หน่วยที่ 2 เร่ือง หวั ใจชายหนุ่ม
ใบงานที่ ๑ เร่ือง การอา่ นจบั ใจความ เรื่องหวั ใจชายหนุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ า ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๔ คาช้ีแจง นกั เรียนศึกษาเร่ือง หวั ใจชายหนุ่ม จากหนงั สือวรรณคดีวิจกั ษ์ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๔ หนา้ ๑๐๙-๑๔๑ แลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี ๑. ผแู้ ตง่ คือใคร.......................................................................................................................................................... ๒. นกั เรียนบอกประวตั ิผแู้ ต่ง มาพอสงั เขป ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชสมภพเม่ือใด................................................และ เสด็จสวรรคตเม่ือใด................................. ๓. บทพระราชนิพนธ์ และ พระนามแฝงของรัชกาลท่ี ๖ มีอะไรบา้ ง ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๔. แตง่ ดว้ ยลกั ษณะคาประพนั ธ์ประเภทใด ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ๕. จุดประสงคใ์ นการแตง่ มีอะไรบา้ ง ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................ ๖. ท่ีมาของเรื่องเป็ นอยา่ งไร .....................................................................................................................................................................................
-๒- ๗. เน้ือหายอ่ ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................ ๘. นกั เรียนเขียนคาทบั ศพั ทท์ ี่ปรากฏในเร่ืองหวั ใจชายหนุ่ม มา ๒๐ คา พร้อมบอกความหมาย ลาดบั ที่ คาทบั ศพั ท์ ความหมาย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖
- ๓- ลาดบั ที่ คาทบั ศพั ท์ ความหมาย ๑๗ ความหมาย ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๙. บอกความหมายของคาศพั ทแ์ ละขอ้ ความต่อไปน้ี ลาดบั ท่ี คาศพั ท/์ ขอ้ ความ ๑ ขนมปังคร่ึงกอ้ นยงั ดีกวา่ ไมม่ ีเลย ๒ คลุมถุงชน ๓ ครึ ๔ ซุนฮูหยนิ ๕ เดินทา้ ยเขา้ ครัว ๖ ครึ ๗ เทวดาถอดรูป ๘ เมฆทุกกอ้ นมีซบั ในเป็นเงิน ๙ ลงรอยเป็นทา่ ประนม ๑๐ หอยจุบ๊ แจง ๑๑ ถึงรูปชวั่ ใจช่วงเหมือนดวงเดือน ๑๒ หมอบราบคาบแกว้ ๑๓ นางสุวญิ ชา ๑๔ ผรู้ ้ัง ๑๕ ชิงสุกก่อนห่าม ๑๖ ตน้ ไมค้ ริสตม์ าส ๑๗ หนา้ ม่ทู ู่ ๑๘ หมาในรางหญา้ ๑๙ ตอม ๒๐ ออดๆแอดๆ
-๔- ใบงานที่ ๒ เรื่อง การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ประเมินคุณค่า สังเคราะห์ เรื่อง หวั ใจชายเหนุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ า ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๔ คาช้ีแจง นกั เรียนศึกษาเร่ือง หวั ใจชายหนุ่ม จากหนงั สือวรรณคดีวจิ กั ษ์ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๔ หนา้ ๑๐๙-๑๔๑ แลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี ๑. นกั เรียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมินคุณค่า สังเคราะห์ ตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี ๑.๑ คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ คุณคา่ ดา้ นแนวคิด ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ คุณค่าดา้ นเน้ือหา ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………
-๕- ๑.๔ คุณคา่ ดา้ นสังคม ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………. ๒. นกั เรียนวิจารณ์ตวั ละครตอ่ ไปน้ี ตามความเห็นของนกั เรียน ๒.๑ แม่อุไร ………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………........ ๒.๒. แม่กิมเนย้ ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๓ พระพินิฐ ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………. ๒.๔ พระยาตระเวนนคร ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๕ นายประพนั ธ์ ประยรู สิริ ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. นกั เรียนไดข้ อ้ คิดอะไรบา้ ง และสามารถนาขอ้ คิดน้นั ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………
-๖- ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………................................................ ๔. จากเร่ืองหวั ใจชายหนุ่ม นกั เรียนไดแ้ นวคิดหรือแก่นของเร่ืองในเร่ืองอะไร และนาไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. นกั เรียนวเิ คราะห์วถิ ีชีวติ และสภาพสังคมไทยท่ีปรากฏในเร่ืองหวั ใจชายหนุ่ม ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………
-๗- ใบความรู้ที่ ๑ เร่ือง การเขยี นผงั มโนภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ า ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๔ การเขียนผงั มโนภาพ หรือแผนท่ีความคิด หรือผงั ความคิด (Mind Map) การเขียนแผนภาพความคิด คือ การถ่ายทอดความคิด หรือขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ที่มีอยใู่ นสมองลงกระดาษ โดยการ ใชภ้ าพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดยอ่ แบบเดิมท่ีเป็ นบรรทดั ๆ เรียงจากบนลงล่าง ซ่ึงในขณะเดียวกนั มนั กช็ ่วย เป็นส่ือนาขอ้ มูลจากภายนอก เช่น หนงั สือ คาบรรยาย การประชุม ส่งเขา้ สมองใหเ้ ก็บรักษาไวไ้ ดด้ ีกวา่ เดิม ซ้ายงั ช่วย ใหเ้ กิดความคิดสร้างสรรคไ์ ดง้ ่ายเขา้ เน่ืองจะเห็นเป็นภาพรวม และเปิ ดโอกาสใหส้ มองใหเ้ ชื่อมโยงตอ่ ขอ้ มูลหรือ ความคิดตา่ ง ๆ เขา้ หากนั ไดง้ ่ายกวา่ “ใชแ้ สดงการเชื่อมโยงขอ้ มูลเกี่ยวกบั เร่ืองใดเร่ืองหน่ึงระหวา่ งความคิดหลกั ความคิด รอง และความคิดยอ่ ยที่เก่ียวขอ้ งสมั พนั ธ์กนั ” ซ่ึงลกั ษณะการเขียนผงั ความคิด เทคนิคการคิดคือ นา ประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็นหลกั แลว้ ตอ่ ดว้ ยประเด็นรองในช้นั ถดั ไป ข้นั ตอนการสร้าง แผนภาพความคิด ๑. เขียน/วาดมโนทศั น์หลกั ตรงก่ึงกลางหนา้ กระดาษ ๒. เขียน/วาดมโนทศั น์รองที่สมั พนั ธ์กบั มโนทศั นห์ ลกั ไปรอบ ๆ ๓. เขียน/วาดมโนทศั นย์ อ่ ยท่ีสัมพนั ธ์กบั มโนทศั นร์ องแตกออกไปเร่ือย ๆ ๔. ใชภ้ าพหรือสญั ลกั ษณ์สื่อความหมายเป็นตวั แทนความคิดใหม้ ากที่สุด ๕. เขียนคาสาคญั (Key word) บนเส้นและเส้นตอ้ งเช่ือมโยงกนั ๖. กรณีใชส้ ี ท้งั มโนทศั นร์ องและยอ่ ยควรเป็นสีเดียวกนั ๗. คิดอยา่ งอิสระมากท่ีสุดขณะ ทา เขียนคาหลกั หรือขอ้ ความสาคญั ของเร่ืองไวก้ ลาง โยงไปยงั ประเด็น รองรอบ ๆ ตามแต่วา่ จะมีก่ีประเด็น กฎการสร้าง แผนภาพความคิด ๑. เริ่มดว้ ยภาพสีตรงก่ึงกลางหนา้ กระดาษ ๒. ใชภ้ าพใหม้ ากที่สุดใน Mind Map ของคุณ ตรงไหนที่ใชภ้ าพไดใ้ หใ้ ชก้ ่อนคา หรือรหสั เป็นการช่วยการ ทางานของสมอง ดึงดูดสายตา และช่วยความจา ๓. ควรเขียนคาบรรจงตวั ใหญๆ่ ถา้ เป็นภาษาองั กฤษใหใ้ ชต้ วั พิมพใ์ หญ่ จะช่วยใหเ้ ราสามารถ ประหยดั เวลา
-๘- ได้ เมื่อยอ้ นกลบั ไปอา่ นอีกคร้ัง ๔. เขียนคาเหนือเส้นใต้ แต่ละเส้นตอ้ งเช่ือมตอ่ กบั เส้นอื่นๆ เพื่อให้ Mind Map มีโครงสร้างพ้ืนฐานรองรับ ๕. คาควรมีลกั ษณะเป็น \"หน่วย\" เปิ ดทางให้ Mind Map คล่องตวั และยดื หยุน่ ไดม้ ากข้ึน ๖. ใชส้ ีทว่ั Mind Map เพราะสีช่วยยกระดบั ความคิด เพลินตา กระตุน้ สมองซีกขวา ๗. เพื่อใหเ้ กิดความคิดสร้างสรรคใ์ หม่ ควรปล่อยใหส้ มองคิดมีอิสระมากที่สุดเทา่ ท่ีจะเป็นไปได้ วธิ ีการเขียน Mind Map โดยละเอียดอีกวธิ ีหน่ึง ๑. เตรียมกระดาษเปล่าที่ไมม่ ีเส้นบรรทดั และวางกระดาษภาพแนวนอน ๒. วาดภาพสีหรือเขียนคาหรือขอ้ ความที่ส่ือหรือแสดงถึงเรื่องจะทา Mind Map กลาง หนา้ กระดาษ โดยใช้ สีอยา่ งนอ้ ย ๓ สี และตอ้ งไม่ตีกรอบดว้ ยรูปทรงเรขาคณิต ๓. คิดถึงหวั เร่ืองสาคญั ท่ีเป็นส่วนประกอบของเรื่องท่ีทา Mind Map โดยใหเ้ ขียนเป็นคาที่มีลกั ษณะเป็น หน่วย หรือเป็ นคาสาคญั (Key Word) ส้ัน ๆ ที่มีความหมาย บนเส้นซ่ึงเส้นแต่ละเส้นจะตอ้ งแตกออกมาจากศูนยก์ ลาง ไมค่ วรเกิน ๘ ก่ิง ๔. แตกความคิดของหวั เรื่องสาคญั แต่ละเร่ืองในขอ้ ๓ ออกเป็ นกิ่ง ๆ หลายกิ่ง โดยเขียนคาหรือ วลีบนเส้น ที่แตกออกไป ลกั ษณะของก่ิงควรเอนไมเ่ กิน ๖๐ องศา ๕. แตกความคิดรองลงไปที่เป็นส่วนประกอบของแต่ละก่ิง ในขอ้ ๔ โดยเขียนคาหรือวลีเส้นท่ีแตกออกไป ซ่ึงสามารถแตกความคิดออกไปเร่ือย ๆ ๖. การเขียนคา ควรเขียนดว้ ยคาท่ีเป็นคาสาคญั (Key Word) หรือคาหลกั หรือเป็นวลีท่ีมี ความหมายชดั เจน ๗. คา วลี สัญลกั ษณ์ หรือรูปภาพใดท่ีตอ้ งการเนน้ อาจใชว้ ธิ ีการทาใหเ้ ด่น เช่น การลอ้ มกรอบ หรือใส่ กล่อง เป็นตน้ ๘. ตกแต่ง Mind Map ที่เขียนดว้ ยความสนุกสนานท้งั ภาพและแนวคิดท่ีเชื่อมโยงต่อกนั การนาไปใช้ ๑. ใชร้ ะดมพลงั สมอง ๒. ใชน้ าเสนอขอ้ มูล ๓. ใชจ้ ดั ระบบความคิดและช่วยความจา ๔. ใชว้ เิ คราะห์เน้ือหาหรืองานตา่ ง ๆ ๕. ใชส้ รุปหรือสร้างองคค์ วามรู้ เกษม แสงนนท.์ “การเขียนผงั มโนทศั น์ Mind Mapping ”. (ออนไลน์)สืบคน้ จาก : htt://kingkarnk288wordpress.com. (๓๑ มีนาคม ๒๕๖๓)
-๙- ใบงานท่ี ๓ เร่ือง การเขียนผงั มโนภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ า ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๔ คาชี้แจง นกั เรียนเขยี นผังมโนภาพจากนิทานอีสป เร่ือง ราชสีห์กบั หนู ของพระยาเมธาธิบดี ที่วา่ ราชสีห์ตวั หน่ึงนอนหลบั อยใู่ ตต้ น้ ไม้ ในเวลาน้นั หนูตวั หน่ึงไตข่ า้ มตวั ราชสีห์ ราชสีห์รู้สึกตวั ตื่นข้ึน กระโดดตะครุบเอาหนูตวั น้นั ไวไ้ ด้ ราชสีห์นึกโกรธจะขย้าหนูตวั น้นั เสีย หนูจึงร้องวงิ วอนวา่ “ขา้ พเจา้ ขอชีวติ ไวส้ ัก คร้ังหน่ึงเถิด อยา่ เพง่ิ ฆา่ ขา้ พเจา้ เสียเลย ถา้ ทา่ นปล่อยขา้ พเจา้ ไป ขา้ พเจา้ จะมิลืมคุณของทา่ นเลย” ราชสีห์หวั ร่อแลว้ วา่ “ตวั เองเลก็ เท่าน้ี เอง็ จะมาตอบแทนคุณเราอยา่ งไร” วา่ แลว้ ก็ปล่อยหนูไป อยมู่ ามิชา้ มินาน ราชสีห์ตวั น้นั ไปติด บ่วงแร้วท่ีนายพรานเขาดกั ไว้ จะดิ้นรนเทา่ ไรก็ไมห่ ลุด ราชสีห์สิ้นปัญญา ลงร้องครวญครางกอ้ งไปท้งั ป่ า ฝ่ ายหนู ตวั น้นั ไดย้ นิ เสียงราชสีห์ร้องก็จาได้ จึงวง่ิ มาปี นข้ึนไปบนคนั แร้ว เอาฟันแทะเชือกขาด ใหร้ าชสีห์รอดพน้ จากความ ตายไปได้ หนูจึงร้องไปแก่ราชสีห์วา่ “แต่เดิมท่านก็หวั ร่อเยาะขา้ พเจา้ วา่ เอง็ ตวั เลก็ เพียงเท่าน้ี จะแทนคุณท่าน อยา่ งไรได้ มาบดั น้ี ขา้ พเจา้ กไ็ ดแ้ ทนคุณของทา่ นซ่ึงเป็นสัตวใ์ หญ่และมีกาลงั มาก ใหเ้ ห็นประจกั ษแ์ ก่ตาท่านอยเู่ อง แลว้ ” นิทานเรื่องน้ีสอนใหร้ ู้วา่ แมแ้ ตผ่ เู้ ลวทรามก็อยา่ ไดด้ ูถูก ถา้ เราทาดีแก่เขา เขาอาจจะแทนคุณเราได้
-๑๐- คาช้ีแจง นกั เรียนเขียนเรียบเรียงขอ้ ความจากผงั มโนภาพท่ีกาหนดให้ เพลง มี ประโยชน์ ให้ ขอ้ คิด ให้ สะทอ้ น ก่อใหเ้ กิด ความบนั เทิง สภาพสังคม ความรู้สึก อาจเป็ น อาจเป็ น อาจเป็น รัก เศร้า สดช่ืน ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................
-๑๑- ใบความรู้ท่ี ๒ เร่ืองการเขียนสะกดคา กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ า ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ เร่ือง การเขยี นสะกดคา ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ การเขยี นสะกดคา การยมื คาภาษาต่างประเทศเขา้ มาใชใ้ นภาษาไทยน้นั มีเป็นจานวนมากมายหลายภาษา เช่น ภาษา บาลีสันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาจีน เป็ นตน้ คาเหล่าน้ีจาเป็ นตอ้ งพยายามรักษารูปคาเดิมไวเ้ พ่ือประโยชน์ ใน การศึกษาภาษา และกต็ อ้ งปรับเปลี่ยนให้สอดคลอ้ งกบั ภาษาไทยท้งั ในเร่ืองการเขียนและการออกเสียง จึงจาเป็ นตอ้ ง มีหลกั เกณฑส์ าหรับผศู้ ึกษาภาษาไดย้ ดึ ถือเพอ่ื จะไดเ้ ขียนคาและออกเสียงของคาไดถ้ ูกตอ้ ง การประและไม่ประวสิ รรชนีย์ ๑. คาไทยแทท้ ่ีออกเสียง อะ ท้งั ในพยางคท์ ่ีลงน้าหนกั และไมล่ งน้าหนกั เม่ือเขียนตอ้ งประวสิ รรชนีย์ เช่น คะแนน ชะลอม ตะกร้า ตะลึง บอระเพด็ มะระ ระวงั ระบาย ละเมิด สะอึก ตะขาบ สะพาย ขะมุกขะมอม สะบดั สะบิ้ง ทะมดั ทะแมง พะรุงพะรัง ๒. คาประสมหรือคาซ้าเสียง เมื่อพยางคห์ นา้ กร่อนเป็นเสียง อะ ใหป้ ระวสิ รรชนีย์ เช่น คานึง กร่อนเป็ น คะนึง ฉนั น้นั กร่อนเป็ น ฉะน้นั ตน้ เคียน กร่อนเป็ น ตะเคียน หมากนาว กร่อนเป็ น มะนาว คร้ืนคร้ืน กร่อนเป็ น คะคร้ืน รื่นร่ืน กร่อนเป็ น ระร่ืน ๓. คาท่ีมาจากภาษาบาลีสันสกฤต เมื่อตอ้ งการออกเสียงพยางค์ทา้ ยเป็ นเสียง อะ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น พระ ลกั ษณะ ศิลปะ ชีวะ มรณะ อิสระ สาธารณะ ทกั ษะ
-๑๒- ขณะ ชาตะ พละ อมตะ ๔. คาที่มาจากภาษาบาลีสนั สกฤตที่พยางคห์ นา้ ออกเสียง กระ ตะ ประ ใหป้ ระวสิ รรชนีย์ เช่น -๑๒- กระษยั กระดาษ กระสวย ตระกลู ประโยชน์ ประวตั ิ ประสาท ประกาศ ๕. คาที่ไม่ทราบท่ีมาแน่นอน ถา้ ออกเสียง อะ ใหป้ ระวสิ รรชนีย์ เช่น กะละมงั จะละเมด็ มะละกอ สะระแหน่ ปะวะหล่า กะละแม กะหลาป๋ า สะวดิ้ สะวา้ ด ๖. คาท่ีมาจากภาษาเขมรมีพยญั ชนะตน้ ๒ ตวั ซ้อนกนั ในภาษาไทยอ่านพยญั ชนะตวั หน้าเป็ น อะ ไม่ตอ้ ง ประวสิ รรชนีย์ เช่น ทแยง ฉบงั ผจญ ผทม สบาย ทบวง พนม ขโมย ๗. คาสองพยางคท์ ่ีออกเสียงแบบอกั ษรนา พยางคแ์ รกออกเสียง อะ ไม่ตอ้ งประวสิ รรชนีย์ เช่น กนก จรัส เสมอ จรัส สวงิ จรวด สมอง ถนน ๘. คาที่ทบั ศพั ทภ์ าษาองั กฤษ อาจประหรือไมป่ ระวสิ รรชนีย์ ใหถ้ ือตามแนวนิยมท่ีเคยใชก้ นั มา เช่น อเมริกา เยอรมนั สจว๊ ต สวสิ อะมีบา อะลูมิเนียม อะตอม การใช้ ำ และ ำม การเขยี นโดยใช้รูป ำา ๑. คาไทยแทท้ ่ีออกเสียง อา ใหเ้ ขียนดว้ ย ำา เช่น กา คา ค้า รา สารับ ล้า ลานา สาทบั ๒. คาแผลงท่ีพยางคห์ นา้ ออกเสียง อา ใหเ้ ขียนดว้ ย ำา เช่น จ่าย แผลงเป็ น จาหน่าย ช่วย แผลงเป็ น ชาร่วย
-๑๓- ตริ แผลงเป็ น ดาริ ตรวจ แผลงเป็ น ตารวจ เสียง แผลงเป็ น สาเนียง เสร็จ แผลงเป็ น สาเร็จ ๓. คาท่ีมาจากภาษาตา่ งประเทศท่ีไม่ใช่ภาษาบาลีสันสกฤต และภาษาองั กฤษ เช่น กามะถนั กามะหยี่ ตามะหงง กายาน สาปะหลงั ไหหลา สาปันนี บาเพญ็ -๑๓- ๔. คาภาษาบาลีสันสกฤตซ่ึงออกเสียงบางคาที่รูปศพั ทเ์ ดิมเป็น อม เช่น อมาตย์ แผลงเป็ น อามาตย์ อมร แผลงเป็ น อามร อมฤต แผลงเป็ น อามฤต การเขยี นโดยใช้รูป ำั ม คาท่ีมาจากภาษาบาลีสันสกฤตซ่ึงคาเดิมออกเสียง อะ และมี ม เป็ นตวั สะกด หรือมีพยญั ชนะวรรค ปะ ตามหลงั ใหเ้ ขียนดว้ ย ำัม เช่น คาเดิม คาในภาษาไทย คมฺภีร คมั ภีร์ กมฺปนาท กมั ปนาท สมฺพนฺธ สมั พนั ธ์ สมฺภาษฺณ สัมภาษณ์ อุปถมฺภ อุปถมั ภ์ ปกีรณมฺ ปกีรณมั การใช้ ใ - ไ - ำย และ ไ -ย ๑. การเขียนคาโดยใช้รูป ใ- การเขียนคาโดยใชร้ ูป ใ- ในภาษาไทยมีใชเ้ พียง ๒๐ คา คือ
-๑๔- ผใู้ หญ่หาผา้ ใหม่ ให้สะใภ้ใช้คลอ้ งคอ ใฝ่ ใจเอาใส่ห่อ มิหลงใหลใครขอดู ดูน้าใสและปลาปู จะใคร่ลงเรือใบ มิใช่อยใู่ ต้ตงั่ เตียง สิ่งใดอยใู่ นตู้ หูตามวั มาใกล้เคียง ยส่ี ิบมว้ นจาจงดี บา้ ใบ้ถือใยบวั เล่าทอ่ งอยา่ ละเลี่ยง ๒. การเขียนคาโดยใช้รูป ไ- ๒.๑ ใชเ้ ขียนคาไทยโดยทวั่ ไป ที่นอกเหนือจากที่ใชร้ ูป ใ- เช่น ไหม ไส ไป ได้ ไหน สไบ ไกล อะไร อะไหล่ ๒.๒ ใชเ้ ขียนคาแผลงที่แผลงมาจาก อิ อี เอ ในคาภาษาบาลีสันสกฤต เช่น สไลด์ วจิ ิตร แผลงเป็ น ไพจิตร -๑๔- วศิ าล แผลงเป็ น ไพศาล ตรี แผลงเป็ น ไตร เปรษณีย แผลงเป็ น ไปรษณีย์ เววจน แผลงเป็ น ไวพจน์ ๒.๓ ใชเ้ ขียนคาทบั ศพั ทภ์ าษาตา่ งประเทศอื่นๆ ทุกภาษา เช่น ไหหลา ไตฝ้ ่ นุ อาไพ ไนลอน ไมโครเวฟ ไวน์ ๓. การเขียนคาโดยใช้รูป ำั ย การเขียนคาโดยใชร้ ูป ำัย ใชส้ าหรับเขียนคาที่มาจากภาษาบาลีสนั สกฤตที่คาเดิมออกเสียง อะ และ มี ย ตาม เมื่อนามาใช้ในภาษาไทยใช้ไมห้ ันอากาศแทนเสียง อะ และ ย ซ่ึงเป็ นตวั ตามให้เป็ นพยญั ชนะสะกด เป็น ำัย เช่น คาเดิม คาในภาษาไทย กษย (กะ-สะ-ยะ) กษยั
-๑๕- ขย (ขะ-ยะ) ขยั ตรย (ตระ-ยะ) ตรัย นยน (นะ-ยะ-นะ) นยั น์ ปราศฺรย (ปรา-สะ-ยะ) ปราศรัย อาลย (อา-ละ-ยะ) อาลยั ๔. การเขียนคาโดยใช้รูป ไ-ย การใช้รูป ไ-ย ใช้สาหรับเขียนคาท่ีมาจากภาษาบาลีท่ีคาเดิมใช้สระ เ- และมี ย สะกด ย ตาม หรือรูป เ-ยฺย เมื่อนามาใชใ้ นภาษาไทย แผลง เ-ยฺย เป็น ไ-ย เช่น เทยฺยธมฺม แผลงเป็ น ไทยธรรม อธิปเตยฺย แผลงเป็ น อธิปไตย เทยฺยทาน แผลงเป็ น ไทยทาน อสงเขยฺย แผลงเป็ น อสงไขย เวเนยฺย แผลงเป็ น เวไนย การใช้ทณั ฑฆาต เคร่ืองหมายทณั ฑฆาตใชเ้ ขียนเหนือตวั อกั ษรที่ไม่ตอ้ งการออกเสียง เรียกส่ิงน้นั วา่ การันต์ เพอื่ รักษารูปศพั ท์ เดิมไว้ และเป็นเคร่ืองหมายวา่ รูปพยญั ชนะน้นั ๆ ไมต่ อ้ งออกเสียง ซ่ึงมีหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี ๑. ใชท้ ณั ฑฆาตกากบั พยญั ชนะตวั ท่ีไมอ่ อกเสียง เช่น กาพย์ (กาวย) ศิษย์ (ศิษฺย) โอษฐ์ (โอษฺฐ) มนุษย์ (มนุษฺย) นยั น์ (นยน) เจดีย์ (เจติย) เซลล์ (Cell) แบงก์ (Bank) แอลกอฮอล์ (Alcohol) และในกรณีที่พยญั ชนะท่ีไม่ตอ้ งการออกเสียงเป็นอกั ษรควบท่ีควบกบั ร ใหก้ ารันตเ์ ฉพาะ ร เพราะ ถือวา่ อกั ษรควบเป็นเสียงเดียวกนั การันตท์ ี่ ร เป็นการไมอ่ อกเสียงอกั ษรท้งั สองตวั เช่น จนั ทร์ พกั ตร์ อินทร์ ศาสตร์ นอกจากน้ียงั มีบางคาท่ีมีตวั ตาม ใหใ้ ชท้ ณั ฑฆาตท่ีตวั ตาม เช่น สายสิญจน์ ลกั ษณ์ จนั ทน์ พระลกั ษมณ์
-๑๖- ๒. คาที่มีพยญั ชนะควบกล้าเป็ นพยญั ชนะสะกด ไม่ใช่ทณั ฑฆาต เนื่องจากถือวา่ มีพยญั ชนะสะกดเพียงเสียง เดียว เช่น กอปร จกั ร ฉตั ร เนตร สมุทร ภทั ร วจิ ิตร เพชร ๓. คาท่ีมีพยญั ชนะสะกดมีสระกากบั ไมใ่ ชท้ ณั ฑฆาต เช่น จกั รพรรดิ จกั รวรรดิ พยาธิ โลกนิติ ๔. คาสมาสไม่ใชท้ ณั ฑฆาตระหวา่ งคา เช่น สัตว์ + แพทย์ เขียนเป็ น สัตวแพทย์ มนุษย์ + ศาสตร์ เขียนเป็น มนุษยศาสตร์ แพทย์ + สมาคม เขียนเป็น แพทยสมาคม พาณิชย์ + การ เขียนเป็ น พาณิชยการ ๕. คาบางคามีเครื่องหมายทณั ฑฆาตอยกู่ ลางคา ถือเป็ นการอนุโลม ส่วนมากคาเหล่าน้ีเป็ นคาภาษาองั กฤษ เช่น กอลฟ์ ฟิ ลม์ ชอลก์ ฟาร์ม คอนเสิร์ต ปาลม์ อาร์ต โอห์ม อ้างองิ เปรมจิต ชนะวงศ.์ หลกั ภาษาไทย : เอกสารคาสอน. พิมพค์ ร้ังท่ี ๑๐. นครศรีธรรมราช : สถาบนั ราชภฏั นครศรีธรรมราช, ๒๕๔๕.
-๑๗- ใบงานท่ี ๔ เรื่อง การเขยี นสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ า ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๔ คาช้ีแจง ตอนที่ ๑ ใหเ้ ลือกคาท่ีมีความหมายและสะกดคาไดถ้ ูกตอ้ งไปเติมในช่องวา่ ง ๑. ขณะน้ีมีการ..................เรื่องระเบียบวนิ ยั ใหเ้ ยาวชนท่ีหอ้ งประชุม (สัมมนา สมั นา) ๒. แฟชน่ั ปัจจุบนั เนน้ ความ........................มากกวา่ ความสวยงาม (เท่ เทห่ ์) ๓. ค่าโดยสารของรถ.......................มิเตอร์มีความยตุ ิธรรมตอ่ ผโู้ ดยสารดี (แทก็ ซี่ แทก๊ ซ่ี) ๔. เธฮไม่ควร.....................สัญญาท่ีทาไวก้ บั ธนาคาร (บิดพริ้ว บิดพลิ้ว) ๕. เม่ือถึงวยั ...........................อายคุ รบ ๒๕ ปี ตอ้ งไปทาบุญ (เบญจเพศ เบญจเพส) ๖. ก่อนทาโครงการตอ้ งมีการเบิกเงิน...................จา่ ยไปก่อน (ทดรอง ทดลอง) ๗. สมคิดช่วยซ้ือน้ามนั .......................ใหฉ้ นั ดว้ ยนะ (กา๊ ด ก๊าซ) ๘. ป้ าผมขอก๋วยเต๋ียว..............................หนา้ ทะเลหน่ึงจาน (ราด ลาด) ๙. ผอู้ านวยการโรงเรียนน้ีป่ วยมากจึงใหร้ องผอู้ านวยการทาหนา้ ที่........................(รักษาการ รักษาการณ์) ๑๐. ลูกผชู้ ายตอ้ งมีความหยง่ิ ..........................ในเกียรติและศกั ด์ิศรีของตน (ทรนง ทระนง) ๑๑. ครูเก่าแก่ของโรงเรียนเทพศิรินทร์ลาออกก่อนอายคุ รบ.................................(เกษียณ เกษียน) ๑๒. ทหารอเมริกนั หลายกองพนั .........................ทพั เขา้ ทาลายค่ายทหารของอิรัก (กรีธา กรีฑา) ๑๓. ไฟไหมส้ ลมั แห่งน้ีบา้ นเรือนของประชาชนถูกเผามอดไหมเ้ ป็น........................(จุล จุณ) ๑๔. ใบหนา้ ของนางสาวไทยปี น้ีช่างงดงาม..........................กวา่ ปี ก่อนๆ (วไิ ล วลิ ยั ) ๑๕. ชาวสวนนา.......................มะพร้าวอ่อนมามอบใหน้ ายกรัฐมนตรี (ทะลาย ทลาย) ๑๖. มีคนจานวนมากถูกไฟ.................เสียชีวติ ขณะเกิดระเบิด (ครอก คลอก) ๑๗. รุ่นพี่ตอ้ นรับนอ้ งใหม่ดว้ ยการใหท้ ุกคนคลาน.......................(รอด ลอด) ๑๘. เธอไม่ควรแสดง........................สีหนา้ ดูแคลนเพ่ือนเช่นน้ี (กริยา กิริยา) ๑๙. ช่างตดั เส้ือใชผ้ า้ สีแดง..................................รอบแขนและคอเพอ่ื ใหด้ ูเด่นข้ึน (ขลิบ ขริบ) ๒๐. นารีมีเส้นผมหยกิ กวา่ เพือ่ นๆ เรียกวา่ ผมแบบ.....................................(หยกั ศก หยกั โศก)
-๑๘- คาช้ีแจง ตอนท่ี ๒ ใส่เคร่ืองหมาย √ หนา้ คาที่เขียนถูกตอ้ งและใส่เครื่องหมาย × หนา้ คาที่เขียนผดิ พร้อมท้งั แกไ้ ข ใหถ้ ูกตอ้ ง ๑ .................กงสุล แกเ้ ป็น................................. ๒ ..................กบฎ แกเ้ ป็น................................. ๓ ....................กระตือรือลน้ แกเ้ ป็น................................. ๔ ...................อาเพท แกเ้ ป็น................................. ๕ ....................กระทดั รัด แกเ้ ป็น................................. ๖ ....................กอปร แกเ้ ป็น................................. ๗ .....................เกล็ดปลา แกเ้ ป็น................................. ๘ .......................ดุษณีภาพ แกเ้ ป็น................................ ๙ .......................ทแยง แกเ้ ป็น................................ ๑๐ ........................เกษียณสมุทร แกเ้ ป็น.................................. ๑๑ .....................การบูร แกเ้ ป็น................................... ๑๒ ....................เกินดุลย์ แกเ้ ป็น................................... ๑๓ .....................ขเมด็ ขแม่ แกเ้ ป็น.................................. ๑๔ .....................เซนติกรัม แกเ้ ป็น................................. ๑๕ ....................คานวณ แกเ้ ป็น................................ ๑๖ ......................นงพะงา แกเ้ ป็น................................ ๑๗ ......................เครื่องลาง แกเ้ ป็น............................... ๑๘ ........................บนั ดาล แกเ้ ป็น.............................. ๑๙ .........................นกอินทรี แกเ้ ป็น............................. ๒๐ .......................เครื่องสาอางค์ แกเ้ ป็น............................. ๒๑ .......................ดาษดา แกเ้ ป็น............................. ๒๒ ........................ใหลตาย แกเ้ ป็น............................. ๒๓ ......................กะลาสี แกเ้ ป็น............................. ๒๔ ......................จาละเมด็ แกเ้ ป็น............................. ๒๕ ........................ตกร่องปล่องชิ้น แกเ้ ป็น............................. ๒๖ ......................ประดิษฐ์ประดอย แกเ้ ป็น............................ ๒๗ .......................มะล่อกมะแล่ก แกเ้ ป็น.......................... ๒๘ .....................ไถง แกเ้ ป็น............................
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย -๑๙- เร่ือง การแสดงความคดิ เห็น ใบความรู้ที่ ๓ เรื่อง การแสดงความคิดเหน็ รายวชิ า ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๔ การแสดงความคดิ เห็น ลกั ษณะที่แสดงให้เห็นวา่ สังคมใดเป็นสังคมประชาธิปไตยหรือไม่ คือ การแสดงออกซ่ึงทรรศนะหรือความ คิดเห็นของบุคคลในสังคม ยิ่งสมาชิกในสงั คมมีโอกาสไดแ้ สดงความคิดเห็นมากและสะดวก ก็ยง่ิ แสดงวา่ สังคมน้นั มีความเป็ นประชาธิปไตยมาก ย่งิ ในสังคมปัจจุบนั เป็ นสังคมแห่งขอ้ มูลข่าวสาร ที่เรียกวา่ เป็ นยุคโลกาภิวตั น์ สภาพสังคมมีความซบั ซ้อน มากข้ึน ขณะท่ีปัญหาต่างๆ ท้งั ในทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมเองจาเป็ นต้องมีการถกเถียง โดยการแสดง ทรรศนะหรือขอ้ คิดเห็นซ่ึงมีความผดิ แผกแตกตา่ งกนั ออกไป จนบางคร้ังก็เป็ นความขดั แยง้ ทางความคิด ซ่ึงเกิดจาก ความคิดเห็นต่อเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงของบุคคลในสังคมไมต่ รงกนั อนั เป็นเร่ืองปกติธรรมดา ความหมายของการแสดงความคิดเห็น “ความคิดเห็น” อาจแยกเป็ นสองคา คือ ความคิดกบั ความเห็น ตรงกบั คาภาษาสันสกฤตที่ใชก้ นั แพร่หลาย วา่ “ทศั นะ” หรือ “ทรรศนะ” ความคิดเห็น หมายถึง การแสดงความรู้สึกนึกคิดท่ีมีต่อเร่ืองราว หรือเหตุการณ์หรือบุคคล ตลอดจนส่ิงท่ี อายตนะท้งั หกรับรู้ได้ เช่น แสดงความรู้สึกนึกคิดต่อภาพที่เห็น ต่อเสียงท่ีไดย้ ิน ต่อกลิ่นท่ีจมูกรู้สึก ต่อรสท่ีลิ้น สมั ผสั ดว้ ยการชิม ตอ่ ความร้อนหนาวที่ร่างกายสมั ผสั และต่อสิ่งท่ีทาใหใ้ จเกิดอารมณ์ต่างๆ การแสดงความรู้สึกนึกคิดต่อส่ิงใดๆ ก็ตามจะตอ้ งประกอบด้วยเหตุผล เพราะหากแสดงความรู้สึกนึกคิด เฉยๆ โดยปราศจากเหตุผลประกอบ ในบางความคิดเห็นวา่ เป็ นการแสดงความคิดเห็นธรรมดา ไม่ถึงข้นั เป็ นการ แสดงทรรศนะ การแสดงความคิดเห็นควรหมายถึง การมีเหตุผลประกอบดว้ ย และเหตุผลที่มีผยู้ อมรับโดยทว่ั ไป น้นั ควรมีการยกตวั อยา่ งและการเปรียบเทียบเป็นเคร่ืองสนบั สนุนเหตุผลใหห้ นกั แน่นน่าเช่ือถือยงิ่ ข้ึน วตั ถุประสงค์ของการแสดงความคิดเหน็ การแสดงความคิดเห็นของบุคคลในสังคมไม่วา่ ระดบั ใดก็ตาม ยอ่ มมีวตั ถุประสงคป์ ระการใดประการหน่ึง หรือหลายๆ ประการดงั ตอ่ ไปน้ี
-๒๐- ๑. เพอ่ื แสดงความรู้สึกนึกคดิ การแสดงความรู้สึกนึกคิดจดั เป็ นสัญชาตญาณของมนุษยอ์ นั เป็ นพ้ืนฐานของการ แสดงออก เช่นเดียวกบั การแสดงอารมณ์ ซ่ึงเป็นผลจากการรับรู้ของอายตนะท้งั หก เม่ือบุคคลมีความรู้สึก นึกคิดต่อส่ิงใดเป็ นอย่างไร ย่อมอดมิได้ท่ีจะแสดงออกมาให้ผูอ้ ื่นรับรู้ถึงความรู้สึกนึกคิดน้ันๆ ว่าเป็ นอย่างไร แตกต่างหรือคลา้ ยคลึงกบั ความรู้สึกนึกคิดของผอู้ ื่นอยา่ งไรบา้ งหรือไม่ ๒. เพ่ือชี้ข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาด ในการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เรื่องราวหรือบุคคลใดๆ ก่อนท่ีจะ แสดงความคิดเห็นในเชิงเสนอแนะอาจจาเป็ นตอ้ งบอกท่ีมาของประเด็นปัญหาหรือเรื่องราวซ่ึงทาให้เกิดการแสดง ความคิดเห็นน้นั ๆ เพือ่ ใหผ้ รู้ ับการแสดงความคิดเห็น ซ่ึงอาจจะเป็นผฟู้ ังหรือผอู้ า่ นมีความเขา้ ใจเป็นพ้ืนฐานก่อน ๓. เพื่อเสนอข้อเสนอแนะหรือข้อแนะนา เมื่อไดช้ ้ีขอ้ บกพร่องหรือขอ้ ผิดพลาดอนั เป็ นที่มาของการแสดง ความคิดเห็นแลว้ ผแู้ สดงความคิดเห็นก็ชอบที่เสนอขอ้ เสนอแนะหรือขอ้ แนะนาดว้ ยวา่ สมควรมีการแกไ้ ข ปรับปรุง ขอ้ บกพร่องหรือขอ้ ผิดพลาดน้นั อย่างไร ขอ้ เสนอแนะหรือขอ้ แนะนาน้ีควรมีลกั ษณะเป็ นรูปธรรมที่สามารถนาไป ปฏิบตั ิตามได้ ๔. เพ่ือหาทางออกในการแก้ปัญหา ปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนลว้ นแต่มีทางออกท่ีเหมาะสม ในการแกป้ ัญหาอาจ ตอ้ งใชเ้ วลามากหรือนอ้ ย กลวธิ ียากหรือง่ายยอ่ มข้ึนอยกู่ บั สภาพปัญหา ผมู้ ีหนา้ ท่ีแกป้ ัญหา ตลอดจนปัจจยั ต่างๆ ท่ี จะเอ้ือต่อการแกป้ ัญหาหรือไม่ เช่น เม่ือหน่วยงานหรือองคก์ รมีปัญหาใดเกิดข้ึน ผมู้ ีหนา้ ท่ีบงั คบั บญั ชาองคก์ รมกั จะ จดั การประชุม และเปิ ดโอกาสให้สมาชิกผูเ้ ข้าร่วมประชุมได้ช่วยกนั แสดงความคิดเห็น เพ่ือเป็ นขอ้ มูลในการ แกป้ ัญหา เป็นตน้ ๕. เพ่ือเป็ นข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้าหน่วยงาน ขอ้ มูลส่วนหน่ึงที่ใชใ้ น การประกอบการตดั สินใจในการบริหารงานของผบู้ งั คบั บญั ชาหรือหวั หนา้ งาน เป็ นผลมาจากการแสดง ความ คิดเห็นของสมาชิกในหน่วยงาน แมโ้ ดยขอ้ เท็จจริงผบู้ งั คบั บญั ชาหรือหวั หนา้ หน่วยงาน อาจมีขอ้ มูลบางส่วนอยใู่ น ใจแลว้ แต่เพ่ือความรอบคอบถี่ถว้ นเพ่ือป้ องกนั ไม่ใหเ้ กิดขอ้ ผดิ พลาดได้ ซ่ึงผูบ้ งั คบั บญั ชาหรือหวั หน้าหน่วยงานก็ จะตอ้ งรู้หลกั การกลนั่ กรองและเลือกสรรความคิดเห็นที่เป็ นประโยชนด์ ว้ ย ๖. เพอ่ื เป็ นการแสดงความแตกต่างของบุคคล ความคิดเห็นของบุคคลยอ่ มมีความแตกต่างกนั ตาม คุณสมบตั ิตามธรรมชาติของมนุษยป์ ระการหน่ึง และตามอิทธิพลของสิ่งแวดลอ้ มอีกประการหน่ึง ความ แตกต่างในสิ่งเหล่าน้ีเป็นผลทาใหก้ ารแสดงความคิดเห็นแตกต่างกนั ออกไปดว้ ย ดงั รายละเอียดดงั น้ี ๖.๑ ความรู้และประสบการณ์ บุคคลท่ีมีความรู้มากกบั บุคคลที่มีความรู้นอ้ ยเม่ือตอ้ งแสดงความคิดเห็นใน เร่ืองเดียวกนั บุคคลท่ีมีความรู้มากกวา่ ยอ่ มจะละเอียดลึกซ้ึงและกวา้ งขวางกวา่ คนที่มีความรู้นอ้ ยกวา่ หรือคน ท่ีมี ประสบการณ์ในเรื่องใดมากก็ยอ่ มที่จะแสดงความคิดเห็นในเรื่องน้นั ๆ ไดส้ มจริงสมจงั เป็ นรูปธรรมมากกว่าคนที่มี ประสบการณ์ในเร่ืองน้นั นอ้ ยกวา่
