Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 170751_2016-06-22-ดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น-v2-หน้า-4-15 (2)

170751_2016-06-22-ดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น-v2-หน้า-4-15 (2)

Published by Naparat Kulsiriratkul, 2020-08-08 04:31:16

Description: 170751_2016-06-22-ดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น-v2-หน้า-4-15 (2)

Search

Read the Text Version

1    วธิ ีดแู ลรกั ษาเครือ่ งคอมพวิ เตอรเ์ บ้ืองตน้ ส่วนประกอบของเครอื่ งคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ มสี ว่ นประกอบหลัก 2 ส่วน คือ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ เคร่ืองและอุปกรณ์ต่างๆ ท่สี ามารถจับตอ้ งได้ เชน่ จอภาพ, เมาส,์ ซพี ยี ู, พัดลมระบายความรอ้ น, ซดี รี อมไดรฟ์ , USB 2. ซอฟทแ์ วร์ (Software) คือ โปรแกรมทสี่ ั่งให้เคร่อื งทาํ งาน สว่ นมากตอ้ งผา่ นขัน้ ตอนการติดตั้ง (install หรือ setup) รูจ้ ักกบั อปุ กรณ์ภายในเคร่อื งคอมพิวเตอร์ 1. ซีพยี ู (CPU : Central Processing Unit) ซีพียูเปรียบเสมือบเป็นหัวใจของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่ประมวลผลการทํางานทุกอย่างบนเครอ่ื ง คอมพิวเตอร์ โดยปกตจิ ะชาํ รดุ เสยี หายยากมาก และสิง่ ทที่ าํ ใหอ้ ายกุ ารทํางานของซีพียสู น้ั ลง สาเหตุมากจาก 1.1 การทํา Over Clock ให้ซีพียูทํางานเร็วกว่าความเร็วท่ีกําหนด และเมื่อซีพียูถูกใช้งานตลอดเวลา จะทาํ ให้เกิดความรอ้ นสงู มผี ลทาํ ให้ซีพียูเสยี ได้งา่ ย 1.2 พัดลมระบายอากาศ (Ventilation Fan) ที่ติดอยู่กับชุดจ่ายไฟ (Power Supply) เสีย เมื่อซีพียู ทาํ งานตลอดเวลา จะทาํ ให้ความร้อนสะสม และไมส่ ามารถระบายความร้อนออกไปได้ ซึ่งถ้าซพี ียู เสียจะไม่สามารถซ่อมได้ จาํ ตอ้ งเปล่ียนตัวใหมเ่ ท่านัน้ 2. แผนวงจรหลกั (Mainboard; Motherboard) แผนวงจรหลักเป็นอุปกรณ์ท่ีมีชิฟ (Chip) ควบคุมการทํางานของอุปกรณ์อ่ืนๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทงั้ เป็นตัวรับและจา่ ยไฟใหก้ ับอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์อน่ื ๆ บนแผงวงจรหลักดว้ ย กรณีเกิดไฟตกหรือไฟกระชาก ถ้ามีอุปกรณ์สํารองไฟ (UPS) จะช่วยให้การทํางานของเคร่ือง คอมพวิ เตอร์เปน็ ไปอย่างราบรื่น 3. หนว่ ยความจํา หน่วยความจาํ ของคอมพวิ เตอร์แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 3.1 หน่วยความจําท่ีเรียกว่า ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจําที่เก็บข้อมูลถาวร โดย ROM จะถูกติดตั้งแบบถาวร ข้อดี คอื ขอ้ มูลจะยังคงอยูแ่ มไ้ มม่ กี ระแสไฟฟา้ ในเคร่อื งคอมพวิ เตอร์

2    ข้อเสีย คือ ผู้ใช้ไม่สามรถเขียนข้อมูลลงในรอมได้ เพราะผู้ผลิตจะบรรจุหน่วยความจํารอมมา โดยตรง เช่น โปรแกรมไบออส (Bios) 3.2 หน่วยความจําที่เรียกว่า RAM (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจําชั่วคราวก่อน นาํ ไปประมวลผล โดยหนว่ ยความจาํ RAM จะมีหน่วยวัดเปน็ Byte ขอ้ ดี คือ ผู้ใช้สามารถเพิ่ม RAM ได้ จะทําให้การประมวลผลรวดเร็วยิ่งข้ึน ขอ้ เสีย คือ RAM จะเก็บขอ้ มูลได้จะตอ้ งมไี ฟมาเลี้ยงวงจร ถ้าไฟดับข้อมลู จะหายหมด 4. หมอ้ แปลงไฟฟ้า (Power Supply) หมอ้ แปลงไฟฟ้า หรอื Power Supply จะถกู ตดิ ตง้ั อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ดา้ นหลงั โดยทาํ หน้าที่ในการแปลงระดับแรงดนั ไฟฟ้าให้เหมาะสมกบั ท่ใี ชใ้ นแผงวงจร โดยมีหน่วยเป็น Watt ส่วน ไฟฟา้ ท่อี อกมาจาก Power Supply มหี นว่ ยเปน็ โวลท์ เชน่ 12 โวลท์ ขอ้ ดี คอื หากถกู ไฟฟา้ ดูด ซอ๊ ต จะไมม่ ีความรนุ แรงถึงข้นั เสียชวี ติ เพราะเปน็ แรงดันระดับต่าํ 5. ฮารด์ ดสิ ก์ (Hard Disk) ฮารด์ ดสิ ก์เป็นหนว่ ยความจําสํารองสาํ หรบั บนั ทึกข้อมลู ทม่ี คี วามจสุ งู ซงึ่ จะถกู ติดตั้งอยู่ภายในเครอื่ ง คอมพิวเตอร์ โดยทวั่ ไปฮารด์ ดสิ กม์ ีอายกุ ารใชง้ านอยา่ งตํา่ 3-5 ปี แตอ่ ย่างไรกต็ าม ฮาร์ดดสิ กอ์ าจเกิด อาการเสยี ได้ตลอดเวลา ดงั นั้น ควรต้องสาํ รองขอ้ มลู ในฮาร์ดดสิ กอ์ ยา่ งสมํ่าเสมอ ข้อควรระวัง คือ เมือ่ เกดิ ไฟตก หรือ ไฟกระชาก อาจมีผลทาํ ใหฮ้ ารด์ ดสิ กเ์ สียหายได้ 6. การ์ดแสดงผล (Display Card) การด์ แสดงผลเป็นอปุ กรณ์ที่ช่วยให้คอมพวิ เตอรแ์ สดงขอ้ มูลได้ โดยผ่านจอคอมพวิ เตอร์ การใช้งาน ทัว่ ไปจะอยใู่ นช่วง 3 ปีแรก การ์ดแสดงผลมี 2 แบบ คอื แบบทเ่ี ปน็ Card เสียบใน slot และ แบบ VGA on board คือ ตดิ มากบั แผงวงจรเลย การใชง้ านโดยท่ัวไปท่ไี ม่เนน้ งานออกแบบมลั ตมิ ีเดยี งาน ด้านกราฟฟกิ สงู ๆ นยิ มใชแ้ บบ on board 7. การด์ เสียง (Sound Card) การ์ดเสยี งเป็นอุปกรณท์ ่ที ําให้คอมพวิ เตอรส์ ามารถแสดงเสยี งและบันทึกเสียงได้ สามารถตดิ ตง้ั เพิม่ แบบเป็น Card เสียบใน slot หรอื แบบติดมากบั แผงวงจร การใชง้ านโดยส่วนใหญ่จะเป็น on board 8. พดั ลมระบายความรอ้ น (Ventilation Fan) พัดลมระบายความร้อนเป็นอุปกรณท์ ใ่ี ชร้ ะบายความร้อนภายในเคร่อื งคอมพิวเตอร์ โดยสว่ นใหญ่พดั ลมระบายความรอ้ นจะเสยี ภายในเวลา 2-3 ปี ข้อเสีย คือ เมอื่ พดั ลมความรอ้ นเสยี จะทําให้ซพี ียรู อ้ นจัด จะทาํ ใหเ้ ครอ่ื งเกิดอาการค้าง (Hang) โดย ไมท่ ราบสาเหตุ และทําให้อายกุ ารใชง้ านของซพี ียูสั้นลง ซง่ึ ควรต้องเปลี่ยนพดั ลม

3    9. ซดี ีรอมไดรฟ์ (CD-Rom Drive) ซีดรี อมไดร์ฟเปน็ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้สื่อและบันทกึ ข้อมลู ทสี่ ามารถอ่านไดท้ ้งั ภาพและเสียง มที ั้งติดต้ังมากบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เรยี กวา่ CD-Rom แบบ Internal Drive และติดต้ังภายนอก เรียกว่า CD-Rom แบบ External Drive ซ่ึงสามารถพกพาได้ โดยใช้รว่ มกบั แผ่นซดี ีรอม โดยปกตแิ ผน่ CD-ROM จะมี ความจุอยูท่ ่ี 700 MB หรอื เท่ากบั หนังสอื ประมาณ 500,000 หน้า ข้อดี คือ สามารถบันทึกขอ้ มลู ได้มากโดยเฉพาะงานด้านมลั ตมิ เี ดยี ทงั้ ภาพและเสยี ง และทส่ี าํ คัญ คอื ปลอดภัยจากไวรสั ข้อควรระวงั คือ 1) ไม่ควรนําแผนซดี ที ่ีเสยี แล้ว หรอื มีรอยขดี ขว่ นมากๆ มาอา่ น เพราะจะทําใหห้ ัวอา่ นชํารุดได้ 2) การใช้นํา้ ยาล้างหวั อ่านผิดประเภท ก็จะทาํ ให้ซีดรี อมไดร์ฟเสยี หายได้ 3) นา้ํ ยาลา้ งหัวอ่าน หา้ มนํามาเช็ดหน้าจอ จะทําให้หน้าจอเสยี หายได้ ถา้ มฝี ่นุ หรือคราบน้ิวมอื ใหใ้ ช้ ผา้ สะอาดเชด็ กเ็ พียงพอแลว้ 10. ดีวีดีรอมไดร์ฟ (DVD-Rom; Digital Video Disc/Digital Versatile Disc) ดีวดี รี อมไดรฟ์ เปน็ อปุ กรณท์ ใี่ ชส้ อ่ื และบนั ทกึ ข้อมลู ทสี่ ามารถอา่ นไดท้ ง้ั ภาพและเสยี ง เชน่ เดียวกบั ซดี ีรอมไดร์ฟ โดยใชร้ ว่ มกบั แผ่นดวี ดี รี อม (DVD-Rom) มคี วามจขุ ้อมูลท่ี 4.7 GB หรอื 7 เทา่ ของ ซีดรี อม DVD-Rom สามารถให้ภาพคมชดั ทใ่ี กลเ้ คยี งกบั เทปต้นแบบจากสตูดิโอ และมกี ารพฒั นา อยา่ งตอ่ เนื่อง ทาํ ใหป้ ัจจบุ ันมี Blue-Ray Drive ซึ่งสามารถติดตั้งบนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ได้ ส่วนมาก จะใช้สําหรับดูหนังความคมชัดสงู 11. จอภาพ (Monitor) จอภาพเป็นอุปกรณส์ ่งออก (Output Device) อย่างหนงึ่ ทใ่ี ช้สําหรบั แสดงข้อมลู หรอื โปรแกรม ออกมาบนจอภาพ ทัง้ จอภาพธรรมดา CRT (Cathode Ray Tube) จอภาพแบบแบน LCD หรือ LED ข้อควรระวงั คอื ไมค่ วรวางจอไวใ้ กลบ้ ริเวณท่มี ีสนามแม่เหลก็ มากเกนิ ไป และไมค่ วรเช็ดหนา้ จอดว้ ย น้าํ ยาอืน่ ๆ ท่ไี ม่ใชน่ า้ํ ยาทําความสะอาดจอ มิฉะนนั้ จะทาํ ให้จอเสียหายได้ 12. เมาส์ (Mouse) เมาส์เป็นอปุ กรณร์ ับเขา้ (Input Device) อยา่ งหน่งึ ทใี่ ช้สาํ หรับรับข้อมลู หรอื คาํ สัง่ เข้าสคู่ อมพวิ เตอร์ แลว้ ทาํ การส่งต่อไปยังหนว่ ยประมวลกลาง (Processing Unit) มี 2 แบบ คือ 12.1 แบบท่ีใชล้ ูกกลง้ิ ขอ้ ดี คอื ลกู กลิ้งสามารถถอดทําความสะอาดเอาสิ่งสกปรกทีอ่ ยู่ภายในเมาส์ ออกได้ ขอ้ เสยี คอื เคลอ่ื นไปมาไดช้ า้ กวา่ แบบใชแ้ สง 12.2 แบบใชแ้ สง (Laser) เมอ่ื เมาส์จะเคลือ่ นไปมาบนแผน่ รองเมาส์ จะมแี สงตัดผา่ นและสะท้อน ขึน้ มาทาํ ให้ทราบตําแหนง่ ทลี่ าก ฉะนัน้ ส่ิงทต่ี ้องคํานึง คอื แผน่ รองเมาส์ ควรเปน็ สีทึบ ไมม่ ี ลวดลายมากเกนิ ไป เพราะจะทาํ ใหก้ ารสะท้อนของลําแสงไมด่ ี ทําให้การเคลอ่ื นทชี่ า้

4    13. แผงแปน้ อักขระ (Keyboard) แผงแปน้ อกั ขระเปน็ อุปกรณร์ บั เขา้ (Input Device) อย่างหนึ่งท่ใี ช้สาํ หรบั นาํ ข้อมูลลงในเครือ่ ง คอมพวิ เตอร์ มี 3 แบบ คอื 13.1 แบบใช้สายเช่ือมต่ออนุกรม (Serial Port หรือ PS2) หัวมีลกั ษณะกลม ขอ้ ดี คือ ไม่จาํ เปน็ ตอ้ งติดตัง้ ไดร์ฟเวอร์ 13.2 แบบใช้สายเชื่อมต่อชนิด USB หัวมลี ักษณะแบน (แบบเดยี วกับอุปกรณ์ USB ทว่ั ไป) ขอ้ ดี คือ สามารถนํามาเชือ่ มตอ่ กบั เคร่อื งคอมพิวเตอรไ์ ด้หลากหลาย 13.3 แบบแป้นพมิ พไ์ ร้สาย ส่วนใหญ่จะมาพรอ้ มกบั เมาส์ เปน็ ชดุ เดียวกนั ขอ้ ดี คอื เคลอื่ นยา้ ยทีส่ ะดวกมาก ไมต่ อ้ งมสี ายระเกะระกะ ข้อเสยี คือ จําเป็นตอ้ งใชแ้ บตเตอรี่ และมรี าคาสูงกวา่ แบบสายเชอ่ื ม ขอ้ ควรระวงั คือ การป้อนขอ้ มูลจํานวนมากทุกวนั หรอื การเอาแผงแปน้ อกั ขระไปใชเ้ ลน่ เกมสบ์ ่อยๆ จะพบวา่ มบี างปุ่มจะเสียเร็ว และอายกุ ารใช้งานของแปน้ จะส้ันลง ดแู ลรักษาเครอื่ งคอมพวิ เตอร์เบอ้ื งตน้ การดูแลรักษาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ดา้ นหลกั ๆ คอื 1. ดา้ นฮาร์ดแวร์ (Hardware) หรือ อุปกรณต์ ่างๆ ทอี่ ยู่ภายใน และภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ 1.1 ทต่ี งั้ ของเครื่องคอมพวิ เตอร์  ควรวางเครือ่ งคอมพิวเตอร์ให้ห่างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า 15 เซนตเิ มตร ไมค่ วรวางมุมอบั หรือ ชดิ กาํ แพง เพื่อใหอ้ ากาศถ่ายเทสะดวก ลดความร้อนภายในเครอื่ ง  ควรวางเครือ่ งคอมพิวเตอร์ไวบ้ นโต๊ะ จะดีกว่าวางใต้โต๊ะหรอื วางกบั พนื้ เพราะพื้นจะมฝี ุ่น มากกว่า หรือ ระหวา่ งการใช้งาน ขาอาจไปกระแทกกบั เครือ่ ง ทาํ ให้เกดิ ความเสียหายไดง้ ่าย  ควรวางเครือ่ งคอมพิวเตอรใ์ ห้หา่ งจากแหลง่ สนามแมเ่ หลก็ เพอ่ื ป้องกนั การเสยี หายของ อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์  ไม่ควรวางเคร่ืองคอมพิวเตอรไ์ วใ้ กล้หน้าต่างท่มี ีแสงแดดและฝนสามารถเขา้ ถงึ ได้ เพราะจะ ทาํ ให้อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสต์ ่างๆ เสยี หายได้ 1.2 ความสะอาดภายในเคร่อื งคอมพวิ เตอร์  ควรดูแลเชด็ ทาํ ความสะอาด ขจัดฝุ่งละออง เส้นผม ใยแมงมงุ ที่เกาะอยูต่ ามเคร่อื ง หรอื รู ระบายความรอ้ นออกของฝาเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ เพื่อให้มที างระบายความรอ้ นกระจายออก ไดด้ ี 1.3 สิง่ ผดิ ปกติของอุปกรณภ์ ายในเครือ่ งคอมพิวเตอร์  ได้กล่ินไหม้  ตวั อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์บวม มนี ํา้ ยาไหลออกมาจากเคร่ืองคอมพวิ เตอร์  พดั ลมระบายความรอ้ น ยงั หมนุ ดีอยหู่ รือไม่ ถา้ หยุดหมุน ควรแจง้ เจ้าหนา้ ที่เปลี่ยนทนั ที

5    1.4 อื่นๆ  ไมค่ วรเคล่ือนย้ายเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ หรือถอดสายใดๆ ท่ีเชอ่ื มต่อกับเครอื่ งในขณะทก่ี าํ ลงั เปิดใชง้ านอยู่  ไมค่ วรนํานา้ํ กาแฟ หรือของเหลวอน่ื ๆ มาตงั้ ใกลเ้ คร่อื ง เพราะส่งิ เหล่านอ้ี าจทําใหเ้ ครอื่ ง ได้รบั ความเสียหายได้  ไมค่ วรเปดิ เครื่องคอมพวิ เตอร์ทันทหี ลังจากปิดเครอื่ ง ใหร้ อสัก 1 นาทจี งึ เปิดเครื่องใหม่ เพราะกระแสไฟอาจทาํ ใหเ้ คร่อื งคอมพิวเตอร์เสียหายได้  ไมค่ วรปิดเคร่อื งโดยกดปมุ่ Power เพราะจะทาํ ให้โปรแกรมหรือไฟล์ที่กาํ ลงั ทาํ งานเสยี หาย ได้ วิธีทถี่ ูกตอ้ ง คือ ควรใชค้ าํ ส่ังปิด (Shutdown/Turn off) ผา่ นวินโดว์  ไมค่ วรวางส่งิ ของปดิ ก้ันช่องระบายอากาศของจอภาพและเคร่ืองคอมพวิ เตอร์  ควรใช้อุปกรณ์ทีช่ ่วยสํารองกระแสไฟฟ้าและรกั ษาระดบั แรงดนั ของไฟฟ้าใหค้ งท่ี เชน่ UPS เพอ่ื ปอ้ งกนั ไฟกระชากในกรณที ี่เกดิ ไฟฟา้ ดับกะทนั หัน  ควรเปิดใชโ้ หมดประหยัดพลงั าน เพอ่ื ถนอมอายกุ ารใช้งานของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ และ ประหยดั คา่ ไฟ เชน่ เมือ่ ไม่ใชเ้ มาส์ หรอื คยี บ์ อรด์ ระยะหนึ่งใหป้ ิดหนา้ จอ หรือเขา้ โหมด Standby 2. ด้านซอตฟ์ แวร์ (Software) หรอื โปรแกรมท่ีใชก้ บั เครื่องคอมพวิ เตอร์ 2.1 การลงโปรแกรม  ควรลงโปรแกรมเฉพาะทใ่ี ช้ ถา้ ลงโปรแกรมมากๆ จะทําใหเ้ คร่อื งอืด หรือ เคร่ืองค้างไปเลย โปรแกรมไหนไมไ่ ดใ้ ช้ ให้ Uninstall ออก 2.2 การเก็บข้อมลู  ควรเก็บข้อมูล เอกสาร ไฟลต์ า่ งๆ แนะนําใหเ้ กบ็ ไวไ้ ดรฟ์ อื่น ที่ไม่ใช่ไดรฟ์ ซี (Drive C)  ควรดแู ลใหไ้ ดรฟ์ ซี (Drive C) มพี นื้ ทีเหลือพอสําหรบั วินโดว์ทาํ งานได้ โดยเฉพาะโปรแกรม จาํ พวกเกมส์ กนิ พ้ืนทใี่ นฮาร์ดดิสก์เยอะ จนทําให้วนิ โดว์ทาํ งานไมไ่ ด้ 2.3 รจู้ ักสังเกตโปรแกรมแปลกๆ  โปรแกรมแปลกๆ ท่ีไม่เคยเหน็ ในเครอ่ื งแตแ่ รก ให้ Uninstall ออก  ควรอา่ น หรอื ดใู ห้ดี ก่อนคลกิ ตอบรบั ไมค่ วรคลกิ Next Yes OK แบบไมไ่ ดอ้ ่าน หรอื อา่ น ไม่เขา้ ใจ แปลไมอ่ อก ให้กด Cancel ดีกว่า เพราะจะไดโ้ ปรแกรมทต่ี ดิ มาโดยที่เราไมร่ ู้ตัว โดยเฉพาะเขา้ เวปยอดฮิต อาจตดิ ไวรัส สปายแวร์ หรือโปรแกรมท่ีไม่พึงประสงคเ์ ข้ามาใน เครอื่ งคอมพิวเตอร์ 2.4 ตดิ โปรแกรมปอ้ งกันไวรัส สปายแวร์  ควรติดตง้ั โปรแกรมปอ้ งกนั ไวรัส/สปายแวร์ และอัพเดตฐานข้อมูลไวรสั อย่เู สมอ 2.5 การดแู ลและบาํ รงุ รักษาระบบขั้นพ้ืนฐาน ควรทาํ ใหส้ มํา่ เสมอ จะทาํ ใหก้ ารใช้งานโปรแกรมไม่ อืด ไม่ชา้  ควรลบขยะบนฮารด์ ดสิ ก์ (Disk Cleanup) สม่ําเสมอ  ควรตรวจสอบสภาพฮารด์ ดสิ ก์ (Check Disk) สม่ําเสมอ

6     ควรจัดเรยี งขอ้ มลู เพอื่ เรง่ ความเรว็ ในการอ่านข้อมลู (Disk Defragmenter) สมํา่ เสมอ  ควรทาํ สาํ รองข้อมลู และไฟลร์ ะบบวินโดว์ (System Restore) สมา่ํ เสมอ 3. ด้านผใู้ ชง้ าน (Peopleware) หรือ ผูใ้ ชเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ 3.1 อา่ น  ควรอา่ นสกั นิด กอ่ นคลกิ อะไร จะได้รูว้ า่ ต้องทําอะไรบา้ ง หรอื ใหถ้ ามจากผู้รู้กย็ งั ดี 3.2 อารมณ์  ไม่ควรเคาะคยี บ์ อร์ดแรงๆ กระแทกเมาสแ์ รงๆ หรอื ดบั เบิล้ คลิกเมาสถ์ ่ๆี เพราะไมไ่ ด้ชว่ ยทํา ให้เครื่องทํางานเร็วข้นึ แต่จะทาํ ให้ช้ามากขน้ึ ถึงขั้นเครือ่ งค้างเลย 3.3 ทําโดยไม่รู้ หรอื ทําม่ัว  ไม่ควรไม่รูแ้ ล้วมั่ว โดยเฉพาะเรือ่ งการเชอื่ มตอ่ อปุ กรณเ์ สรมิ กอ่ นใช้งานควรอ่านคู่มอื สกั นิด เช่น ช่องเสียบใสไ่ ม่เขา้ ก็พยายามฝนื ดันเข้าไป  การดาวน์ โหลดโปรแกรมจากเวบ็ ไซต์ ต้องระวังใหม้ าก 3.4 จัดระเบยี บเอกสาร  ควรจัดโฟลเดอร์และเอกสารท่ีใชง้ านใหเ้ ปน็ ระเบียบ จะชว่ ยประหยัดเวลา และทาํ งานได้เร็ว ยิง่ ขึน้ เพราะเวลาในการหาไฟล์เอกสารต่างๆ กส็ ะดวกมากข้ึน เครอื่ งกท็ าํ งานเบาลง สง่ิ ทค่ี วรทราบ หลายคนพบกับเหตุการณ์ต่างๆ เช่น พิมพ์งานอยู่ดีๆ เครื่องหยุดทํางานไปเฉยๆ หรือดับไปเลย ต้อง Boot เคร่ืองใหม่อย่างเดียว สาเหตุท่ีทําให้เครื่องหยุดทํางาน (Hang) หรือดับไปเลยมีหลายสาเหตุ ฉะน้ันการ แก้ไขจึงข้นึ อยู่กบั ว่าอะไรเป็นต้นเหตุ สิ่งที่สามารถแก้ไขได้รวดเร็ว คือ ต้องอาศัยการสังเกตอาการท่ีเกิดข้ึนของ ผู้ใช้ เช่น ถา่ ยรปู ไว้ จะเปน็ ประโยชน์อย่างมากเพราะเจ้าหน้าทจี่ ะสามารถวิเคราะห์หาสาเหตุทีแ่ ท้จริงได้ ถึงหา วิธแี กไ้ ขปญั หาที่ถูกตอ้ งได้

7    การดแู ลและบาํ รุงรักษาระบบข้ันพ้นื ฐาน Disk cleanup Disk Cleanup คือ หนึ่งในโปรแกรม สําหรับใช้บํารุงรักษาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ใช้ในการทําความ สะอาด Hard disk โดยลบไฟล์ต่างๆ ท่ีไม่จําเป็นออก เช่น ไฟล์ Temporary รวมไปถึง ไฟล์อินเตอร์เน็ตต่างๆ ที่เก็บไว้ใน Cache ของ browser เพื่อให้ Hard disk ของเครื่องคอมพิวเตอร์มีเน้ือที่เหลือในการใช้งานเพ่ิม มากขนึ้ ทาํ งานไดเ้ ร็วมากขึ้น เนื่องจากมีพ้ืนท่ีเหลือว่างสําหรับการจัดการข้อมูลต่างๆ ควรทํา Disk Cleanup กับเคร่ือง คอมพิวเตอรเ์ ป็นประจํา ประมาณ 1 ครัง้ ตอ่ สปั ดาห์ วิธีการเรียกใชง้ านโปรแกรม Disk Cleanup 1. คล๊ิกปุ่ม Start Menu จากหนา้ จอ 2. เลอื ก All Program 3. เลอื ก Accessories 4. เลอื ก System Tools 5. เลือก Disk Cleanup 6. เลือกไดรฟ์ ทีต่ อ้ งการ Disk Cleanup 7. คลกิ เครือ่ งหมายถูกในไฟล์ โดยสามารถ เลอื กได้ ทั้งหมด โดยที่ ไมม่ ีปัญหา ใดๆ ต่อการทาํ งานของ เครอ่ื ง สามารถ สังเกตไดด้ ้วยว่า ทคี่ ุณเลอื กไปนน้ั สามารถ คนื พืน้ ที่กบั Hard disk ได้เท่าไรทขี่ า้ งลา่ ง ของโปรแกรม 8. คลกิ โอเค โปรแกรม จะถามว่า คณุ แน่ใจหรอื ไม่ ทจี่ ะลบ ไฟล์เหลา่ นี้ ใหค้ ณุ ตอบ Yes จากน้ัน โปรแกรม จะทําการ ลบไฟล์ตา่ งๆ เหลา่ นน้ั ต่อไป

8    Check disc Check Disk คอื การตรวจสอบความผิดปกตขิ องฮารด์ ดสิ ก์ วธิ กี ารเรียกใชง้ านโปรแกรม Check Disk 1. เปดิ My Computer กด Right-Click ท่ี Drive ทตี่ อ้ งการตรวจสอบ เช่น C:\\ เลอื กเมนู \"Properties...\" 2. คลกิ ท่ี Tools จะปรากฏหน้าจอตามรปู ในส่วนของ Error-checking ให้ท่านคลิกที่ \"Check now...\" 3. ทําเคร่ืองหมายถูกที่ \" Scan for and attempt recovery of bad sectors\" จากนั้นคลิก Start เพ่ือ เริ่มการตรวจสอบและแก้ไข\" หลังจากตรวจสอบแล้ว หากพบข้อผิดพลาดใดก็ตามก็จะถูกแก้ไขให้ อัตโนมตั ิ หมายเหตุ ขณะท่ีทําการ Scan Disk ไมค่ วรเปดิ โปรแกรมใด ๆ

