership competency) ได้แก่ ทักษะด้ำน มนุษย์ (People skills) วิสยั ทศั น์ (Vision) และควำมน่ำไว้วำงใจ (Trust) 4.4 สมรรถนะด้ำนประกอบกำร (Entrepreneurial competency) ได้แก่ กำรมีควำมคิดที่ดี ๆ (Good ideas) แนวคิดด้ำนบริหำรจัดกำร (Executive ideas) กำรป้องกัน ควำมล้มเหลว (Save failure) และควำมสำมำรถจดั กำรกับควำมเสย่ี ง (Risk management) 4.5 สมรรถนะระดับมหภำคและสมรรถนะระดับโลก (Macro and global competency) ได้แก่ กำรมีควำมรู้เกี่ยวกบั เหตกุ ำรณ์ และควำมเคล่ือนไหวของประเทศและ ของโลก เช่น รู้ว่ำขณะน้ีท่ัวโลก กำลังเกิดอะไรขึ้น รู้จักสำรวจควำมเป็นไปได้ และหลีกเล่ียงอันตรำยที่จะเกิดขึ้นกับองค์กรของตน เปน็ ต้น จดั ทำโดย นำงสำวนฤมล ปูปินตำ เลขที่ 12 3 รหสั นิสิต 63204296 สำขำกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ มหำวิทยำลยั พะเยำ
สมรรถนะของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา 5. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน จดั ประเภทของสมรรถนะออกเป็น 2 กลุ่ม เพื่อ ใช้สำหรับระบบจำแนกตำแหน่งและค่ำตอบแทนทีป่ รับปรุงใหม่ โดยจัดทำเป็นโมเดลสมรรถนะสำหรับ ข้ำรำชกำรไทย (สำนกั งำนพฒั นำและส่งเสริมวิชำชีพ, 2549 : 63 – 64) 5.1 สมรรถนะหลัก หมำยถึง คณุ ลักษณะร่วมของข้ำรำชกำรพลเรือนไทย ท้ังระบบเพื่อหล่อ หลอมค่ำนิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ร่วมกัน ประกอบดว้ ย 5 สมรรถนะ ได้แก่ กำรมุ่งผลสัมฤทธิ์ กำรบรกิ ำรทีด่ ี กำรสั่งสมควำมเชี่ยวชำญในวิชำชีพ จริยธรรม และควำมร่วมแรงร่วมใจ 5.2 สมรรถนะประจำกลุ่มงำน หมำยถึง สมรรถนะที่กำหนดเฉพำะสำหรับกลุ่มงำนเพื่อ สนับสนนุ ให้ข้ำรำชกำรแสดงพฤติกรรมที่เหมำะสมแก่หน้ำที่และส่งเสริมให้ปฏิบัติภำรกิจในหน้ำที่ให้ได้ ดียิ่งขึ้นมีทั้งหมด 20 สมรรถนะ โดยสมรรถนะประจำกลุ่มงำนบริหำร จะมีเพียง 5 สมรรถนะเท่ำน้ัน ได้แก่ วิสัยทัศน์ ศักยภำพเพื่อกำรนำเปล่ียนกำรวำงกลยุทธ์ภำครัฐกำร ควบคุมตนเองและกำรให้ อำนำจผู้อืน่ 6. คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ (ก.ค.ศ.) (สำนักงำนคณะกรรมกำร ข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ, 2549 : 10 – 22) ได้แบ่งสมรรถนะของข้ำรำชกำรครูและ บคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ เปน็ 2 ประเภท ดงั ต่อไปนี้ 6.1 สมรรถนะหลัก ประกอบดว้ ย 4 สมรรถนะ ดงั นี้ 1) กำรมุ่งผลสัมฤทธิ์ หมำยถึง ควำมมุ่งมั่นในกำรปฏิบัติงำนในหน้ำที่ให้มีคุณภำพ ถกู ต้องครบถ้วนสมบูรณ์ มีควำมคิดริเร่มิ สร้ำงสรรค์ และมีกำรพฒั นำผลงำนให้มีคณุ ภำพอยำ่ งตอ่ เนื่อง 2) กำรบริกำรที่ดี หมำยถึง ควำมต้ังใจในกำรปรับปรุงระบบบริกำรให้มีประสิทธิภำพ เพือ่ ตอบสนองควำมตอ้ งกำรของผู้ใช้บริกำร 3) กำรพัฒนำตนเอง หมำยถึง กำรศึกษำค้นคว้ำหำควำมรู้ ติดตำมองค์ควำมรู้และ เทคโนโลยีใหม่ๆ ในวงวิชำกำรและวิชำชีพ เพือ่ พฒั นำตนเองและพัฒนำงำน 4) กำรทำงำนเป็นทีม หมำยถึง กำรให้ควำมร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุน เสริมแรง ให้ กำลังใจแก่เพื่อนร่วมงำน กำรปรบั ตัวเข้ำกบั บคุ คลอืน่ หรือแสดงบทบำทผู้นำ ผู้ตำมได้อยำ่ งเหมำะสม 6.2 สมรรถนะประจำสำยงำน ประกอบดว้ ย 4 สมรรถนะ ดงั นี้ 1) กำรวิเครำะห์และสังเครำะห์ หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรทำควำมเข้ำใจส่ิงต่ำงๆ แล้วแยกแยะประเด็นเป็นส่วนย่อยตำมหลักกำรหรือกฎเกณฑ์ที่กำหนด สำมำรถรวบรวมส่ิงต่ำงๆ จดั หำ จดั ทำอย่ำงเปน็ ระบบ เพื่อแก้ปญั หำหรือพัฒนำงำน รวมท้ังสำมำรถวิเครำะห์องค์กรหรืองำนใน ภำพรวมและดำเนนิ กำรแก้ปญั หำอย่ำงเป็นระบบ 2) กำรส่ือสำรและกำรจูงใจ หมำยถึง กำรส่ือสำรและกำรจูงใจ หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรพูด เขียน ส่อื สำร โต้ตอบ ในโอกำสและสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ตลอดจนสำมำรถชกั จูง โน้มน้ำวให้ผู้อืน่ เหน็ ดว้ ย ยอมรบั คล้อยตำม เพื่อบรรลจุ ุดมุ่งหมำยของกำรสอ่ื สำร จัดทำโดย นำงสำวนฤมล ปูปินตำ เลขที่ 12 4 รหสั นิสิต 63204296 สำขำกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ มหำวิทยำลัยพะเยำ
สมรรถนะของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 3) กำรพัฒนำศักยภำพบุคลำกร หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรให้คำปรึกษำ แนะนำ และช่วยแก้ปัญหำให้แก่เพื่อนร่วมงำนและผู้เกี่ยวข้อง มีสว่ นร่วมในกำรพัฒนำบุคลำกร ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่ำง รวมท้ังส่งเสริม สนบั สนนุ และให้โอกำสผู้ร่วมงำนไดพ้ ฒั นำในรูปแบบต่ำงๆ 4) กำรมีวิสัยทัศน์ หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรกำหนดวิสัยทศั น์ทิศทำง หรือแนวทำง กำรพฒั นำองค์กรที่เป็นรูปธรรม เป็นที่ยอมรับ และเป็นไปไดใ้ นทำงปฏิบตั ิ กำรยอมรับ แนวคิด/วิธีกำร ใหม่ๆ เพื่อกำรพฒั นำงำน 7.อนุสิทธิ์ นำมโยธำ (2555 : 46) ได้แบ่งประเภทสมรรถนะของผู้บริหำรสถำนศึกษำ เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สมรรถนะหลักผู้บริหำรสถำนศึกษำ ประกอบดว้ ย กำรมุ่งผลสัมฤทธิ์ กำรบรกิ ำร ที่ดี กำรพัฒนำตนเอง กำรทำงำนเป็นทีม และคุณธรรมจริยธรรม และสมรรถนะประจำสำยงำน ผู้บริหำรสถำนศึกษำ ประกอบด้วย กำรส่ือสำรและกำรจูงใจ กำรมีวิสยั ทัศน์ กำรวิเครำะห์สังเครำะห์ กำรพัฒนำศักยภำพบุคลำกร และกำรมีภำวะผู้นำ จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้น สรุปได้ว่ำ ประเภทของสมรรถนะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ 1) สมรรถนะหลกั ประกอบดว้ ย 4 สมรรถนะ ดังนี้ กำรมงุ่ ผลสัมฤทธิ์,กำรบริกำรที่ดี, กำรพฒั นำตนเอง และกำรทำงำนเป็นทีม 2) สมรรถนะประจำสำยงำน ประกอบด้วย 4 สมรรถนะ ดงั นี้ กำรวิเครำะห์และ สงั เครำะห์, กำรสอ่ื สำรและกำรจงู ใจ, กำรพฒั นำศกั ยภำพบุคลำกร และกำรมีวิสยั ทัศน์ จัดทำโดย นำงสำวนฤมล ปปู ินตำ เลขที่ 12 5 รหัสนิสิต 63204296 สำขำกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ มหำวิทยำลยั พะเยำ
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: