Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ม.3

รายงานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ม.3

Published by นฤมล อึ้งเจริญ, 2022-06-29 02:35:07

Description: รายงานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ม.3

Search

Read the Text Version

ก คำนำ รายงานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 ของสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรสาครฉบับนี้ จัดทำข้ึน จากข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) โดยสถาบันทดสอบ ทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ซ่งึ จำแนกขอ้ มูลเปน็ คณุ ภาพการศึกษาระดับประเทศ ระดบั ภาค ระดับสังกัด (สพฐ.) ระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับสหวิทยาเขต และระดับ สถานศึกษา ตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้หลัก 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ในชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ข้อมลู พ้ืนฐาน ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ขอขอบคุณคณะคุณครู ผู้บริหาร สถานศึกษาและผเู้ กย่ี วขอ้ งทุกทา่ นท่ีไดช้ ว่ ยกนั พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นเป็นอย่างดยี งิ่ หวงั เปน็ อยา่ งยิง่ วา่ เอกสารฉบบั นี้จะเป็นประโยชนต์ ่อผทู้ ี่มหี นา้ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การจัดการศึกษาทกุ ระดบั เพื่อใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อไป (นายชาติชาย ขันทำ) ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสมทุ รสาคร

ข สารบัญ หน้า คำนำ...................................................................................................................................... ก สารบญั .................................................................................................................................. ข สารบญั ตาราง........................................................................................................................ ง บทที่ 1 บทนำ………………………………………………………………………………………………………….. 1 เหตผุ ลและความสำคัญ..........................………………………………………………………….…….. 1 วตั ถปุ ระสงค.์ .....................…………………………………………………………………………..………. 1 ขอบเขตการประเมนิ ........................................................................................................ 2 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ ับ............................................................................................... 2 นยิ ามศัพท์เฉพาะ............................................................................................................. 3 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง........................………………………………………….………………………. 4 มาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาต.ิ ............................................................... 4 แนวปฏิบตั ิเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ O-NET ปกี ารศกึ ษา 2564........................ 5 ระเบียบวา่ ด้วยการดำเนินการทดสอบ พ.ศ.2557......................................................... 6 เครอื่ งมือทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน................................................... 6 บทที่ 3 การดำเนนิ การ.............................…………………………………………….……………………… 12 ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน................................................................................................. 12 เครือ่ งมอื ..................................................................................................................... 13 กล่มุ เป้าหมาย.............................................................................................................. 13 แนวทางการดำเนินงาน............................................................................................... 13 การเกบ็ รวบรวม.......................................................................................................... 14 การตรวจและวิเคราะห์ขอ้ มูล...................................................................................... 14 สถติ ิท่ีใช้ในการวเิ คราะห.์ ............................................................................................ 14 บทที่ 4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน..................................................... 15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน(O-NET) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั ประเทศ ระดบั สังกดั ระดบั จงั หวดั และระดับเขตพ้นื ที่........ 15 การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 กับ 2563 ระดบั ประเทศ ระดับสังกัด ระดับจงั หวัด และระดบั เขตพ้นื ท.่ี ............................................................................... 16 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน(O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 256ภ จำแนกตามมาตรฐานการเรยี นร.ู้ ................................................... 17 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐาน(O-NET) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 จำแนกตามสาระการเรียนร.ู้ ............................................................. 20

ค สารบัญ (ต่อ) หน้า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน(O-NET) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2564 จำแนกรายโรงเรยี น........................................................................... 22 เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2564 กบั 2563…………………………………………………. 24 บทท่ี 5 สรปุ อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ…………………………………….……………………………….. 29 สรปุ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ.................................................................... 29 อภิปรายผล...................................................................................................................... 33 ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย................................................................................................. 34 ข้อเสนอแนะสำหรบั คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน................................................ 34 ขอ้ เสนอแนะสำหรบั สถานศกึ ษา.................................................................................... 36 การนำผลการประเมินไปใช้............................................................................................. 36 ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………… 39 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)....................................... 47 ผูจ้ ดั ทำ................................................................................................................................. 48

ง สารบญั ตาราง หนา้ ตารางที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ชัน้ มัธยมศึกษาท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ประเทศ ระดบั สงั กัด ระดบั ภาค 15 ระดับจงั หวัด และระดับเขตพน้ื ท่ี .......................................................................... ตารางท่ี 2 เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศึกษาที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 กบั 2563 ระดับประเทศ ระดับสังกดั ระดบั ภาค ระดับจงั หวดั และระดบั เขตพ้นื ที่ ......................................................... 16 ตารางที่ 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย จำแนกตามมาตรฐาน การเรียนรู.้ .............................................................................................................. 17 ตารางที่ 4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) จำแนกตามมาตรฐานการเรยี นร.ู้ ............................................................................ 17 ตารางท่ี 5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ จำแนกตามมาตรฐาน การเรียนร.ู้ .............................................................................................................. 18 ตารางท่ี 6 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ จำแนกตามมาตรฐาน การเรยี นรู้............................................................................................................... 19 ตารางท่ี 7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาที่ 3 ปีการศกึ ษา 2564 กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย จำแนกตามสาระการเรียนร้.ู .... 20 ตารางท่ี 8 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) จำแนกตามสาระการเรยี นรู.้ .................................................................................. 20 ตารางท่ี 9 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ชัน้ มัธยมศกึ ษาที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ จำแนกตามสาระการเรียนร.ู้ 21 ตารางท่ี 10 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศึกษา ท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ จำแนกตามสาระ การเรียนร.ู้ ............................................................................................................. 22 ตารางท่ี 11 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษา ที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 จำแนกรายโรงเรียน........................................................ 22 ตารางที่ 12 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 กบั 2563............................................ 24

บทท่ี 1 บทนำ เหตุผลและความสำคญั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดให้มีการวัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนไว้ 3 ระดบั คือ ระดบั ชนั้ เรยี น ระดับสถานศกึ ษา และระดบั ชาติ ทั้งน้ีเพ่ือเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับ ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพของผู้เรียน โดยในการวัดผล และประเมินผลระดับชั้นเรียนนั้นถือเป็นหน้าที่ของครูผู้สอนที่จะต้องหาคำตอบว่าผู้เรียน มีความก้าวหน้า ทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ อันเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมากน้อยเพียงใด ส่วนการประเมินผลระดับ สถานศึกษา รวมถึงระดับชาตินั้น ทำการประเมินผลเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าด้านการเรียนรู้ ของผ้เู รียนทุกคนทเ่ี รยี นในชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี 3 และชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยมีการดำเนินการประเมินผลระดบั สถานศึกษาจากหลายหน่วยงาน เช่น สำนัก ทดสอบทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบันทดสอบทาง การศึกษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) จำกัด หรือ สทศ. เป็นต้น สำหรับการประเมินผลท่ีจัดขึน้ โดย สทศ.นั้น ได้จัดสอบทีเ่ รยี กว่า“การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Test)” หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า O-NET ซึ่งถือว่าเป็นการทดสอบความรู้ทางการศึกษา ระดับชาติข้นั พื้นฐานท่สี นองรบั นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ได้กำหนดให้มกี ารทดสอบผลการ เรียนรรู้ วบยอดระดับชาติ ของกระบวนการจัดการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Test) สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) ดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ในปีการศกึ ษา 2564 โดยผลการประเมินในแต่ละระดับโรงเรียนสามารถ นำมาพิจารณาเปรียบเทียบความก้าวหน้าของนกั เรียนเป็นรายบุคคล และผลการประเมินจะเป็นตัว บง่ ช้ีคณุ ภาพการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานในภาพรวม อีกท้ังใช้เปน็ ข้อมูลประกอบการตดั สนิ ใจในการกำหนด นโยบาย วางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับสถานศึกษา เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลสำคัญในการปรับปรุง เพื่อการพัฒนาตนเองของผู้เรียนและการบริหาร จดั การศึกษาต่อไป วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อทดสอบความรู้และความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 2. เพื่อนำผลการทดสอบไปใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการจบการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 3. เพ่อื นำผลการสอบไปใชใ้ นการปรบั ปรุงคณุ ภาพการเรียนการสอนของโรงเรยี น

2 4. เพื่อใหไ้ ดข้ ้อมูลย้อนกลับสำหรับใชใ้ นกระบวนการตัดสินใจและกำหนดแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศ เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา เพื่อให้เกิดการ พฒั นา อยา่ งต่อเนอ่ื ง ขอบเขตการประเมิน ขอบเขตของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 ครงั้ นใี้ ชน้ กั เรยี นทีป่ ระสงคเ์ ข้ารับการทดสอบ ดังนี้ 1. ประชากร ไดแ้ ก่ นักเรียนที่ประสงค์เขา้ รบั การทดสอบในระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 2. ตัวแปรที่ศกึ ษา ได้แก่ คะแนนเฉลี่ยรายวิชาของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) และวทิ ยาศาสตร์ หน่วยงานตน้ สงั กดั ของนักเรยี นทส่ี อบ O-NET ในปีการศึกษา 2564 สทศ.จัดสอบ O-NET ให้กับนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ท้งั หมด 4 กระทรวง/เทียบเทา่ 9 หนว่ ยงาน ดงั นี้ 1. สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 2. สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน 3. สำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา (โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลยั ) 4. สถาบนั การพลศกึ ษา 5. กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ 6. สำนกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ (โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม) 7. กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น (โรงเรียนเทศบาล, โรงเรยี นองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั , โรงเรียนองค์การบรหิ ารสว่ นตำบล) 8. สำนกั การศึกษากรุงเทพมหานคร 9. สำนักการศกึ ษาเมอื งพทั ยา ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รบั 1. โรงเรียนในสงั กัดได้ทราบจดุ เด่น จุดด้อย และคุณภาพผเู้ รียนของตนเอง สำหรับใช้เป็น ข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 2. สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ได้ทราบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และคุณภาพผู้เรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรูท้ ่ีจดั สอบ ทั้งรายโรงเรยี น และภาพรวมของเขต พ้นื ที่ สำหรับใช้เปน็ ข้อมลู ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

3 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พนื้ ฐาน (Ordinary National EducationalTest : O-NET) หมายถึง การประเมนิ คุณภาพผเู้ รียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มัธยมศึกษาปที ่ี 3 และ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ทั่วประเทศ ซึ่งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็น หน่วยงาน ที่ดำเนินการจัดสอบผู้เรียน โดยประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนต าม มาตรฐานและตัวชี้วัด ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใน 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ กลุ่ม สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับประเทศ หมายถึง ผลการทดสอบของผู้เรียน ในสถานศึกษาจากสังกัดต่างๆ ทั่วประเทศ ท่ีเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ประกอบด้วย สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน (สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานการศึกษาเมืองพัทยา (พัทยา) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร (สนศ.กทม.) กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น (สถ.) มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ (มกช.) สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) กองบัญชาการตำรวจตะเวนชายแดน (ตชด.) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว (โฮมสคูล) สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.) กรมยุทธศึกษาทหารบก (ยศ.ทบ.) ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา หมายถึง ผลการทดสอบ ของผู้เรยี นในสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสมทุ รสาคร

บทที่ 2 เอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ ง การบริหารการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(Ordinary National Education Test : O-NET) เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ปีการศึกษา 2564 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร มีเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการสอบ ดังน้ี 1. มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติขัน้ พ้นื ฐาน 2. แนวปฏบิ ัติเพ่ือความโปร่งใสในการจดั สอบ O-NET ปกี ารศกึ ษา 2564 3. ภารกิจระดบั สนามสอบ 4. ระเบยี บว่าดว้ ยการดำเนินการทดสอบ พ.ศ.2557 5. เครอ่ื งมอื ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน 1. มาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กำหนดมาตรฐานการทดสอบ แห่งชาติขึ้นครอบคลมุ โครงสรา้ ง และการดำเนินงานของ สทศ. และสามารถนำไปสู่การปฏบิ ตั ิเพือ่ ให้ เกิดผลเปน็ รูปธรรมได้ โดยมาตรฐาน ประกอบด้วย 5 ดา้ น ดังนี้ 1. มาตรฐานการบริหารการทดสอบ เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่าระบบ การบริหารการทดสอบ มีความชัดเจนสามารถปฏิบัติได้จริง มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ ในระดับชาติ และระดับนานาชาติ 2. มาตรฐานบุคลากรด้านการทดสอบ เป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพว่าบุคลากร ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการทดสอบ มคี ณุ ภาพ คุณสมบัติ และหน้าท่ี เทยี บตามมาตรฐานสากล 3. มาตรฐานการพฒั นาแบบทดสอบ เป็นมาตรฐานเพ่อื การประกันคุณภาพว่าแบบทดสอบท่ี ใชใ้ นการวดั และประเมิน มกี ารพฒั นาอย่างมีระบบ มขี ั้นตอนการดำเนินการทเ่ี ป็นมาตรฐานเชือ่ ถอื ได้ มสี ารสนเทศเชิงประจกั ษ์ เปน็ แบบทดสอบทมี่ ีคณุ ภาพดา้ นความตรง ความเที่ยง และมีความยุตธิ รรม 4. มาตรฐานการพิมพ์การรับสง่ การตรวจและการประมวลผล เป็นมาตรฐานเพือ่ การประกนั คุณภาพว่าระบบการพิมพ์แบบทดสอบ และกระดาษคำตอบ มีการควบคุม และกำกับการ ดำเนินงานอย่างมีขั้นตอนที่ชัดเจน มีมาตรการด้านความปลอดภัย และมีการเก็บรักษา ความลับ อย่างรัดกมุ มีกระบวนการตรวจให้คะแนนที่ถูกต้อง มีระบบชัดเจนสามารถตรวจสอบความ ผิดพลาดได้ มีการรายงานผลด้วยคะแนนท่มี ีความหมาย มีการแปลคะแนนอย่างเหมาะสม เทียบเคียง กับผลการทดสอบแตล่ ะปี 5. มาตรฐานการรายงานผลและการนำผลไปใช้ เป็นมาตรฐานเพื่อการประกนั คณุ ภาพวา่ การ รายงานผลและการนำผลไปใชม้ คี วามถูกตอ้ ง เหมาะสมและเปน็ ธรรม

5 2. แนวปฏบิ ัติเพือ่ ความโปร่งใสในการจัดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2564 1. การจัดสนามสอบ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 จัดสนามสอบโดยกำหนดใหท้ ุกโรงเรยี นทส่ี มคั ร สอบเปน็ กล่มุ อำเภอ 2. การแตง่ ตงั้ ตัวแทนศนู ย์สอบไปประจำทสี่ นามสอบ ศนู ย์สอบพจิ ารณาแตง่ ตั้งตัวแทนศูนย์ สอบ ไปประจำที่สนามสอบ โดยศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งจากบุคลากรภายในศูนย์สอบ/ ครูต่างโรงเรียนที่มีคุณสมบัติเหมาะสมหรือจากหน่วยงานอื่นๆตามความเหมาะสม ในอัตรา 2 คน/ สนามสอบ เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลความเรียบร้อยภายในสนามสอบและทำหน้าที่ในการรับ-ส่ง แบบทดสอบและกระดาษคำตอบ 3. การแต่งตั้งตัวแทน สทศ.ประจำสนามสอบ ในวันสอบจะมีบุคลากร ครู อาจารย์และ นักศึกษาระดับปริญญาเอก โท ตรี หรือนิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ และ มหาวิทยาลัยของรัฐ เข้าสังเกตการปฏิบัติงานของสนามสอบ และรายงานผลให้สถาบันทดสอบฯ ทราบ 4. การแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ศูนย์สอบแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนาม สอบ ตำแหน่งหัวหน้าสนามสอบ กรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ จากต่างโรงเรียนท่เี ปน็ สนาม สอบ 5. การรับ-ส่งกล่องแบบทดสอบ และกล่องกระดาษคำตอบ เมื่อศูนย์สอบได้รับกล่อง แบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบจาก สทศ. ศูนย์สอบต้องเก็บรักษากล่องแบบทดสอบ และ กล่องกระดาษคำตอบในห้องมั่นคงหรือห้องที่ปิดมิดชิด มีผู้ที่คอยดูแลตลอดเวลาก่อนส่งมอบให้ ตวั แทนศนู ยส์ อบนำกลอ่ งบรรจแุ บบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบไปสง่ มอบให้ สนามสอบในตอน เชา้ วนั สอบ หลังจากเสรจ็ ส้ินการสอบในแต่ละวนั ให้ตวั แทนศนู ย์สอบเป็นผ้รู ับผดิ ชอบนำกล่องบรรจุ ซองกระดาษคำตอบ เพ่อื สง่ กลบั สทศ. พร้อมเอกสารประกอบการสอบสง่ มอบใหศ้ นู ยส์ อบหลังเสร็จ สิน้ การสอบ 6. กล่องบรรจุแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบ กล่องบรรจุแบบทดสอบตอ้ งปิดแนน่ หนา แลว้ ปดิ ทบั ดว้ ยเทปกาวเฉพาะของ สทศ. และมัดด้วยสายรดั เฉพาะของ สทศ. โดย สทศ.อนุญาตใหห้ วั หน้า สนามสอบเปิดกลอ่ งบรรจแุ บบทดสอบได้ไมเ่ กนิ 1 ชว่ั โมง ก่อนถึงเวลา สอบ ต่อหนา้ กรรมการกลางและตัวแทนศูนย์สอบ 7. จำนวนชดุ ข้อสอบทใ่ี ชข้ ้อสอบแตล่ ะวิชา มจี ำนวน 6 ชุด ในแตล่ ะชุดจะมกี ารจัดเรยี งลำดบั ข้อที่แตกต่างกนั โดย สทศ. ได้จัดสลับชุดข้อสอบไว้เป็นท่ีเรียบรอ้ ยแล้ว กรรมการคุมสอบตอ้ งแจก แบบทดสอบเป็นรูปตวั U ตามที่ สทศ.กำหนด 8. การตดิ ตามการบริหารการทดสอบ สทศ.ร่วมมอื กับหนว่ ยงานต้นสงั กดั ในการติดตามการ บริหารการทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ โดยคณะทำงานจะ เข้าตรวจ เยย่ี มศนู ย์สอบและสนามสอบ ในช่วงก่อนวนั สอบ วันสอบและหลังวันสอบ 9. การรับแจง้ เรื่องร้องเรียนเรื่องความไม่โปร่งใสในการสอบ สทศ.เปิดช่องทางรบั แจง้ เรื่อง รอ้ งเรียนกรณีพบในความไมโ่ ปรง่ ใสในการสอบ 4 ช่องทาง คือ สายตรงผบู้ ริหาร จดหมาย E-mail:testing@ niets.or.th และ call center 0-2217-3800

6 10. ระเบยี บ สทศ. ว่าด้วยแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกบั การดำเนินการทดสอบ พ.ศ. 2557 สทศ. ขอใหบ้ คุ ลากรประจำสนามสอบปฏิบัตติ ามระเบยี บของ สทศ.วา่ ดว้ ยแนวทางปฏิบตั ิเกยี่ วกับ 3. ระเบยี บว่าดว้ ยการดำเนินการทดสอบ พ.ศ.2557 สทศ.ได้ออกระเบียบสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติว่าด้วยแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ การดำเนินการทดสอบ พ.ศ.2557 เพื่อให้การทดสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นมาตรฐาน เดียวกันในทุกสนามสอบ โดย สทศ.ได้ส่งระเบียบ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อบังคับใช้ให้ รบั ทราบโดยท่วั กนั กรณีที่กรรมการคมุ สอบฝา่ ฝนื ขอ้ ปฏิบตั ิ 1. ข้นึ บัญชรี ายชอ่ื ผูก้ ระทำเป็นบคุ คลท่ไี ม่สมควรได้รบั การแตง่ ตง้ั เป็นกรรมการประจำสนาม สอบ หรือกรรมการคุมสอบ และแจ้งไปยงั ศูนย์สอบ 2. แจง้ ไปยงั หน่วยงานต้นสงั กัดหรือผู้บงั คับบญั ชาของผกู้ ระทำ เพือ่ ดำเนินการทางวินยั 3. พจิ ารณาดำเนินการฟอ้ งรอ้ ง หรอื ดำเนินคดีตามกฎหมาย ในกรณที ี่เกิดความเสยี หายอยา่ ง หน่งึ อยา่ งใด แก่ สทศ. หรือระบบการทดสอบ กรณที ีผ่ ูเ้ ขา้ สอบฝ่าฝนื ข้อปฏบิ ตั ิ 1. ไม่ประกาศผลสอบในรายวิชาน้ัน ๆ หรือ ทกุ รายวชิ า 2. แจ้งไปยังสถานศกึ ษาของผเู้ ข้าสอบทฝ่ี ่าฝนื ขอ้ กำหนด เพอื่ ดำเนนิ การทางวินยั 3. แจ้งพฤติการณ์การฝ่าฝืนไปยังสถาบันอุดมศึกษา หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือ พิจารณาประกอบการรบั เข้าศึกษาหรือรบั เข้าทำงาน 4. พิจารณาดำเนินการฟ้องร้อง หรือดำเนินคดีตามกฎหมาย ในกรณีที่เกิดความเสียหาย อย่างหน่ึงอย่างใดแก่ สทศ. หรือระบบการทดสอบ 4. เคร่อื งมอื ทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน เครื่องมอื ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 ระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ใช้ข้อสอบจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) โดยมี ลักษณะโครงสร้างของแบบทดสอบดังนี้ 4.1 โครงสรา้ งเคร่อื งมอื ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 6.1.1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย จำนวนขอ้ สอบ 30 ข้อ ประกอบดว้ ยรปู แบบข้อสอบ 3 รูปแบบ ดังน้ี 1. รปู แบบปรนยั 4 ตวั เลือก 1 คำตอบ จำนวน 25 ข้อ (ข้อละ 2.36 คะแนน) รวม 59 คะแนน 2. รปู แบบปรนัย 5 ตัวเลอื ก 2 คำตอบ จำนวน 4 ข้อ (ขอ้ ละ 2.75 คะแนน) รวม 11 คะแนน

7 3. รูปแบบอตั นัยเขยี นตอบ 1 ข้อ 30 คะแนน สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 สาระที่ 1 การอา่ น จำนวนขอ้ คะแนน มาตรฐาน ท 1.1 9 21.24 สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 (ปรนยั ) 7 16.52 มาตรฐาน ท 2.1 (อตั นยั ) 1 30 สาระท่ี 3 การฟงั การดูและการพูด 4 9.44 มาตรฐาน ท 3.1 6 15.72 สาระที่ 4 หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 3 7.08 30 100 สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 90 นาที รวม จำนวนเวลาทีใ่ ชส้ อบ 6.1.2 กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) จำนวนขอ้ สอบ 32 ข้อ ประกอบดว้ ยรปู แบบขอ้ สอบ 1 รูปแบบ ดังนี้ 1. รปู แบบปรนัย 4 ตวั เลอื ก 1 คำตอบ จำนวน 32 ขอ้ (ข้อละ 3.125 คะแนน) สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 จำนวนข้อ คะแนน สาระที่ 1 ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร มาตรฐาน ต 1.1 12 25 มาตรฐาน ต 1.2 7 25 มาตรฐาน ต 1.3 7 31.25 สาระท่ี 2 ภาษาและวฒั นธรรม 2 6.25 มาตรฐาน ต 2.1 4 12.50 มาตรฐาน ต 2.2 32 100 รวม จำนวนเวลาที่ใชส้ อบ 90 นาที หมายเหตุ 1. มาตรฐาน ต 2.1 ตัวชี้วดั ม.3/1 เป็นตวั ช้วี ดั ร่วมของมาตรฐาน ต 1.2 ตัวชว้ี ัด 1,2,3,4และ5 2. มาตรฐาน ต 2.1 ตวั ชวี้ ดั ม.3/2 เป็นตวั ชวี้ ดั ร่วมของมาตรฐาน ต 1.1 ตัวชี้วัด 4

8 3. มาตรฐาน ต 2.2 ตวั ช้ีวัด ม.3/1 เป็นตัวชี้วดั ร่วมของมาตรฐาน ต 1.2 ตัวชว้ี ดั 1, 2, 3, 4 และ 5 และมาตรฐาน ต 1.3 ตวั ชี้วดั 1, 2, และ 3 4. มาตรฐาน ต 2.2 ตวั ชว้ี ัด ม.3/2 เป็นตวั ชวี้ ดั ร่วมของมาตรฐาน ต 1.1 ตวั ช้วี ดั 4 6.1.3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จำนวนขอ้ สอบ 16 ขอ้ ประกอบด้วยรปู แบบข้อสอบ 2 รปู แบบ ดงั นี้ 1. รูปแบบปรนัย 4 ตัวเลอื ก 1 คำตอบ จำนวน 16 ขอ้ (ขอ้ ละ 4.75 คะแนน) รวม 76 คะแนน 2. รปู แบบระบายตวั เลขทเ่ี ปน็ คำตอบ จำนวน 4 ข้อ (ขอ้ ละ 6 คะแนน) รวม 24 คะแนน สาระ/มาตรฐานการเรยี นรู้ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 จำนวนข้อ คะแนน สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนนิ การ มาตรฐาน ค 1.1 (ปรนัย) 2 9.50 มาตรฐาน ค 1.1 (ระบายตวั เลข) 16 มาตรฐาน ค 1.2 2 9.50 มาตรฐาน ค 1.3 (ปรนยั ) 4 19 มาตรฐาน ค 1.3 (ระบายตัวเลข) 16 สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณติ 2 9.50 มาตรฐาน ค 2.1 4 19 มาตรฐาน ค 2.2 (ปรนยั ) 16 มาตรฐาน ค 2.2 (ระบายตัวเลข) 1 4.75 สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น 16 มาตรฐาน ค 3.1 (ปรนัย) 1 4.75 มาตรฐาน ค 3.1 (ระบายตวั เลข) 20 100 มาตรฐาน ค 3.2 รวม 90 นาที จำนวนเวลาท่ีใช้สอบ 6.1.4 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ จำนวนขอ้ สอบ 35 ขอ้ ประกอบดว้ ยรปู แบบขอ้ สอบ 2 รูปแบบ ดังน้ี 1. รปู แบบปรนัย 4 ตัวเลือก 1 คำตอบ จำนวน 32 ขอ้ (ข้อละ 2.75 คะแนน) รวม 88 คะแนน 2. รปู แบบเลือกตอบเชงิ ซอ้ น จำนวน 3 ข้อ (ขอ้ ละ 4 คะแนน) รวม 12 คะแนน

9 สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ขอ้ คะแนน สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 1 2.75 มาตรฐาน ว 1.2 5 13.75 มาตรฐาน ว 1.3 (อัตนยั ) 2 5.50 มาตรฐาน ว 1.3 (เลอื กตอบเชิงซ้อน) 14 สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ 5 13.75 มาตรฐาน ว 2.1 5 13.75 มาตรฐาน ว 2.2 4 11 มาตรฐาน ว 2.3 (อตั นยั ) 14 มาตรฐาน ว 2.3 (เลอื กตอบเชิงซ้อน) 2 5.50 สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์ โลก และอวกาศ 4 11 มาตรฐาน ว 3.1 14 มาตรฐาน ว 3.2 (อัตนัย) มาตรฐาน ว 3.2 (เลอื กตอบเชิงซ้อน) 2 5.50 2 5.50 สาระที่ 4 เทคโนโลยี 35 100 มาตรฐาน ว 4.1 มาตรฐาน ว 4.2 90 นาที รวม จำนวนเวลาทใี่ ชส้ อบ หมายเหตุ 1. การวดั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษธแหง่ ศตวรรษที่ 21 มแี ทรกอยูใ่ นสาระท่ี 1-4 2. ข้อสอบบางข้อมีการบูรณาการตวั ชวี้ ดั คุณภาพผู้เรียน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 - ตั้งคำถามหรอื กำหนดปญั หาทีเ่ ชื่อมโยงกบั พยานหลกั ฐาน หรอื หลักการทางวทิ ยาศาสตร์ที่ มีการกำหนดและควบคมุ ตวั แปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสามารถ นำไปส่กู ารสำรวจตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใชว้ ัสดุและเคร่อื งมอื ทเี่ หมาะสม เลอื กใช้เครื่องมือและเทคโนโลยสี ารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลทัง้ ในเชิงปรมิ าณและ คณุ ภาพที่ไดผ้ ลเท่ียงตรงและปลอดภยั - วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบจาก พยานหลักฐาน โดยใชค้ วามรู้และหลกั การทางวิทยาศาสตรใ์ นการแปลความหมายและลงข้อสรปุ และสื่อสารความคิด ความรู้ จากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจได้อยา่ งเหมาะสม

10 - แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้มีความคิด สร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธกี ารที่ใหไ้ ด้ผล ถกู ต้อง เชื่อถือได้ ศึกษาคน้ คว้าเพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคดิ เหน็ ของตนเอง รับฟัง ความคิดเห็นผู้อื่น และยอมรับการเปลีย่ นแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่ เพิม่ ข้ึนหรือโต้แย้งจากเดมิ - ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใชใ้ นชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้ และกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชพี แสดงความชนื่ ชม ยกย่อง และเคารพสิทธใิ นผลงานของผ้คู ิดคน้ เขา้ ใจผลกระทบทัง้ ดา้ นบวกและดา้ น ลบของการพฒั นาทางวิทยาศาสตรต์ อ่ สงิ่ แวดล้อมและต่อบริบทอ่นื ๆ และศกึ ษาหาความรู้เพ่ิมเติม ทำ โครงงานหรือสร้างช้ินงานตามความสนใจ - แสดงถงึ ความซาบซ้งึ หว่ งใย มพี ฤติกรรมเกยี่ วกับการดูแลรักษาความสมดลุ ของระบบนเิ วศ และความหลากหลายทางชวี ภาพ 6.2 จำนวนขอ้ สอบ จำแนกตามรปู แบบของข้อสอบทใ่ี ช้ในการสอบ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 รายการ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 1. รูปแบบขอ้ สอบ ข้อ คะแนน ขอ้ คะแนน ขอ้ คะแนน ข้อ คะแนน 1.1 ปรนยั 4 ตัวเลอื ก 1 คำตอบ 1.2 ปรนยั 4 ตวั เลือก 2 คำตอบ 25 59 32 100 16 76 32 88 1.3 ปรนยั 5 ตวั เลอื ก 1 คำตอบ 1.4 ปรนยั 5 ตวั เลือก 2 คำตอบ 4 11 - - - - - - 1.5 ปรนยั หลายตวั เลอื ก 1 คำตอบ - - - - - - 3 12 1.6 ปรนยั หลายตวั เลือกมากกวา่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 1 คำตอบ/เลอื กตอบเชงิ ซอ้ น ข้อ คะแนน ข้อ คะแนน ขอ้ คะแนน ขอ้ คะแนน 1.7 เลอื กคำตอบจากแตล่ ะหมวด -- -- 4 24 -- ที่สัมพนั ธ์กนั 1 30 -- -- -- 30 100 32 100 16 100 35 100 รายการ 90 นาที 90 นาที 90 นาที 90 นาที 1.8 ระบายคำตอบทเี่ ป็นคา่ /ตัวเลข 1.9 อตั นัย รวมจำนวนขอ้ สอบ 2. จำนวนเวลาทใี่ ชส้ อบ

11 ตารางการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2564 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 วัน เดอื น ปี เวลาสอบ รหสั วชิ า วชิ าท่ีสอบ เวลาสอบ หมายเหตุ 08.-0-10.00 น. 94 คณติ ศาสตร์ 90 นาที วนั อาทิตย์ที่ พกั 30 นาที 13 กมุ ภาพันธ์ 10.30-12.00 น. 91 ภาษาไทย 90 นาที พัก 60 นาที 2565 13.00-14.30 น. 95 วทิ ยาศาสตร์ 90 นาที พัก 30 นาที 15.00-16.30 น. 93 ภาษาองั กฤษ 90 นาที

บทที่ 3 การดำเนนิ การ การดำเนินการจดั การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน(O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2564 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้จัดให้มีการทดสอบนักเรียนระดับช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ในวนั อาทิตย์ท่ี 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 โดยมีกระบวนการดำเนินงาน ดังนี้ 1. ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน การจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาครได้ดำเนินการตามแผน การดำเนินการจัดสอบของสถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) ดังนี้ 1. ประชาสมั พันธ์การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2564 2. สำรวจข้อมูลจำนวนนกั เรียนโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษา สมุทรสาครที่ประสงค์เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 3. ดำเนนิ การจดั สนามสอบ และจัดห้องสอบ 4. แต่งตั้งคณะทำงานดำเนนิ การจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน(O-NET) ระดับศนู ย์สอบ 5. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับระดับสนามสอบ 6. แต่งตัง้ คณะอนกุ รรมการต่าง ๆ เพอื่ รับผิดชอบการจัดสอบ ไดแ้ ก่ 6.1 คณะอนกุ รรมการตรวจรับ และเกบ็ รักษาแบบทดสอบระดบั ศนู ยส์ อบ 6.2 คณะอนุกรรมการรับ-ส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ 6.3 คณะอนกุ รรมการตรวจเยีย่ มสนามสอบ 7. ประชุมชี้แจงบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการระดับศูนย์สอบและคณะอนุกรรมการฝา่ ย ต่าง ๆ 8. ประชมุ ช้ีแจงบทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการระดับสนามสอบด้วยระบบออนไลน์ 9. กำหนดวันรับเอกสารและอุปกรณก์ ารสอบ แบบทดสอบ และจดั เก็บรักษาไว้ในสถานที่ที่ เหมาะสม เพ่ือเตรยี มพรอ้ มกระจายให้สนามสอบ 10. ดำเนินการจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) นักเรียนระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ในวันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2565 11. กำกับติดตามและตรวจสอบการจดั สอบของสนามสอบให้เกดิ ประสทิ ธิภาพ 12. กำกับสนามสอบให้ส่งกล่องกระดาษคำตอบพร้อมเอกสาร และรายงานผลการจัดสอบ ระดับสนามสอบ ให้ศนู ย์สอบตามกำหนดเวลา

13 13. ส่งมอบกล่องกระดาษคำตอบ บัญชีส่งจำนวนกล่องกระดาษคำตอบ และเอกสารอื่น ๆ จากศนู ย์สอบ ถึงเจ้าหน้าทีส่ ถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาตติ ามกำหนดเวลา 14. ส่งรายงานผลการดำเนินการจัดสอบระดับศนู ยส์ อบ 2. เครื่องมือ ในการดำเนินการจัดสอบสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ใช้ แบบทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ของสถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ท่ีสร้างขึ้นตามหลักวิชาการ มีการหาค่าอำนาจจำแนก ค่าความยากง่าย และค่า ความเชอ่ื มั่น โดยผู้ทรงคณุ วุฒิและผู้เช่ียวชาญในดา้ นการวัดและประเมินผลตามสาขาวชิ าตา่ ง ๆ จึงมี ความน่าเช่อื ถือ เพราะเป็นเคร่ืองมอื ที่มีคณุ ภาพและมาตรฐานท่ีเชอื่ ถือได้ 3. กล่มุ เปา้ หมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 3.1 กำหนดวนั สอบ วันอาทติ ยท์ ่ี 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 3.2 วชิ าทจ่ี ัดสอบ 1. ภาษาไทย 2. ภาษาอังกฤษ 3. คณิตศาสตร์ 4. วทิ ยาศาสตร์ 4. แนวทางการดำเนินงาน 4.1 การจัดสนามสอบ จดั รวมเปน็ อำเภอ จำนวน 4 สนามสอบ 4.2 การแตง่ ต้งั กรรมการระดบั สนามสอบ ประกอบด้วย 1) หัวหน้าสนามสอบ แต่งต้งั จากประธานสหวทิ ยาเขต / ผอู้ ำนวยการตา่ งโรงเรยี น /ผู้ที่ ศนู ย์สอบพจิ ารณาตามความเหมาะสม การแตง่ ตัง้ หัวหนา้ สนามสอบต้องสลับกลุ่มสหวทิ ยาเขต/สนาม สอบ ไม่แต่งตั้งผ้อู ำนวยการโรงเรยี นทเี่ ปน็ สนามสอบเป็นหัวหน้าสนามสอบ 2) กรรมการกลาง ห้องสอบ 4 - 6 ห้องสอบ จำนวน 1 คน /7 ห้องสอบขึ้นไป อัตรา 1 คน : 3 ห้องสอบ 3) กรรมการคุมสอบ อัตรา 2 คน : 1 ห้องสอบ (กรรมการคุมสอบจะต้องมาจากครู ตา่ งสหวทิ ยาเขต และไม่คมุ สอบนกั เรยี นของตนเอง) 4) ตัวแทนศูนย์สอบ แต่งตั้งจากผูอ้ ำนวยการ/ครู ต่างกลุ่มสหวิทยาเขต ใช้อัตรา 1 คน ตอ่ จำนวน 5 หอ้ งสอบ 5) เจ้าหน้าทีพ่ ยาบาล หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ห้องสอบ 1 – 3 ห้องสอบ จำนวน 1 คน/ หอ้ งสอบ 4 ขึน้ ไป จำนวน 2 คน

14 6) นักการ ภารโรง หอ้ งสอบ 2 - 6 หอ้ งสอบ จำนวน 1 คน / 7 ห้องสอบขึน้ ไป อตั รา 1 คน : 5 หอ้ งสอบ 7) เจา้ หนา้ ทีป่ ระชาสมั พันธ์ ห้องสอบ 4 หอ้ งสอบขน้ึ ไป จำนวน 1 คน 4.3 การจดั หอ้ งสอบ หอ้ งสอบ 1 หอ้ ง จะตอ้ งจัดทีน่ ง่ั สอบ 20 ทน่ี ัง่ จำนวน 5 แถว ๆ ละ 4 ตัว ยกเว้น ห้องสอบสดุ ท้าย อนโุ ลมใหจ้ ดั ได้สงู สดุ ไมเ่ กิน 25 ท่นี ัง่ 5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การเก็บรวบรวมข้อมูลผลการทดสอบ ปีการศึกษา 2564 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสมุทรสาครได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ การจัดสอบ 2. คณะกรรมการระดับสนามสอบรบั แบบทดสอบจากศูนย์สอบ ไปดำเนนิ การจัดสอบ ใน เชา้ วนั สอบ 3. คณะกรรมการระดับสนามสอบรวบรวมกระดาษคำตอบสง่ ให้ศนู ย์สอบ 4. ศนู ยส์ อบเก็บรวบรวมขอ้ มลู การจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) 6. การตรวจและวิเคราะหข์ ้อมูล 1. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ดำเนินการตรวจ วิเคราะห์ ข้อมูลและสง่ รายงานผลการสอบรายโรงเรยี น ทางเว็บไซตข์ องสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) 2. สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรสาครสรุป วิเคราะห์ และจัดทำรายงาน พรอ้ มทง้ั ให้ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการสอบไปใช้ท้งั ระดับเขตพน้ื ท่ีการศึกษา และระดับสถานศกึ ษา 7. สถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ปี การศกึ ษา 2564 ใชค้ ะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ

บทที่ 4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสมทุ รสาครได้นำข้อมลู จากการทดสอบนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 มาวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ คะแนนผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ โดยเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลตามลำดบั ดงั น้ี 1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้ นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั ประเทศ ระดบั สังกดั ระดบั ภาค ระดบั จังหวดั และระดับเขตพืน้ ที่ 2. เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET)ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 กับ 2563 3. ผลการทดสอบทางการศึกษาร ะ ดั บ ช า ติ ขั้ น พื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 จำแนกตามมาตรฐานการเรียนรู้ 4. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3ปกี ารศึกษา 2564 จำแนกตามสาระการเรียนรู้ 5. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET)ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 จำแนกรายโรงเรยี น 6. การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)ปีการศึกษา 2564 กบั 2563 จำแนกรายโรงเรยี น ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เป็นดังน้ี 1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั ประเทศ ระดบั สังกัด ระดบั ภาค ระดับจงั หวัด และระดบั เขตพื้นที่ ตาราง 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2564 ระดับประเทศ ระดับสังกดั ระดบั ภาค ระดบั จงั หวัด และระดับเขตพน้ื ที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประเทศ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ เขตพืน้ ท่ี ภาษาไทย 51.19 สงั กัด(สพฐ.) ภาค จังหวดั 53.46 ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) 31.11 52.13 52.61 54.66 28.44 30.79 31.78 29.98 คณิตศาสตร์ 24.47 21.03 วิทยาศาสตร์ 31.45 24.75 24.74 23.25 30.69 34.56 33.41 เฉลีย่ รวม 31.67 31.69 31.40 34.84 35.21 34.82

16 จากตารางที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ระดับประเทศ ระดับสังกัด ระดับภาค ระดับจังหวัดและระดับเขตพื้นท่ี พบว่า เขตพื้นทมี่ ีคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละโดยรวมตำ่ กวา่ ทกุ ระดับ เมื่อพิจารณาเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับเขตพื้นที่ ต่ำกว่าระดับประเทศ ระดับสังกัด(สพฐ.) ระดับสังกัด ระดับภาค และระดับจังหวัด กลุ่มสาระการ เรยี นรู้ภาษาไทย สงู กว่าระดับประเทศ ระดับสงั กัด (สพฐ.) และระดบั ภาค ส่วนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์วทิ ยาศาสตร์ ต่ำกวา่ ทุกระดับ 2. เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2564 กับ 2563 ตารางที่ 2 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พื้นฐาน(O-NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 กับ 2563 กล่มุ สาระ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ การเรียนรู้ ประเทศ สงั กัด (สพฐ.) ภาค จังหวัด เขตพ้ืนท่ี ภาษาไทย 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 ภาษาตา่ งประเทศ 54.29 51.19 55.18 52.13 54.64 52.61 57.46 54.66 56.29 53.46 (อังกฤษ) คณติ ศาสตร์ 34.38 31.11 34.14 30.79 35.19 31.78 35.68 29.98 32.13 28.44 วิทยาศาสตร์ 25.46 24.47 25.82 24.75 25.81 24.74 25.81 23.25 22.69 21.03 เฉลี่ยรวม 29.89 31.45 30.17 31.67 30.12 31.69 31.22 31.40 29.41 30.69 36.01 34.56 36.33 34.84 36.44 35.21 37.54 34.82 35.13 33.41 จากตารางที่ 2 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 กับ 2563 ระดับประเทศ ระดับสังกัด(สพฐ.) ระดับภาค ระดับจังหวัด และระดับเขตพื้นที่ พบว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยรวมของระดับประเทศ ระดับสังกดั (สพฐ.) ระดับภาค ระดบั จังหวดั และระดับเขตพื้นที่ ลดลงจากปกี ารศึกษา 2563 เมื่อพิจารณาเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ของทุกระดับเพมิ่ ข้นึ จากปกี ารศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ) และกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของทุกระดับ ลดลงจากปี การศกึ ษา 2563

17 3. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 จำแนกตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตารางที่ 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2564 กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย จำแนกตามมาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ คะแนนเต็ม ประเทศ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ 52.58 สงั กดั (สพฐ.) เขตพื้นที่ มาตรฐาน ท 1.1 100 47.94 53.51 53.75 มาตรฐาน ท 2.1 100 78.53 48.88 50.88 มาตรฐาน ท 3.1 100 41.37 79.68 80.24 มาตรฐาน ท 4.1 100 52.27 42.03 43.43 มาตรฐาน ท 5.1 100 53.44 55.15 จากตารางที่ 3 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย จำแนกตามมาตรฐานการเรียนรู้ พบว่า คะแนน เฉลี่ยร้อยละระดับเขตพื้นที่ สูงกว่าาระดับประเทศและสังกัด (สพฐ.) ทุกมาตรฐานการเรียนรู้ โดยมี คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละเรียงตามลำดับดังน้ี มาตรฐาน ท 3.1 (80.24) มาตรฐาน ท 5.1 (55.15) มาตรฐาน ท 1.1 (53.75) มาตรฐาน ท 2.1 (50.88) และมาตรฐาน ท 4.1 (43.43) ตารางที่ 4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) จำแนกตาม มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ คะแนนเต็ม ประเทศ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ เขตพ้ืนท่ี 31.16 สงั กัด (สพฐ.) 27.88 มาตรฐาน ต 1.1 100 33.38 30.85 30.41 มาตรฐาน ต 1.2 100 27.37 24.95 มาตรฐาน ต 1.3 100 33.37 32.94 33.82 มาตรฐาน ต 2.1 100 32.36 27.13 30.06 มาตรฐาน ต 2.2 100 33.06 32.1 จากตารางที่ 4 ผลการสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) จำแนกตาม มาตรฐานการเรียนรู้ พบว่า เขตพื้นที่มีคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละเกือบทุกมาตรฐานต่ำกวา่ ระดับประเทศ และระดับสงั กดั (สพฐ.) ยกเว้นมาตรฐาน ต 2.1 ทีส่ ูงกว่าระดบั ประเทศและระดบั สงั กัด (สพฐ.) โดยมี

18 คะแนนเฉล่ยี ร้อยละเรียงตามลำดับ ดงั น้ี มาตรฐาน ต 2.1 (3.82) มาตรฐาน ต 1.2 (30.41) มาตรฐาน ต 2.2 (30.06) มาตรฐาน ต 1.1 (27.88) และมาตรฐาน ต 1.3 (24.95) ตามลำดับ ดังน้นั มาตรฐานการเรียนรทู้ ต่ี อ้ งเรง่ พฒั นาเน่ืองจากคะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละตำ่ กว่าระดบั ประเทศ ไดแ้ ก่ 1.) มาตรฐาน ต 1.1 2.) มาตรฐาน ต 1.2 3.) มาตรฐาน ต 1.3 4.) มาตรฐาน ต 2.2 ตารางท่ี 5 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ จำแนกตามมาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ คะแนนเต็ม ประเทศ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ 16.37 สังกัด (สพฐ.) เขตพ้ืนที่ มาตรฐาน ค 1.1 100 25.04 16.65 14.26 มาตรฐาน ค 1.2 100 29.31 25.15 23.35 มาตรฐาน ค 1.3 100 21.01 29.78 24.61 มาตรฐาน ค 2.1 100 27.46 21.03 20.77 มาตรฐาน ค 2.2 100 16.23 27.66 23.72 มาตรฐาน ค 3.1 100 34.18 16.59 11.63 มาตรฐาน ค 3.2 100 34.58 27.21 จากตารางท่ี 5 ผลการสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จำแนกตามมาตรฐานการเรยี นรู้ พบว่า เขตพื้นที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ำกว่าระดับประเทศ และระดับสังกัด ทุกมาตรฐาน โดยมีคะแนน เฉลี่ยร้อยละเรียงตามลำดับ ดังน้ี มาตรฐาน ค 3.2 (27.21) มาตรฐาน ค 1.3 (24.61) มาตรฐาน ค 2.2 (23.72) มาตรฐาน ค 1.2 (23.35) มาตรฐาน ค 2.1 (20.77) มาตรฐาน ค 1.1 (14.26) และ มาตรฐาน ค 3.1 (11.63) ดังนัน้ มาตรฐานการเรียนรูท้ ี่ต้องเรง่ พัฒนาเน่อื งจากคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละต่ำกว่าระดับประเทศ ไดแ้ ก่ 1.) มาตรฐาน ค 3.2 2.) มาตรฐาน ค 1.3 3.) มาตรฐาน ค 3.1 4.) มาตรฐาน ค 2.2 5.) มาตรฐาน ค 1.1

19 6.) มาตรฐาน ค 1.2 7.) มาตรฐาน ค 2.1 ตารางที่ 6 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ จำแนกตามมาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ คะแนนเต็ม ประเทศ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ 34.48 สงั กดั (สพฐ.) เขตพนื้ ท่ี มาตรฐาน ว 1.1 100 26.73 35.11 30.15 มาตรฐาน ว 1.2 100 39.22 27.03 26.32 มาตรฐาน ว 1.3 100 46.48 39.68 39.25 มาตรฐาน ว 2.1 100 18.58 46.85 45.44 มาตรฐาน ว 2.2 100 29.72 18.53 15.59 มาตรฐาน ว 2.3 100 23.38 29.86 30.15 มาตรฐาน ว 3.1 100 30.68 23.28 24.08 มาตรฐาน ว 3.2 100 30.54 30.80 29.50 มาตรฐาน ว 4.1 100 38.75 30.81 29.23 มาตรฐาน ว 4.2 100 39.09 40.81 จากตารางท่ี 6 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษา ปี ท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จำแนกตามมาตรฐานการเรียนรู้ พบว่า เขต พืน้ ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ำกว่าระดบั ประเทศ และระดบั สงั กดั เกอื บทกุ มาตรฐาน ยกเวน้ มาตรฐาน ว 1.3 มาตรฐาน ว 2.3 มาตรฐาน ว 3.1 และมาตรฐาน ว 4.3 ทีส่ งู กว่าระดบั ประเทศและระดับสงั กัด โดยมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละเรียงตามลำดับ ดังนี้ มาตรฐาน ว 2.1 (45.44) มาตรฐาน ว 4.2 (40.81) มาตรฐาน ว 1.3 (39.25) มาตรฐาน ว 1.1 (30.15) มาตรฐาน ว 2.3 (30.15) มาตรฐาน ว 3.2 (29.5) มาตรฐาน ว 4.1 (29.23) มาตรฐาน ว 1.2 (26.32) มาตรฐาน ว 3.1 (24.08) และมาตรฐาน ว 2.2 (15.59) ดังนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยร้อยต่ำกว่าระดับประเทศ ไดแ้ ก่ 1.) มาตรฐาน ว 1.1 2.) มาตรฐาน ว 2.2 3.) มาตรฐาน ว 4.1 4.) มาตรฐาน ว 3.2 5.) มาตรฐาน ว 2.1 6.) มาตรฐาน ว 1.2

20 4. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 จำแนกตามสาระการเรยี นรู้ ตารางที่ 7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย จำแนกตามสาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ คะแนนเต็ม ประเทศ คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ เขตพืน้ ท่ี 52.58 สงั กดั (สพฐ.) 53.75 การอา่ น 100 47.94 53.51 50.88 การเขียน 100 78.53 48.88 80.24 การฟัง การดู และการพดู 100 41.37 79.68 43.43 หลักการใช้ภาษาไทย 100 52.27 42.03 55.15 วรรณคดแี ละวรรณกรรม 100 53.44 จากตารางที่ 7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย จำแนกตามสาระการเรยี นรู้ พบวา่ เขตพื้นท่ี มีคะแนนเฉล่ยี ร้อยละ สงู กว่าระดบั ประเทศและสงั กัด (สพฐ.) ทุกสาระการเรยี นรู้ โดยมคี ะแนนเฉลี่ย ร้อยละเรยี งตามลำดบั ดงั น้ี สาระ การฟงั การดู และการพดู (80.24) สาระ วรรณคดแี ละวรรณกรรม (55.15) สาระ การอ่าน (53.75) สาระการเขยี น (50.88) และและสาระ หลกั การใช้ภาษาไทย (43.43) ตารางท่ี 8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) จำแนกตามสาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ คะแนนเตม็ ประเทศ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ เขตพ้ืนที่ 30.74 สังกดั (สพฐ.) 27.77 ภาษาเพ่อื การสอ่ื สาร 100 32.70 30.41 31.30 ภาษาและวฒั นธรรม 100 32.42 จากตารางท่ี 8 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 3 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) จำแนกตามสาระ การเรียนรู้ พบว่า เขตพื้นที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ต่ำกว่าระดับประเทศ และระดับสังกัดทุกสาระ การเรียนรู้ โดยมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ของ สา ระก า รเรี ย นรู้ เรียงตามลำดับ ดังนี้ ภาษาและ วฒั นธรรม (31.30) และภาษาเพอื่ การส่ือสาร (27.77) ดังนั้นสาระการเรียนรู้ท่ีต้องเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ำกว่าระดับประเทศ ไดแ้ ก่ 1) สาระ ภาษาเพ่อื การสื่อสาร 2) สาระ ภาษาและวัฒนธรรม

21 ตารางที่ 9 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ จำแนกตามสาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ คะแนนเตม็ ประเทศ คะแนนเฉล่ียร้อยละ 24.49 สังกดั (สพฐ.) เขตพืน้ ท่ี จำนวนและพีชคณิต 100 25.68 24.83 21.16 การวดั และเรขาคณติ 100 21.73 25.83 22.91 สถิติและความนา่ จะเปน็ 100 22.10 16.40 จากตารางที่ 9 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ จำแนกตามสาระการเรียนรู้ พบว่า เขต พื้นท่ีมีคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละต่ำกว่าระดับประเทศ และระดับสังกัด ทุกสาระการเรียนรู้ โดยมีคะแนน เฉลี่ยร้อยละของแต่ละสาระการเรียนรู้เรียงตามลำดับ ดังน้ี การวัดและเรขาคณิต (22.91) สาระ จำนวนและพีชคณติ (21.16) และสาระสถิตแิ ละความนา่ จะเป็น (16.40) ดังนั้นสาระการเรียนรู้ที่ควรเร่งพัฒนา เนื่องจากคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ำกว่าระดับประเทศ ได้แก่ 1.) สาระ สถิติและความนา่ จะเป็น 2.) สาระ จำนวนและพชี คณิต 3.) สาระ การวดั และเรขาคณติ ตารางที่ 10 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จำแนกตามสาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ ประเทศ สงั กดั (สพฐ.) เขตพนื้ ที่ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 100 32.11 32.51 31.45 วิทยาศาสตร์กายภาพ 100 31.54 31.69 30.39 วิทยาศาสตร์ โลก และอวกาศ 100 28.72 28.78 28.05 เทคโนโลยี 100 34.64 34.95 35.02 จากตารางท่ี 10 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จำแนกตามสาระการเรียนรู้ พบว่า เขตพื้นที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ และระดับสังกัด 1 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ เทคโนโลยี (35.02) และมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ำกว่าระดับประเทศ และระดับสังกัด 3 สาระการ เรียนรู้ โดยมีคะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละของแตล่ ะสาระการเรียนร้เู รียงตามลำดบั ดงั น้ี สาระวิทยาศาสตร์

22 ชีวภาพ (31.45) สาระ วิทยาศาสตร์กายภาพ (30.39) และสาระ วิทยาศาสตร์ โลก และอวกาศ (30.15) ดังนั้นสาระการเรียนรู้ท่ีต้องเร่งพัฒนา เนื่องจากคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ำกว่าระดับประเทศ ไดแ้ ก่ 1.) สาระ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2.) สาระ วิทยาศาสตร์ โลก และอวกาศ 3.) สาระ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ 5. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 จำแนกรายโรงเรยี น ตารางที่ 11 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2564 จำแนกรายโรงเรยี น ที่ โรงเรียน ภาษาไทย คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ เฉลี่ยรวม ระดบั ประเทศ 51.19 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 34.56 ระดบั สงั กดั (สพฐ.) 52.13 34.84 52.61 31.11 24.47 31.45 35.21 ระดบั ภาค 54.66 30.79 24.75 31.67 34.82 ระดบั จังหวัด 53.46 31.78 24.74 31.69 33.41 ระดับเขตพื้นที่ 29.98 23.25 31.4 33.57 1 บ้านสวนหลวง 55.52 28.44 21.03 30.69 38.17 2 วดั นางสาว 61.34 34.06 3 ทปี ังกรวทิ ยาพฒั น์ 55.40 30.68 16.73 31.33 40.15 4 วดั เจ็ดริว้ 62.35 33.65 25.60 32.09 35.29 5 วัดยกกระบัตร 58.22 24.69 23.75 32.40 33.38 6 วดั หนองสองห้อง 54.54 28.13 35.90 34.20 35.29 7 หลวงสินธ์ุ ฯ 57.24 28.13 22.67 32.13 35.30 8 บา้ นบางนํา้ จืด 54.83 25.35 24.81 28.83 36.07 9 บา้ นออ้ มโรงหบี 59.05 32.03 22.56 29.31 35.90 10 วดั กระซา้ ขาว 60.86 31.25 21.85 33.25 30.76 11 วดั คลองครุ 46.61 29.61 21.61 34.02 29.60 12 วัดบางหญ้าแพรก 46.41 25.00 19.00 38.75 26.64 20.40 29.39 25.55 17.60 28.82

23 ตารางท่ี 11 (ต่อ) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำแนกรายโรงเรยี น ท่ี โรงเรียน ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เฉล่ียรวม ระดบั ประเทศ 51.19 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 34.56 ระดบั สังกัด (สพฐ.) 52.13 34.84 52.61 31.11 24.47 31.45 35.21 ระดบั ภาค 54.66 30.79 24.75 31.67 34.82 ระดบั จงั หวัด 53.46 31.78 24.74 31.69 33.41 ระดบั เขตพน้ื ท่ี 29.98 23.25 31.4 30.72 13 วัดปจั จนั ตาราม 51.81 28.44 21.03 30.69 33.94 14 วัดราษฎร์รงั สรรค์ 48.98 29.54 15 วัดศรสี ทุ ธาราม 45.84 27.56 19.34 24.16 34.37 16 วัดใหญ่บ้านบอ่ 60.20 35.42 24.54 26.83 24.64 18.51 29.15 26.56 17.23 33.50 จากตารางที่ 11 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 จำแนกรายโรงเรียน พบว่า มีโรงเรียนที่ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยรวม และรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ สงู กว่าระดบั ประเทศ ระดับสงั กดั (สพฐ.) ระดับจังหวัด และระดับเขต พ้นื ที่ ดงั นี้ คะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยรวม มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกวา่ ระดับประเทศ ระดบั สงั กดั (สพฐ.) ระดับภาค และระดับจังหวดั จำนวน 6 โรงเรยี น คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.5 และสงู กวา่ ระดบั เขตพื้นที่ จำนวน 9 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 56.25 โดยโรงเรียนท่ีมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยรวม สงู สุด 5 ลำดับแรก ไดแ้ ก่ โรงเรียนวัดเจ็ดริ้ว (40.15) โรงเรียนวัดนางสาว(ถาวรราษฎร์บำรงุ ) (38.17) โรงเรียนบา้ นออ้ มโรงหบี (36.07) โรงเรยี นวัดกระซ้าขาว(หอมทองราษฎรบ์ ำรุง) (35.90)และโรงเรียน บ้านบางนํ้าจืด (35.30) ตามลำดบั กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย มีโรงเรยี นท่ีคะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละสงู กวา่ ระดับประเทศ จำนวน 12 โรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ 75.00 สงู กวา่ ระดบั สงั กัด (สพฐ.) ระดบั ภาค และระดบั เขตพ้นื ที่ จำนวน 11 โรงเรยี น คิดเป็นร้อยละ 68.75 สูงกว่าระดับจงั หวดั จำนวน 10 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 62.50 โดยโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละสูงสุด 5 ลำดับแรก ได้แก่ โรงเรียนวัดเจ็ดร้ิว (62.35) โรงเรียน วัดนางสาว(ถาวรราษฎร์บำรุง) (61.34) โรงเรียนวัดกระซ้าขาว (หอมทองราษฎร์บำรุง) (60.86) โรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ (บ้านบ่อราษฎรบํารุง) (60.20) และโรงเรียนบ้านอ้อมโรงหีบ (59.05) ตามลำดับ

24 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มโี รงเรยี นทค่ี ะแนนเฉล่ียร้อยละ สงู กวา่ ระดบั ประเทศและระดับสงั กัด (สพฐ.) จำนวน 4 โรงเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ 25.00 สูงกวา่ ระดบั ภาค จำนวน 3 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 18.75 สูงกว่าระดับจังหวัด จำนวน 5 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ย ละ 31.25 แลและสูงกว่าระดับเขตพื้นท่ี จำนวน 6 โรงเรยี น คิดเป็นร้อยละ 37.50 โดยโรงเรียนท่มี ี คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละสูงสดุ 5 ลำดบั แรก ไดแ้ ก่ โรงเรียนวดั ราษฎร์รังสรรค์ (35.42) โรงเรียนวดั นางสาว (ถาวรราษฎร์บำรุง) (33.65) โรงเรียนหลวงสินธุ์ราษฎร์รังสฤษฏ์ (32.03) โรงเรียนบ้านบางนํ้าจืด (31.25) และโรงเรยี นบ้านสวนหลวง (30.68) ตามลำดับ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นท่คี ะแนนเฉลย่ี ร้อยละสงู กวา่ ระดบั ประเทศ จำนวน 4 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 25.00 สูงกวา่ ระดบั สังกัด (สพฐ.) และระดับภาค จำนวน 3 โรงเรียน คิด เป็นร้อยละ 18.75 สงู กว่าระดับจงั หวดั จำนวน 5 โรงเรียน คิดเปน็ รอ้ ยละ 31.25 แลและสูงกว่าระดบั เขตพื้นที่ จำนวน 9 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 56.25 โดยโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด 5 ลำดบั แรก ไดแ้ ก่ โรงเรยี นวัดเจ็ดริ้ว (35.90) โรงเรยี นวัดนางสาว(ถาวรราษฎร์บำรงุ ) (25.60) โรงเรียน วัดหนองสองห้อง(24.81) โรงเรียนวัดราษฎร์รังสรรค์ (24.54)โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดสุนทร สถติ ) (23.75) ตามลำดับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ ระดับสงั กัด (สพฐ.) ระดับภาค และระดบั จงั หวัด จำนวน 8 โรงเรยี น คิดเป็นร้อยละ 50.00 และสงู กวา่ ระดับเขตพ้ืนท่ีจำนวน 9 โรงเรียน คดิ เป็นร้อยละ 56.25 โดยโรงเรยี นทมี่ คี ะแนนเฉลีย่ ร้อยละสูงสุด 5 ลำดบั แรก ได้แก่ โรงเรยี นวดั กระซา้ ขาว(หอมทองราษฎรบ์ ำรุง) (38.75) โรงเรียนวดั เจด็ รวิ้ (34.20) โรงเรียนบ้านอ้อมโรงหีบ (34.02) โรงเรียนวดั ใหญ่บ้านบ่อ (บ้านบ่อราษฎรบํารุง) (33.50) โรงเรียน บา้ นบางนาํ้ จดื (33.25) ตามลำดับ ตารางที่ 12 เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET)ชนั้ มธั ยมศึกษา ปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2564 กบั 2563 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ท่ี โรงเรยี น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉล่ียรวม 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 1 บ้านสวนหลวง 60.10 55.52 28.68 30.68 33.42 16.73 19.03 31.33 35.31 33.57 2 วัดนางสาว 64.45 61.34 31.42 33.65 32.5 25.60 27.08 32.09 38.86 38.17 3 ทีปงั กรวิทยาพัฒน์ 55.40 24.69 23.75 32.40 34.06 4 วดั เจด็ ริ้ว 62.35 28.13 35.90 34.20 40.15 5 วดั ยกกระบตั ร 55.36 58.22 29.54 28.13 32.74 22.67 21.90 32.13 34.89 35.29 6 วัดหนองสองห้อง 48.50 54.54 25.92 25.35 41.25 24.81 27.20 28.83 35.72 33.38 7 หลวงสินธ์ุ ฯ 36.25 57.24 22.4 32.03 17.5 22.56 16.00 29.31 23.04 35.29 8 บ้านบางน้าํ จดื 55.05 54.83 29.91 31.25 30.67 21.85 21.85 33.25 34.37 35.30

28 ตารางที่ 12 (ต่อ) เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน(O-NET)ชนั้ มธั ยมศกึ ษา ปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2564 กับ 2563 ท่ี โรงเรียน ภาษาไทย คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ เฉลี่ยรวม 2563 2564 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 2563 2564 9 บ้านอ้อมโรงหีบ 65.50 59.05 2563 2564 2563 2564 2563 2564 38.26 36.07 10 วัดกระซา้ ขาว 37.18 29.61 30.75 21.61 19.6 34.02 11 วัดคลองครุ 60.86 35.90 12 วดั บางหญ้าแพรก 51.54 46.61 25.00 19.00 38.75 35.93 30.76 13 วัดปจั จันตาราม 64.58 46.41 30.52 26.64 34.17 20.40 27.49 29.39 39.72 29.60 14 วดั ราษฎรร์ งั สรรค์ 60.83 51.81 26.47 25.55 42.5 17.60 25.33 28.82 35.68 30.72 15 วดั ศรีสุทธาราม 50.65 48.98 28.73 27.56 29.17 19.34 24 24.16 32.04 33.94 16 วัดใหญบ่ ้านบ่อ 52.88 45.84 27.51 35.42 29.08 24.54 20.9 26.83 32.76 29.54 62.30 60.20 38.60 34.37 28.47 24.64 30.22 18.51 19.48 29.15 32.91 26.56 22.74 17.23 32.91 33.50 จากตารางที่ 12 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 กับ 2563 พบว่า มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยรวม เพมิ่ ขน้ึ จากปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 7 โรงเรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.85 เม่ือพจิ ารณาเป็นรายกลมุ่ สาระ การเรยี นรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีโรงเรยี นท่ีคะแนนเฉลีย่ ร้อยละเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2563 จำนวน 3 โรงเรยี น คิดเป็นรอ้ ยละ 23.08 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละเพิ่มข้ึน จากปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 5 โรงเรียน คดิ เป็นรอ้ ยละ 38.46 กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ มีโรงเรียนทคี่ ะแนนเฉลีย่ ร้อยละเพมิ่ ขน้ึ จากปีการศึกษา 2563 จำนวน 1 โรงเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 7.69 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ มโี รงเรยี นทค่ี ะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละเพ่ิมขึน้ จากปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 13 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100.00

บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564 ขอนำเสนอ สรปุ ผลการทดสอบดังน้ี 1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2564 ระดบั ประเทศ ระดับสงั กัด ระดบั ภาค ระดับจงั หวัด และระดับเขตพ้ืนที่ 2. การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ปีการศกึ ษา 2564 กับ 2563 3. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2564 จำแนก ตามมาตรฐานการเรียนรู้ 4. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 จำแนก ตามสาระการเรียนรู้ 5. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2564 จำแนก รายโรงเรียน 6. การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา 2564 กับ 2563 จำแนกรายโรงเรียน 1. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564 ระดับประเทศ ระดับสังกัด ระดับภาค ระดบั จงั หวดั และระดับ เขตพื้นท่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ระดับประเทศ ระดับสังกัด ระดบั ภาค ระดับจงั หวัด และระดับเขตพ้ืนที่ ปีการศึกษา 2564 พบว่า เขตพนื้ ที่มคี ะแนนเฉลี่ยร้อย ละโดยรวม ต่ำกวา่ ระดบั ประเทศ ระดับสังกดั (สพฐ.) ระดับภาคและระดบั จังหวัด และระดับสังกัด (สพฐ.) เม่ือพิจารณาคะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละกล่มุ สาระการเรยี นรู้ พบว่า กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สูงกวา่ ระดบั ประเทศ ระดับสังกัด (สพฐ.) และระดบั ภาค สว่ นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) คณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์วิทยาศาสตร์ ต่ำกวา่ ทกุ ระดบั

30 2. การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 กบั 2563 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 กับ 2563 พบว่า คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละโดยรวมของระดบั ประเทศ ระดับสงั กดั (สพฐ.) ระดับภาค ระดับจังหวัด และระดับเขตพื้นที่ ลดลงจากปีการศึกษา 2563 คะแนนเฉลี่ยร้อยละกลุ่มสาระการ เรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ของทุกระดับเพิ่มข้ึนจากปกี ารศึกษา 2563 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (องั กฤษ) และกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตรข์ องทุกระดับ ลดลง จากปีการศกึ ษา 2563 3. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำแนกตามมาตรฐานการเรียนรู้ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำแนกตามมาตรฐานการเรยี นรู้ พบวา่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เขตพื้นที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับเขตพื้นที่สูงกว่าา ระดับประเทศและสังกดั (สพฐ.) ทกุ มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เขตพื้นที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ เกือบทุกมาตรฐานต่ำกว่าระดับประเทศและระดับสังกัด (สพฐ.) ยกเว้นมาตรฐาน ต 2.1 ที่สูงกว่า ระดับประเทศและระดับสังกัด (สพฐ.) โดยมาตรฐานการเรียนรู้ที่ต้องเร่งพฒั นาเนื่องจากมีคะแนน เฉลีย่ รอ้ ยละต่ำกว่าระดบั ประเทศ ได้แก่ .) มาตรฐาน ต 1.1 2.) มาตรฐาน ต 1.2 3.) มาตรฐาน ต 1.3 4.) มาตรฐาน ต 2.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เขตพื้นที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละกว่าระดับประเทศ และ ระดับสงั กดั ทกุ มาตรฐาน โดยมาตรฐานการเรยี นรู้ทต่ี อ้ งเร่งพัฒนาเนอ่ื งจากมคี ะแนนเฉล่ียร้อยละต่ำ กว่าระดับประเทศ ได้แก่ 1.) มาตรฐาน ค 3.2 2.) มาตรฐาน ค 1.3 3.) มาตรฐาน ค 3.1 4.) มาตรฐาน ค 2.2 5.) มาตรฐาน ค 1.1 6.) มาตรฐาน ค 1.2 7.) มาตรฐาน ค 2.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เขตพื้นที่มีคะแนนเฉล่ียร้อยละต่ำกวา่ ระดับประเทศ และ ระดับสังกัด เกือบทุกมาตรฐาน ยกเว้นมาตรฐาน ว 1.3 มาตรฐาน ว 2.3 มาตรฐาน ว 3.1 และ มาตรฐาน ว 4.3 ที่สูงกว่าระดับประเทศและระดับสังกัด โดยมาตรฐานการเรียนรู้ที่ต้องเร่งพัฒนา เน่ืองจากมคี ะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละตำ่ กว่าระดับประเทศ ได้แก่ 1.) มาตรฐาน ว 1.1 2.) มาตรฐาน ว 2.2 3.) มาตรฐาน ว 4.1 4.) มาตรฐาน ว 3.2 5.) มาตรฐาน ว 2.1 6.) มาตรฐาน ว 1.2

31 4. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 จำแนกตามสาระการเรยี นรู้ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน(O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำแนกตามสาระการเรียนรู้ พบวา่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เขตพื้นท่ีมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศและ สงั กัด (สพฐ.) ทุกสาระการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เขตพ้นื ที่มีคะแนนเฉลย่ี ร้อยละต่ำกว่า ระดับประเทศ และระดับสังกัดทุกสาระการเรียนรู้ โดยสาระการเรียนรู้ที่ต้องเร่งพัฒนาเนื่องจาก คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละต่ำกว่าระดับประเทศ ได้แก่ 1) สาระ ภาษาเพื่อการสื่อสาร 2) สาระ ภาษาและ วฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ เขตพื้นทีม่ ีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตำ่ กว่าระดับประเทศ และ ระดับสงั กัด ทกุ สาระการเรยี นรู้ โดยมีสาระการเรยี นร้ทู ่ีควรเรง่ พัฒนา เน่อื งจากคะแนนเฉล่ียร้อยละ ต่ำกว่าระดับประเทศ ได้แก่ 1.) สาระ สถิติและความน่าจะเป็น 2.) สาระ จำนวนและพีชคณิต 3.) สาระ การวัดและเรขาคณติ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เขตพื้นทม่ี คี ะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละสงู กว่าระดบั ประเทศ และ ระดบั สังกัด 1 สาระการเรียนรู้ โดยมสี าระการเรียนร้ทู ่ตี ้องเร่งพฒั นา เนือ่ งจากคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ตำ่ กวา่ ระดบั ประเทศ ได้แก่ 1.) สาระ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2.) สาระ วิทยาศาสตร์ โลก และอวกาศ 3.) สาระ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ 5. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำแนกรายโรงเรยี น ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำแนกรายโรงเรียน พบว่า มีโรงเรียนท่ไี ด้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละโดยรวม และราย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงู กว่าระดับประเทศ ระดบั สงั กดั ระดบั จังหวดั และระดับเขตพ้ืนท่ี ดงั นี้ คะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยรวม มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ ระดับ สังกดั (สพฐ.) ระดบั ภาค และระดบั จงั หวัด จำนวน 6 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 37.5 และสูงกวา่ ระดบั เขตพ้นื ท่ี จำนวน 9 โรงเรียน คดิ เป็นร้อยละ 56.25 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย มโี รงเรียนทคี่ ะแนนเฉล่ียรอ้ ยละสงู กว่าระดบั ประเทศ จำนวน 12 โรงเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 75.00 สูงกวา่ ระดบั สงั กัด (สพฐ.) ระดับภาค และระดบั เขตพนื้ ท่ี จำนวน 11 โรงเรียน คดิ เป็นรอ้ ยละ 68.75 สูงกวา่ ระดบั จังหวัด จำนวน 10 โรงเรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.50

32 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูง กว่าระดับประเทศและระดับสังกัด (สพฐ.) จำนวน 4 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 25.00 สูงกว่าระดับ ภาค จำนวน 3 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 18.75 สูงกว่าระดับจังหวัด จำนวน 5 โรงเรียน คิดเปน็ ร้อย ละ 31.25 แลและสงู กว่าระดับเขตพ้ืนที่ จำนวน 6 โรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ 37.50 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ จำนวน 4 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 25.00 สูงกว่าระดับสังกัด (สพฐ.) และระดับภาค จำนวน 3 โรงเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 18.75 สูงกวา่ ระดับจังหวดั จำนวน 5 โรงเรียน คิดเปน็ รอ้ ยละ 31.25 แลและ สงู กว่าระดับเขตพ้ืนที่ จำนวน 9 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 56.25 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ ระดับสังกดั (สพฐ.) ระดับภาค และระดับจังหวัด จำนวน 8 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 50.00 และสงู กวา่ ระดับเขตพืน้ ที่จำนวน 9 โรงเรียน คิดเปน็ ร้อยละ 56.25 6. การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2564 กับ 2563 จำแนกรายโรงเรียน การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 กับ 2563 พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดบั เขตพื้นท่ี มีโรงเรยี นทีค่ ะแนน เฉล่ียรอ้ ยละโดยรวม เพ่มิ ขน้ึ จากปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 7 โรงเรียน คิดเปน็ ร้อยละ 53.85 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มีโรงเรียนท่ีคะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละเพิ่มขึน้ จากปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 3 โรงเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 23.08 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เพมิ่ ขึ้นจากปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 5 โรงเรียน คดิ เป็นร้อยละ 38.46 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2563 จำนวน 1 โรงเรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.69 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีโรงเรียนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2563 จำนวน 13 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00

33 อภิปรายผล จากผลการผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 สามารถอภปิ รายผล ไดด้ งั น้ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2564 คะแนนเฉลยี่ ร้อยละโดยรวม ระดับประเทศ ระดบั สงั กัด ระดับภาค ระดบั จังหวัด และระดับเขตพน้ื ท่ี มคี ะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละโดยรวมต่ำกว่าทุกระดับ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย สูงกว่า ระดับประเทศและระดบั สงั กดั (สพฐ.) ส่วนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ และกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์วทิ ยาศาสตร์ ต่ำกว่าระดับประเทศ และระดับสังกัด(สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดยุทธศาสตร์ การ พัฒนาคุณภาพในด้านการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเน้นการบูรณาการทุกภาคส่วน ส่งเสริมสนับสนุนให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ได้ประกาศจุดเน้นการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา มีการดำเนินการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ใิ นกลุ่มสาระการเรียนรหู้ ลกั คอื กล่มุ สาระการ เรียนร้ภู าษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) อยา่ งต่อเนอ่ื ง ให้นำระบบประกันคุณภาพภายในมาใชใ้ น การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากปัญหาครูผู้สอนไมต่ รงวุฒิ ไม่มีความถนัด มีการ กระจกุ ตัวของครใู นโรงเรียนทีเ่ ป็นเขตเมืองและโรงเรียนขนาดใหญ่ อีกทัง้ ยังมภี าระหน้าที่งานธุรการ งานกิจกรรมของหน่วยงานต้นสงั กัดและหน่วยงานอนื่ ๆ จงึ เปน็ สาเหตุใหค้ รผู สู้ อนมเี วลาอยใู่ นชน้ั เรยี น น้อยลง ขาดการ “คืนเวลาให้ครู คืนวิชาการใหน้ ักเรียน” เป็นผลให้ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตํ่ากว่า ระดับประเทศ เกือบทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ แสดงให้เห็นว่าสถานศึกษายงั อาจไม่ใหค้ วามสำคญั กับ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ไมม่ กี ารเตรียมความพรอ้ มในการทดสอบ และอาจเน่ืองมาจากครูผู้สอนไม่ตรงวุฒิ จำนวนครูไม่เพียงพอ นักเรียนไม่ให้ความสนใจ ส่งผลให้มี คะแนนเฉลี่ยร้อยละตํ่ากว่าระดับประเทศ และอาจเนื่องจากในช่วงปีการศึกษา 2564 จังหวัด สมุทรสาครยังคงประสบกบั ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2013 (COVID-19) อย่าง ต่อเนื่อง ทำให้แต่ละโรงเรียนไม่สามารถดำเนินการจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ ต้องนำวิธีการ จัดการเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ ที่หลากหลายมาใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ดังกล่าว แต่ เนอื่ งจากสถานการณท์ ำให้การจัดการเรียนการสอนไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมายทก่ี ำหนดเท่าท่คี วร อีกท้ัง การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ไม่ได้มีการนำผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ไปใช้ในการสอบคัดเลือกเข้าเรียน และนักเรียนส่วนใหญ่ ศึกษาต่อในระดับอชีวะศึกษา จึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ผลการทดสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์ ต่ำกว่าระดับประเทศ และระดบั สังกดั (สพฐ.) จากการทส่ี ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐานไดป้ ระกาศจุดเน้นให้ ทุกสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และทุกสถานศกึ ษา ดำเนนิ งานยกระดับผลสัมฤทธใิ์ นกลุ่มสาระการ เรียนรู้หลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 อีกทั้งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้ สถานศกึ ษานำระบบประกนั คุณภาพภายในมาใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา และดำเนนิ การตาม จุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างต่อเนือ่ ง จึงเป็นผลทำให้มีผลสัมฤทธิ์

34 ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์ สูงกว่าปีการศึกษาทผ่ี า่ นมา สำหรับสถานศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละตํ่ากว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นส่วนใหญ่ อาจเป็นเพราะนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสนใจการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) เพราะนักเรยี นสว่ นใหญเ่ รียนตอ่ ในระดบั อาชีวะศึกษาและไม่ได้มีการ นำผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ไปใช้ในการสอบคัดเลือกเข้า เรียน นอกจากนี้ในสถานศกึ ษาบางแห่งยังขาดการพัฒนาครูผู้สอนดา้ นการจัดการเรยี นการสอนใน 4 สาระหลกั ขาดรปู แบบท่ีเป็นมาตรฐาน และมกี ารพัฒนาไม่เปน็ รปู ธรรม ขาดการนเิ ทศ ติดตาม การ จัดการเรียนการสอนอยา่ งเป็นระบบและต่อเนื่อง รวมท้ังครผู สู้ อนขาดการกระตุ้นความสนใจนักเรียน เน่ืองจากผ้เู รยี นในระดบั ชั้นน้ีเรมิ่ เข้าสู่ช่วงวยั รนุ่ ตอนตน้ อาจจะไม่มีแนวคดิ ในการศกึ ษาตอ่ ท่ชี ัดเจนวา่ จะมุ่งเข้าสู่การเรียนต่อในสายสามัญ หรือสายอาชีพ จึงไม่สนใจมุ่งเน้นกวดขันการเรียนใน 4 สาระ หลักนี้ และมีนักเรียนบางสว่ นเข้าเรียนตอ่ ในสายอาชีพ จึงมีผลทำให้นักเรียนไม่สนใจการเรียนวิชาหลกั เท่าที่ควร นอกจากนี้อาจเนือ่ งจากในชว่ งปีการศึกษา 2563 จังหวัดสมุทรสาครได้ประสบกับปัญหา การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ทำให้แต่ละโรงเรียนไม่สามารถ ดำเนินการการจดั การเรยี นการสอนได้ตามปกติ ต้องนำวิธีการจดั การเรยี นการสอนในรูปแบบต่าง ๆ ทห่ี ลากหลายมาใช้ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ดังกลา่ ว จึงเปน็ สาเหตใุ หน้ กั เรยี นไม่ไดร้ บั การเรยี นการ สอนอยา่ งเตม็ ที่ จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผลการทดสอบมคี ะแนนเฉล่ียต่ำกว่าระดับประเทศ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย จากสารสนเทศที่ได้จากการอภิปรายผลการทดสอบ ประกอบกับบริบทการดำเนินงานของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทำให้ได้ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรบั การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นในปกี ารศึกษา 2564 ดังต่อไปนี้ ขอ้ เสนอแนะสำหรบั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 1. สง่ เสรมิ ใหม้ ีการวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ในปี การศึกษาที่ผ่านมา (ปีการศึกษา 2563) เพื่อค้นหากลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และ สาระการเรียนรู้ที่ต้องปรบั ปรุงเร่งด่วน นำเรียนผู้บริหารระดับสูงและสำนักต่าง ๆ ที่เกีย่ วข้องได้รับ ทราบและกำหนดจุดเน้นในการพัฒนา รวมทั้งวางแผนเพื่อจัดทำแผนงานและโครงการให้สอดคลอ้ ง กับผลการวิเคราะห์ 2. สื่อสารความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) เดี่ยวกับแผนผังโครงสร้างข้อสอบ ( Test Blueprint) รูปแบบข้อสอบ กระดาษคำตอบ และการปฏิบัตติ นของผเู้ ขา้ สอบ เป็นต้น 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมนิ ผลในชั้นเรียน ตามมาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของหลักสูตร

35 4. ส่งเสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษาพฒั นาหรอื นำขอ้ สอบที่มีโจทย์สถานการณ์ หรือเน้อื หา สถานการณ์ หรอื เนื้อหาลกั ษณะเดียวกบั O-NET ทมี่ ีความซบั ซ้อนหรือต้องทำหลายข้ันตอน หรอื ต้อง วัดหลายตวั ชีว้ ัดด้วยขอ้ สอบเพยี งข้อเดยี วมาใชใ้ นการวดั และประเมินในชั้นเรียน 5. จัดทำระบบการส่งเสริมสนบั สนุนการจัดการเรียนรู้และการวัดผลประเมินผลให้มีความ พร้อมในการสอบ O-NET เช่น การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV การพัฒนาระบบคลัง ขอ้ สอบมาตรฐานแบบออนไลน์ เป็นตน้ 6. พัฒนาคลังข้อสอบมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรที่เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ ให้บริการแก่สถานศกึ ษา รวมท้ังคลงั ข้อสอบตามแนวทางการทดสอบระดบั นานาชาติ (PISA) เพ่ือเปน็ การพฒั นาทักษะการคิด 7. พัฒนาศักยภาพครูผูส้ อนในการสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ทั้ง ข้อสอบแบบเลอื กตอบและขอ้ สอบเขยี นตอบ ข้อเสนอแนะสำหรบั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา 1. ให้ความสำคัญกับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) และ การทดสอบวัดความสามารถพื้นฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) กำหนดเป็นเป้าหมายในการพฒั นา คุณภาพการศึกษา โดยการกระตุน้ ให้โรงเรยี นมีการเพิม่ ผลสัมฤทธ์ิในกลุ่มสาระการเรียนรู้หลักอยา่ ง นอ้ ยรอ้ ยละ 3 2. สร้างความตระหนักถึงความสำคัญในการประเมินใหแ้ กผ่ ู้บริหาร และครูผูส้ อน รวมถงึ การนำผลการสอบมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการจดั การเรียนการสอน และการบริหารจัดการศกึ ษา ให้ มปี ระสิทธภิ าพย่ิงข้นึ 3. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา มคี วามรู้และทกั ษะเก่ียวกับการ สรา้ งข้อสอบท่ีเนน้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ในรูปแบบเดยี วกนั กบั ขอ้ สอบทใ่ี ช้ในการประเมินผ้เู รียน เพ่อื ให้สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนการสอนตามหลักสูตรในชนั้ เรยี น 4. ส่งเสริมและพัฒนาครดู ้านการจัดการเรยี นรเู้ พอ่ื กระตนุ้ ความสนใจนักเรยี น 5. สร้างเครือข่ายการนิเทศการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง โดยความร่วมมือระหว่างผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศก์ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นที่ และประธานสห วิทยาเขต 6. จดั ทำเอกสารวิเคราะหค์ วามสอดคล้องเช่อื มโยงกนั ระหวา่ งมาตรฐาน ตวั ช้วี ดั ตามหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง 2560 ในระดับเขตพื้นที่ การศึกษา และสถานศกึ ษา เพื่อเผยแพร่ไปยังสถานศึกษาในสงั กดั และหน่วยงานที่เก่ยี วข้อง 8. จัดทำหลักสูตรการพัฒนาครูผู้สอนเกี่ยวกับการสร้างข้อสอบที่เน้นกระบวนการคิด วิเคราะห์ในรูปแบบเดยี วกันกบั ขอ้ สอบท่ีใชใ้ นการทดสอบ เพ่ือใหเ้ ขตพืน้ ท่ีการศึกษานำไปอบรมและ พฒั นาครผู ู้สอนในสถานศึกษาสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 9. จัดทำโครงการ เพื่อยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษา ในสังกัด โดยดูจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) และการทดสอบ

36 วัดความสามารถขั้นพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ในปีการศึกษาที่ผ่านมาเป็นข้อมูลเส้นฐาน (Baseline) ในการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธ์ิในปกี ารศึกษาตอ่ ไป ขอ้ เสนอแนะสำหรบั สถานศกึ ษา 1. สร้างความตระหนักถงึ ความสำคญั ของการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ใหก้ ับครูผูส้ อน ผูป้ กครอง และนกั เรียนทุกคนในระดับช้นั ทเี่ ข้าสอบ 2. ส่งเสริมใหค้ รูผู้สอน และบคุ ลากรในโรงเรยี น นำกระบวนการ PLC มาใช้ในการยกระดับ คุณภาพผู้เรยี น 3. สง่ เสริมสนับสนุนให้ครผู ูส้ อนวเิ คราะห์ผลการประเมิน เพือ่ วนิ ิจฉยั มาตรฐานและตัวช้ีวัดที่ ต้องปรับปรุง/พัฒนาอย่างเร่งดว่ น และนำผลมาใช้ในการวางแผนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ของ สถานศกึ ษา 4. จัดทำแผนงาน/โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสถานศึกษา โดยนำผลการ ประเมนิ ในปีการศึกษาทผ่ี ่านมาเปน็ ข้อมูลเสน้ ฐาน (Baseline) ในการยกระดบั คณุ ภาพผลสมั ฤทธิข์ อง นักเรยี น ในปกี ารศึกษาต่อไป 5. วิเคราะห์ข้อมลู และสะท้อนผลเร่งพัฒนาผู้เรียนก่อนการสอบจริง นำข้อบกพร่องในการ สอบมาปรับปรงุ ใหน้ ักเรยี นสามารถทำขอ้ สอบได้อย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ 6. ประสานความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อระดม ทรพั ยากรในการสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษา 7. จัดกิจกรรมเพอ่ื ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตหิ รือชมเชย หรอื ใหร้ างวลั แก่ครผู ูส้ อน/สถานศึกษาที่มี พัฒนาการของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนอยา่ งชดั เจน และเป็นแบบอยา่ งท่ีดแี ก่บคุ ลากรคนอ่ืนๆ การนำผลการประเมินไปใช้ ผลการประเมินสามารถนำไปพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ได้อย่างมีป ร ะ สิ ท ธิ ภาพส่งผลถึงตัวผู้เรียนและปรับปรุงการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียนและการกำกับดแู ลแนวทางการจัดการศึกษาของเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานท่ีสำคัญคือเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของผูเ้ รียนใน 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ได้อย่างเป็นรูปธรรม สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาจึงจำเป็นตอ้ ง วิเคราะห์ผลจากการประเมินจัดทำเปน็ แผนการยกระดับคุณภาพการศึกษาในทุกระดับตั้งแต่ตัว ผู้เรียนรายบุคคล สภาพการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน สภาพปัญหาและความต้องการ บริบทในการบรหิ ารจัดการ การกำกบั ดแู ล โดยมีจดุ เนน้ ในแตล่ ะระดบั ดังนี้ 1. ระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา 1.1 วิเคราะห์ผลภาพรวมของแต่ละโรงเรียน และภาพรวมของเขตพื้นที่การศึกษา ให้ได้แนวทางในการส่งเสริมปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา และ กำหนดเป็นแนวทางในการพัฒนาการจดั การศึกษาของเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

37 1.2 ผู้บริหารระดับเขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) ของเขตพืน้ ที่การศึกษา และศึกษานิเทศก์ กำกับ ติดตามและนิเทศ การดำเนินงานยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของสถานศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่องและเขม้ แขง็ 1.3 จัดทำคลังข้อสอบมาตรฐานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมทุ รสาคร โดยเนน้ ให้มีการดำเนินการตามกระบวนการของการสร้างขอ้ สอบมาตรฐาน เพ่ือจัดสอบ นักเรยี นในระดบั ช้นั ที่มกี ารสอบระดบั ชาติ และใช้ผลสอบกระตนุ้ สถานศกึ ษาทมี่ ผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ต่ำ ให้นำผลการสอบไปวเิ คราะห์จดุ เด่นและจุดควรพัฒนาของผู้เรียน แล้วนำผลการวิเคราะห์ไปใช้ พฒั นาผู้เรยี นรายบคุ คล 1.4 สนับสนนุ งบประมาณในการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาดา้ นต่างๆ ดงั นี้ 1) ดา้ นการจดั การเรียนการสอน และการวดั ประเมินผล ตามกลุม่ สาระการเรยี นรู้ 2) ด้านการบริหารจัดการ เน้นการบริหารแบบใช้โรงเรียนเป็นฐาน การบริหาร แบบมีสว่ นร่วม และการนเิ ทศภายในโรงเรยี น 3) ดา้ นการนเิ ทศการศกึ ษา เนน้ การนเิ ทศบรู ณาการ การนเิ ทศโดยใช้เทคนิค Lesson Study, Coaching, Mentoring และการวจิ ยั เชงิ คุณภาพ 1.5 สนับสนุนสถานศึกษาด้านการผลิต/ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ และฝึกทักษะตามจุดเนน้ การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน เพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 1.6 จัดเวทีใหม้ ีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ ในด้าน ต่างๆ ของครู ผูบ้ ริหารโรงเรยี น และบุคลการทางการศกึ ษา 1.7 ให้ขวัญและกำลังใจแก่ผู้บริหารและครูในสถานศึกษา ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี ขน้ึ รวมถงึ บคุ ลากรทางการศึกษาท่มี สี ว่ นร่วมในการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในสถานศึกษานน้ั ๆ 2. ระดับสหวิทยาเขต 2.1 ร่วมกนั วางแผนพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นตามจุดเน้นการพฒั นา เพ่อื ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เช่น การจัดค่ายวิชาการ การรวมกลุ่มสอนซ่อมเสริมแก่นักเรียน การจัดนิทรรศการ ผลงานท่ีเป็นเลิศ รวมทั้งพฒั นาครใู นด้านต่างๆ ตามสภาพปญั หา และตามความต้องการ 2.2 ประธานสหวิทยาเขตและกรรมการ นิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนินงานอย่าง ต่อเนอ่ื ง 3. ระดับสถานศกึ ษา 3.1 วิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติมเนื่องจากรายงานฉบับนี้เป็นการนำเสนอเฉพาะค่าเฉลี่ย ร้อยละผลก า ร ส อ บ ข อ ง ก ลุ่ ม ส า ร ะ การเรียนรู้เป็นรายโรงเรียนแ ล ะ นำข้อมูลผลการทดสอบมา วิเคราะห์เพิ่มเติมเพื่อนำไปวางแผนพัฒนาผู้เรียน การวิเคราะห์ดังกล่าวควรให้ครูประจำชั้นหรือ ครูผู้สอนวิชานั้นเป็นผู้วิเคราะห์ ทั้งนี้เพื่อให้ครูผู้สอนได้เห็นข้อมูลด้วยตนเองซึ่งจะนำไปสู่ความ ตระหนกั ในการแกป้ ญั หาได้ดกี วา่ ผู้อืน่ วเิ คราะหใ์ ห้ หลังจากนัน้ สถานศึกษาควรกำหนด ในแผนปฏิบัติ การประจำปี เพ่ือกำหนดนวัตกรรมในการแกป้ ญั หาการจัดการเรียนการสอนเพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ

38 ทางการเรียนต่อไป นอกจากนี้สถานศึกษาควรมีสารสนเทศด้านปัจจัยและกระบวนการที่สามารถ อธบิ ายประกอบผลการประเมนิ ด้วย 3.2 โรงเรียนวิเคราะห์ผลรายบุคคลของผู้เรียนที่สะท้อนถึงความสามารถของผู้เรียน ในสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ของแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ่ีได้ประเมินและแจ้งให้ ผู้เรียนทราบถึงจุดเด่น–ด้อยที่ต้องเร่งพัฒนาและปรับปรุงเป็นรายบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ปรับปรุงและพัฒนาตนได้อย่างถูกทิศทาง และนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้วางแผนในการจัดการ เรียนการสอนในปีถัดไป สำหรับสถานศกึ ษาทบ่ี ุคลากรมศี ักยภาพสูงควรนำคะแนนจากการทดสอบ มาสังเคราะห์ผลการประเมินโดยใช้สถิติวิเคราะห์ค่าถดถอย (Regression Analysis) เพื่อศึกษา แนวโน้มของการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นในอดีตจนถึงปจั จุบันจะช่วยใหผ้ ลการประเมินพัฒนาการมี ความชัดเจนมากขึ้นหรือการวิเคราะห์เชิงสาเหตุก็จะเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใหไ้ ด้สารสนเทศเพือ่ การอธบิ ายผลผลิตทเี่ กิดข้ึนได้ชัดเจนเชน่ กัน 3.3 โรงเรียนวิเ คร า ะ ห์ ผลภาพรวมเปรียบเทียบผลการป ร ะ เ มิ น กั บปีการศึกษา ที่ผ่านมาในแต่ละมาตรฐานการเรยี นรู้/สาระการเรียนรู้ ของทกุ กลุ่มสาระการเรียนรูแ้ ละเปรียบเทียบ กับผลภาพรวมระดับเขตพื้นท่กี ารศึกษา เพอ่ื ทราบถึงจดุ ทตี่ ้องเรง่ ดำเนินการพัฒนาปรับปรงุ การจัดการ เรียนการสอนของตนจัดทำเป็นแผนยกระดับ และกำหนดเปา้ หมายในการพัฒนา

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปร ท่ี โรงเรยี น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ 2562 2563 2564 2562 2563 256 ระดับประเทศ 55.14 54.29 51.19 33.25 29.89 31.1 ระดับสังกัด 55.91 55.18 52.13 32.98 30.17 30.7 ระดับเขตพน้ื ท่ี 51.90 56.29 53.46 28.47 29.41 28.4 1 บา้ นสวนหลวง 53.08 60.10 55.52 28.73 28.68 30.6 2 วดั ทา่ เสา 51.40 26.98 3 วดั นางสาว 57.04 64.45 61.34 30.89 31.42 33.6 4 วดั ราษฎร์บํารงุ 52.37 29.01 5 ทปี ังกรวทิ ยาพฒั น์ 52.38 55.40 28.15 24.6 6 บา้ นดอนไผ่ 48.44 49.32 26.67 27.44 7 บ้านโรงเข้ 53.75 55.75 26.83 27.20 8 วดั คลองตันราษฎรบ์ ํารุง 60.42 27.47 9 วดั เจ็ดริ้ว 56.22 62.35 26.67 28.1 10 วดั ยกกระบัตร 51.09 55.36 58.22 28.00 29.54 28.1 11 วดั ราษฎรศ์ รทั ธากะยาราม 52.44 47.50 32.38 29.04 12 วดั สวนส้ม 55.83 24.73 13 วดั หนองบัว 51.90 26.60 14 วดั หนองสองหอ้ ง 53.00 48.50 54.54 25.40 25.92 25.3 15 หลวงสนิ ธร์ุ าษฎรร์ งั สฤษฏ์ 55.08 36.25 57.24 28.40 22.40 32.0

ะดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) รศึกษา 2562-2564 ระถมศึกษาสมุทรสาคร คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉลยี่ รวม 64 2562 2563 2564 2562 2563 2564 2562 2563 2564 11 26.73 34.38 24.47 30.07 25.46 31.45 36.30 36.01 34.56 79 26.98 34.14 24.75 30.22 25.82 31.67 36.52 36.33 34.84 44 22.44 32.13 21.03 28.32 22.69 30.69 32.78 35.13 33.41 68 22.02 33.42 16.73 28.38 19.03 31.33 33.05 35.31 33.57 22.47 28.02 32.22 65 27.15 32.50 25.60 30.38 27.08 32.09 36.37 38.86 38.17 22.53 28.34 33.06 69 19.38 23.75 29.69 32.40 32.40 34.06 14.67 27.27 24.56 23.64 28.59 31.92 24.33 32.00 31.75 27.20 34.17 35.54 21.68 27.53 34.28 13 28.44 35.90 27.17 34.20 34.63 40.15 13 22.14 32.74 22.67 28.13 21.90 32.13 32.34 34.89 35.29 22.75 44.50 27.22 30.40 33.70 37.86 27.33 32.27 35.04 20.00 29.50 32.00 35 20.80 41.25 24.81 27.35 27.20 28.83 31.64 35.72 33.38 03 21.44 17.50 22.56 29.82 16.00 29.31 33.69 23.04 35.29

ท่ี โรงเรยี น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ 2562 2563 2564 2562 2563 256 ระดับประเทศ 55.14 54.29 51.19 33.25 29.89 31.1 ระดับสังกัด 55.91 55.18 52.13 32.98 30.17 30.7 ระดับเขตพื้นที่ 51.90 56.29 53.46 28.47 29.41 28.4 16 บา้ นบางนํ้าจดื 50.23 55.05 54.83 29.25 29.91 31.2 17 บา้ นอ้อมโรงหบี 45.56 65.50 59.05 26.67 37.18 29.6 18 วดั กระซ้าขาว 58.25 60.86 34.50 25.0 19 วดั กาหลง 47.00 29.82 20 วดั คลองครุ 49.08 51.54 46.61 27.62 30.52 26.6 21 วดั บางหญ้าแพรก 51.57 64.58 46.41 28.35 26.47 25.5 22 วดั ปัจจันตาราม 53.65 60.83 51.81 30.10 28.73 27.5 23 วดั ราษฎรร์ ังสรรค์ 53.97 50.65 48.98 29.58 27.51 35.4 24 วดั ศรสี ุทธาราม 51.83 52.88 45.84 26.33 28.47 24.6 25 วดั ใหญ่บ้านบอ่ 50.54 62.30 60.20 28.30 32.91 26.5 26 วดั บางป้ิง 47.51 27.89 27 วดั สามัคคีศรทั ธาราม 46.21 60.42 26.86 31.80 หมายเหตุ สีเขียว หมำยควำมวำ่ อยใู่ นกล สเี หลือง หมำยควำมวำ่ อยู่ในกล สดี ำ อย่ใู นกลมุ่ ปำนกลำง (ต สีแดง หมำยควำมวำ่ อยใู่ นกล สฟี ้ำ หมำยควำมวำ่ ไม่พงึ ปร

คะแนนเฉล่ียร้อยละ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉลี่ยรวม 64 2562 2563 2564 2562 2563 2564 2562 2563 2564 11 26.73 34.38 24.47 30.07 25.46 31.45 36.30 36.01 34.56 79 26.98 34.14 24.75 30.22 25.82 31.67 36.52 36.33 34.84 44 22.44 32.13 21.03 28.32 22.69 30.69 32.78 35.13 33.41 25 25.02 30.67 21.85 28.45 21.85 33.25 33.24 34.37 35.30 61 22.75 30.75 21.61 27.29 19.60 34.02 30.57 38.26 36.07 00 22.00 19.00 30.13 38.75 36.22 35.90 20.73 30.00 31.89 64 19.53 34.17 20.40 27.69 27.49 29.39 31.92 35.93 30.76 55 20.78 42.50 17.60 28.12 25.33 28.82 32.21 39.72 29.60 56 19.00 29.17 19.34 26.53 24.00 24.16 32.32 35.68 30.72 42 20.44 29.08 24.54 28.16 20.90 26.83 33.04 32.04 33.94 64 21.81 30.22 18.51 30.99 19.48 29.15 32.74 32.76 29.54 56 21.32 36.45 17.23 27.80 22.74 33.50 31.99 38.60 34.37 19.53 26.69 30.41 19.43 30.00 25.39 22.67 29.47 36.22 ลมุ่ ดีมำก (อยู่ในอันดับ 10% แรกของเขตพื้นที่กำรศึกษำ) ลมุ่ ดี (สูงกวำ่ คะแนนเฉลย่ี ของ สพฐ. แต่ไม่ได้อยู่ใน 10%แรก) ตำ่ กวำ่ คะแนนเฉลยี่ ของ สพฐ. แต่ไม่ได้อยู่ใน 10% สุดท้ำย) ลมุ่ พอใช้ (อย่ใู นอันดับ 10% สุดทำ้ ยของเขตพ้ืนที่กำรศึกษำ) ระสงค์สอบ

ความก้าวหน้าผลการทดสอบทาง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี สานักงานเขตพ้ืนที่การ ท่ี โรงเรียน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ระดบั ประเทศ 2563 2564 เพิ่ม/ลด 2563 2564 ระดับสังกัด ระดับเขตพ้ืนที่ 54.29 51.19 -3.10 29.89 31.11 1 บ้านสวนหลวง 2 วัดนางสาว 55.18 52.13 -3.05 30.17 30.79 3 ทีปังกรวิทยาพัฒน์ 4 บ้านดอนไผ่ 56.29 53.46 -2.83 29.41 28.44 5 บ้านโรงเข้ 6 วัดเจ็ดริ้ว 60.10 55.52 -4.58 28.68 30.68 7 วัดยกกระบัตร 8 วัดราษฎร์ศรัทธากะยาราม 64.45 61.34 -3.11 31.42 33.65 9 วัดหนองสองห้อง 10 หลวงสินธ์ุราษฎร์รังสฤษฏ์ 55.40 24.69 11 บ้านบางนํ้าจืด 12 บ้านอ้อมโรงหีบ 49.32 27.44 55.75 27.20 62.35 28.13 55.36 58.22 2.86 29.54 28.13 47.50 29.04 48.50 54.54 6.04 25.92 25.35 36.25 57.24 20.99 22.40 32.03 55.05 54.83 -0.22 29.91 31.25 65.50 59.05 -6.45 37.18 29.61

งการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) 3 ปีการศึกษา 2563-2564 รศึกษาประถมศึกษาสมทุ รสาคร คะแนนเฉล่ียร้อยละ ษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉล่ียรวม เพ่ิม/ลด 2563 2564 เพิ่ม/ลด 2563 2564 เพิ่ม/ลด 2563 2564 1.22 34.38 24.47 -9.91 25.46 31.45 5.99 36.01 34.56 0.62 34.14 24.75 -9.39 25.82 31.67 5.85 36.33 34.84 -0.97 32.13 21.03 -11.10 22.69 30.69 8.00 35.13 33.41 2.00 33.42 16.73 -16.69 19.03 31.33 12.30 35.31 33.57 2.23 32.50 25.60 -6.90 27.08 32.09 5.01 38.86 38.17 23.75 32.40 34.06 27.27 23.64 31.92 32.00 27.20 35.54 35.90 34.20 40.15 -1.41 32.74 22.67 -10.07 21.90 32.13 10.23 34.89 35.29 44.50 30.40 37.86 -0.57 41.25 24.81 -16.44 27.20 28.83 1.63 35.72 33.38 9.63 17.50 22.56 5.06 16.00 29.31 13.31 23.04 35.29 1.34 30.67 21.85 -8.82 21.85 33.25 11.40 34.37 35.30 -7.57 30.75 21.61 -9.14 19.60 34.02 14.42 38.26 36.07

ความก้าวหน้าผลการทดสอบทาง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี สานักงานเขตพื้นท่กี าร ท่ี โรงเรียน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ระดบั ประเทศ 2563 2564 เพิ่ม/ลด 2563 2564 ระดบั สังกัด ระดับเขตพ้ืนท่ี 54.29 51.19 -3.10 29.89 31.11 13 วัดกระซ้าขาว 14 วัดคลองครุ 55.18 52.13 -3.05 30.17 30.79 15 วัดบางหญ้าแพรก 16 วัดปัจจันตาราม 56.29 53.46 -2.83 29.41 28.44 17 วัดราษฎร์รังสรรค์ 18 วัดศรีสุทธาราม 60.86 25.00 19 วัดใหญ่บ้านบ่อ 51.54 46.61 -4.93 30.52 26.64 64.58 46.41 -18.17 26.47 25.55 60.83 51.81 -9.02 28.73 27.56 50.65 48.98 -1.67 27.51 35.42 52.88 45.84 -7.04 28.47 24.64 62.30 60.20 -2.10 32.91 26.56

งการศึกษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) 3 ปีการศึกษา 2563-2564 รศึกษาประถมศึกษาสมทุ รสาคร คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉล่ียรวม เพ่ิม/ลด 2563 2564 เพ่ิม/ลด 2563 2564 เพ่ิม/ลด 2563 2564 1.22 34.38 24.47 -9.91 25.46 31.45 5.99 36.01 34.56 0.62 34.14 24.75 -9.39 25.82 31.67 5.85 36.33 34.84 -0.97 32.13 21.03 -11.10 22.69 30.69 8.00 35.13 33.41 19.00 38.75 35.90 -3.88 34.17 20.40 -13.77 27.49 29.39 1.90 35.93 30.76 -0.92 42.50 17.60 -24.90 25.33 28.82 3.49 39.72 29.60 -1.17 29.17 19.34 -9.83 24.00 24.16 0.16 35.68 30.72 7.91 29.08 24.54 -4.54 20.90 26.83 5.93 32.04 33.94 -3.83 30.22 18.51 -11.71 19.48 29.15 9.67 32.76 29.54 -6.35 36.45 17.23 -19.22 22.74 33.50 10.76 38.60 34.37

สอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563-2564 พ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสมทุ รสาคร คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เฉลี่ยรวม เพิ่ม -1. -1. -1. -1. -0. 0.4 -2. 12. 0.9 -2.

ม/ลด .45 .49 .72 .74 .69 40 .34 .25 93 .19