9    Defragment Defragment คือ การจัดข้อมูล ต่างๆ ที่บันทึก ลงไปใน ฮาร์ดดิสก์ ให้เป็นระเบียบ เน่ืองจาก เม่ือมี การ ติดตั้งโปรแกรม Save หรือ Delete ข้อมูลใหม่ๆ ลงไป ข้อมูลเหล่าน้ี จะถูกจัดเก็บ อย่าง กระจัดกระจาย ในฮาร์ดดิสก์ ซ่ึงน่ันจะทําให้ การทํางานของเคร่ือง ช้าลงเนื่องจาก การอ่านข้อมูล ต้องกระโดดข้าม ไป-มา ใน แต่ละส่วน ของดิสก์ ที่แยกกระจายกันน้ัน เพียงเพ่ืออ่านข้อมูล ท่ีต้องการไฟล์เดียว การใช้ โปรแกรม Defragmenter น้ัน จะช่วยให้ ข้อมูลเหล่าน้ี เป็นระเบียบ ด้วยการ จัดเอา ข้อมูลของโปรแกรม และไฟล์ต่างๆ ให้อยู่รวมกัน อย่างเป็นหมวดหมู่ อันส่งผลให้ ฮาร์ดดิสก์ เรียกหาข้อมูล ได้รวดเร็ว แก้ปัญหาเคร่ืองโหลดเข้า โปรแกรมนาน หรือเครื่องช้าได้ การทํา Disk Defragment น้ี ควรทํา อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อให้ ฮาร์ดดิสก์ ของคุณ มีระเบียบ อยู่ตลอด รวมทั้ง หากคุณ ได้มีการติดตั้ง โปรแกรม ใหม่ๆ ลงไป ก็ควร ทําการ Defragment ด้วย วิธีการเรียกใชง้ านโปรแกรม Defragment 1. ดับเบ้ลิ คลิกที่ My Computer คลกิ ขวาไดรฟ์ ทตี่ ้องการทํา Defragment เลอื ก Properties 2. คลิกที่แทบ็ Tools จากนน้ั คลิกที่ Defragment Now 3. คลกิ ที่ Defragment 4. จากน้ันให้รอ เคร่ืองจะทาํ การ Defragment ซงึ่ อาจจะใชเ้ วลานาน 5. เม่ือเครื่อง Defragment เสรจ็ เครอ่ื งจะแจง้ ใหท้ ราบถ้าตอ้ งการดรู ายละเอียดตา่ ง ๆ ของ การ Defragment ใหค้ ลกิ ที่ View Report ถา้ ไมต่ อ้ งการก็ใหค้ ลิกท่ี Close หมายเหตุ  การทํา Defragment ให้ทําการ Disk Cleanup และ Scan Disk กอ่ น  ขณะที่กําลังทําการ Defrag หากต้องการยกเลิกการทํางาน จะต้องกดท่ี Stop เท่าน้ัน ห้ามปิดเครื่อง หรอื กดปุ่ม Reset เปน็ อนั ขาด ไม่เช่นน้นั ข้อมูลในฮารด์ ดิสก์อาจจะสญู หายได้

10    Window defender Window defense คือ ซอฟต์แวร์ป้องกันสปายแวร์หรือมัลแวร์ที่มีอยู่ใน Windows และทํางานโดย อัตโนมัติเม่ือเปิดใช้ จะช่วยป้องกันคอมพิวเตอร์จากสปายแวร์และซอฟต์แวร์ หรือจากป็อปอัพ อาการเครื่อง ทํางานช้า และไวรัสหรือสปายแวร์ที่คุกคามระบบความปลอดภัย ซึ่งอาจอยู่ในคอมพิวเตอร์โดยท่ีเราไม่รู้: มัลแวรน์ นั้ อาจตดิ ตง้ั ตวั เองจากอีเมล เมอื่ คณุ เชือ่ มต่อกับอนิ เทอร์เนต็ หรือเม่ือคณุ ติดตัง้ โปรแกรมบางอย่างโดย ใชแ้ ฟลชไดรฟ์ USB, ซดี ี, ดวี ดี ี วธิ กี ารเรยี กใชง้ านโปรแกรม Window defense 1. เขา้ ปมุ่ Search แลว้ พิมพค์ ําว่า Windows Defender 2. ในแท็ป home ให้คลกิ เลือกรปู แบบการสแกน ซ่ึงมีหลายตวั เลอื ก เลือกตวั ใดตัวหน่ึง  Quick = ตรวจไวรัสเรง่ ดว่ น  Full = ตรวจไวรัสทัง้ เคร่ืองคอมพวิ เตอรข์ องคุณ  Custom = ตรวจไวรัสตามท่ีอย่โู ฟลเดอร์ หรือไดร์ว ทค่ี ณุ กาํ หนด 3. เมื่อเลือกเสร็จแล้ว ก็คลิก scan now เพื่อเริ่มทําการตรวจไวรัส สามารถสังเกตแถบสีด้านบนถึง สถานะของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ถ้าเป็นสีเขียวหมายถึงไม่มีมัลแวร์ทํางานอยู่ ถ้าเป็นสีเหลือง หมายถงึ พบมลั แวร์ทํางาน แตถ่ า้ เปน็ สแี ดงหมายถงึ พบมลั แวร์ไวรสั ในเครอื่ ง

11    Restore windows Restore windows เปน็ โปรแกรมทใี่ ช้ในการเรียกคืนสภาพวนิ โดรใ์ นขณะที่ยงั มสี ภพการใชง้ านทป่ี กติ กลบั คนื มา จากทีเ่ ครื่องมปี ญั หาและไมส่ ามารถใช้งานวินโดร์ไดต้ ามปกติ วธิ ีการเรียกใชง้ านโปรแกรม Restore windows ตอนทโ่ี ปรแกรมวินโดวใ์ นคอมพวิ เตอรข์ องเรายังใช้งานได้ดี กใ็ ห้เราบันทกึ คา่ เก็บเอาไว้ หากโปรแกรม วินโดว์เกดิ รวนขึ้นมาสามารถทจ่ี ะย้อนกลบั ไป ณ วนั ทีเ่ ราบันทึกค่าเอาไวไ้ ด้เคร่ืองจะกลบั มาทาํ งานได้เหมอื น ตอนทีเ่ ราบันทึก 1. คลกิ ที่ป่มุ Start > Programs > Accessories > System Tools > System Restore 2. คลกิ เลือก Create a restore point. และคลกิ ปมุ่ Next 3. ตัง้ ช่อื แล้วคลิกปุ่ม Create เคร่อื งจะแสดงวนั เวลาท่ีไดท้ าํ การจดจาํ ความสมบรณู ข์ องเครื่องเอาไว้ 4. คลิกทป่ี ุ่ม Close เมอ่ื โปรแกรมวนิ โดวร์ วน กส็ ามารถทจี่ ะยอ้ นไปยงั วนั ท่เี ราตั้งค่าเอาไว้ได้ โดยมขี ้ันตอนดังน้ี 1. คลกิ ท่ปี ุม่ Start > Programs > Accessories > System Tools > System Restore 2. คลกิ เลอื กที่ Restore my computer to an earlier time เสร็จแล้วกค็ ลิกปมุ่ Next 3. คลิกเลอื กวนั เวลาทีเ่ ราได้ต้ังค่าเอาไว้ (วันท่ีที่เราตอ้ งการยอ้ นกลบั ) และ คลกิ ปุ่ม Next 4. โปรแกรมจะยืนยันการย้อนกลับไปยังวันเวลาที่เราต้องการ เรียบร้อยแล้วให้คลิกปุ่ม Next จากน้ัน ระบบจะทําการยอ้ นกลับไปยงั วนั เวลาทเี่ ราได้เลือกเอาไว้และ Restart

12    Antivirus program antivirus program คือ โปรแกรมประเภทหน่ึงท่ีช่วยป้องกัน ตรวจหา และกําจัดไวรัสก่อนที่ไวรัสนั้นจะ เขา้ มาทําลายโปรแกรมหรือข้อมูลในเครื่อง คอมพวิ เตอร์ มหี น้าทก่ี ารทาํ งาน 2 ลกั ษณะ คอื ระบุช่ือของไวรัสท่ี รู้จกั และตรวจสอบผลของการทําลายจากไวรสั ในแฟ้มต่างๆ เพม่ิ เติม  จากคาํ ถาม “กรณีท่ี เสยี บแฟลขไดร์ฟแลว้ ไม่สามารถมองเห็นไฟล์ดา้ นในได้ ทั้งๆทีข่ ้อมูลยงั มอี ยู”่ สามารถแก้ไขปัญหาเบ้อื งตน้ ไดด้ งั นี้ a. กดป่มุ windows ด้านล่างซ้ายมอื ,ในชอ่ ง search พมิ พ์ “ cmd ” เพอื่ เปดิ กล่อง คอม มานด์ b. พิมพช์ ่อื ไดร์ฟแล้วตามดว้ ย : เช่น (F:, G:). c. พิมพค์ ําสั่ง attrib *.* -s -h -a -r /s /d (เสร็จแลว้ กด enter) d. รอคําสั่งทํางาน e. กลบั ไปดทู ี่ แฟลชไดร์ฟ จะมี โฟลเดอร์ เพ่ิมขน้ึ มาอีก 2 โฟลเดอร์ ใหเ้ ลอื ก(ดับเบิ้ลคลิก) ไปท่ี โฟลเดอร์ที่ไมม่ ีช่ือ f. จะพบขอ้ มลู ทถ่ี กู ซอ่ นไว้ในนน้ั g. ใหร้ บี ทาํ การ Backup ขอ้ มูล แลว้ ทํา format ไดรท์ ้ิง