-๒๑- ๖.๒ ความเช่ือ บุคคลยอ่ มมีความเช่ือต่างกนั ในเร่ืองที่เป็ นหลกั สาคญั ของชีวิต เช่น ความเช่ือทางศาสนา เศรษฐกิจ การเมือง สังคม เป็ นตน้ เม่ือมีความเชื่อต่างกนั การแสดงความคิดเห็นท่ีออกมาจากแนวคิด วิถีชีวิต มุมมอง ตลอดจนการใชด้ ุลยพนิ ิจตา่ งๆ ในการแกไ้ ขปัญหาก็จะแตกตา่ งกนั ออกไปดว้ ย ๖.๓ ค่านิยม ค่านิยมจะเป็ นเคร่ืองกาหนดพฤติกรรมของบุคคล กลุ่มบุคคลน้นั ๆ ค่านิยมจึงมีอิทธิพลต่อการแสดง ความคิดเห็นของบุคคลเป็นอยา่ งมาก ถึงกบั บางทีกลายเป็นเคร่ืองสกดั ก้นั มิใหบ้ ุคคลแสดงความคิดเห็นออกมา ๗. เพอ่ื เสริมสร้างบรรยากาศของสังคมประชาธิปไตย องคก์ ร หน่วยงานและสงั คมใดเปิ ดโอกาสใหส้ มาชิก ไดแ้ สดงความคิดเห็นโดยอิสระ แสดงใหเ้ ห็นวา่ องคก์ ร หน่วยงานและสงั คมน้นั เห็นคุณคา่ ของทรัพยากร บุคคล ยงั เป็นการส่งเสริมการแสดงออกทางความคิดอนั เป็นเสรีภาพข้นั พ้ืนฐานตามหลกั สิทธิมนุษยชนในระบบ ประชาธิปไตย โครงสร้างของการแสดงความคดิ เหน็ ในการแสดงความคิดเห็นทวั่ ๆ ไป ถ้าพิจารณาในแง่โครงสร้างของการแสดงความคิดเห็นแต่ละคร้ัง จะ ประกอบดว้ ยส่วนประกอบ ๓ ส่วน คือ ที่มา ขอ้ สนบั สนุนและขอ้ สรุป ๑. ที่มา คือส่วนประกอบของการแสดงความคิดเห็นซ่ึงทาให้เกิดการแสดงความคิดเห็น เน้ือหาส่วนน้ีจะ ช้ีใหเ้ ห็นถึงความจาเป็ นท่ีจะตอ้ งแสดงความคิดเห็น เพ่ือช่วยใหผ้ อู้ า่ นหรือผฟู้ ังมีความเขา้ ใจถึงท่ีมา ตน้ สายปลายเหตุ และพร้อมท่ีจะรับฟังหรืออ่านความคิดเห็นน้นั ๆ ตอ่ ไป โครงสร้างของการแสดงความคิดเห็นส่วนท่ีเป็ นที่มา มกั ข้ึนตน้ ในลกั ษณะเป็นการอา้ งอิงสาเหตุหรือเหตุผล ที่จาเป็นตอ้ งมีการแสดงความคิดเห็น เช่น “ในฐานะทกี่ รรมการผ้จู ัดการมอบหมายให้ผมรับผดิ ชอบเร่ืองนี้ ผมเหน็ ว่า...” “ตามที่สมาชิกจากสมาคมพิทักษ์ต้ังข้อสังเกตเมื่อกีน้ ี้ ผมมีมุมมองต่างไปจากสมาชิกท่าน้ัน จึงขอเสนอ ความคิดเห็นดงั นีค้ รับ...” “ผมได้อ่านบทความเรื่อง “หายนะทางวศิ วกรรมศึกษา” ซึ่งเขยี นโดยคุณธีรดิต บวรอศั วกลุ ฉบับวนั ที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๕ แล้วมีความเห็นด้วยกับเนื้อหาสาระและคาวิจารณ์เป็ นอย่างมาก ผมเองก็เป็ นอาจารย์สอนใน สาขาวชิ าวศิ วกรรมศาสตร์ และจบการศึกษาด้านวศิ วกรรมศาสตร์มากกว่า ๓๐ ปี ...” ๒. ข้อสนับสนุน หมายถึง ขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ มูล หลกั การ ตวั อยา่ ง รวมท้งั ความคิดเห็นหรือมติของคนอ่ืนๆ ท่ีผแู้ สดงความคิดเห็นนามาเสนอประกอบความคิดเห็นของตน และเพอื่ เป็นการสนบั สนุนขอ้ สรุปความ คิดเห็นด้วย เน้ือหาส่วนน้ีมีความสาคญั มาก ถือว่าเป็ นเน้ือหาหลักที่ผูแ้ สดงความคิดเห็นจะต้อง ตระเตรียมหาขอ้ สนับสนุนมาให้มากพอและน่าเช่ือถือ มิฉะน้นั แลว้ ความคิดเห็นที่เสนอไปอาจไม่มี น้าหนกั เพียงพอ
-๒๒- โครงสร้างการแสดงความคิดเห็นส่วนท่ีเป็ นขอ้ สนบั สนุนมกั ข้ึนตน้ ในลกั ษณะเป็ นการหยิบยกขอ้ เท็จจริง ขอ้ มูล ตวั อยา่ ง และความคิดเห็นหรือมติของคนอื่นๆ เช่น “ท่านผู้รู้ทางการวัดผลท่านหนึ่งกล่าวว่า แบบทดสอบท่ีดีต้องมีความยุติธรรม คือ คาถามท่ีดีจะต้องไม่ ชี้แนะให้เด็กกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงโดยเฉพาะ ผมเห็นด้วยแน่นอน แต่กม็ ีความเห็นเพิม่ เติมว่าข้อสอบทดี่ ีไม่ได้หมายความ ว่า อย่าว่าแต่เด็กเกียจคร้านที่อ่านหนังสือเพียงลวกๆ จะตอบไม่ได้ แม้แต่เด็กฉลาดๆ ก็ยังตอบได้เพียงกล้อมๆ แกล้มๆ” “ผมเห็นว่าคุณประสาทมีสิทธ์ิได้รับมรดกในฐานะเป็ นทายาทโดยธรรม เพราะเป็ นบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมาย ของคุณประสิทธ์ิผ้ตู าย ส่วนคุณมาลแี ม้มไิ ด้เป็ นบุตรของคุณประสิทธ์ิแต่เป็ นหลาน กไ็ ด้รับมรดก เช่นเดยี วกนั ในฐานะเป็ นทายาทเหมือนกนั แต่เป็ นทายาทอกี ประเภทหน่ึงเพราะว่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณชิ ย์ มาตรา ๑๖๐๓ บัญญตั ิไว้ว่า “กองมรดกย่อมตกทอดแก่ทายาทโดยสิทธ์ิตามกฎหมายหรือโดยพนิ ัยกรรม” ๓. ข้อสรุป คือ สาระที่สาคญั ของความคิดเห็น อาจจะเป็ นขอ้ เสนอแนะ ขอ้ วินิจฉยั ขอ้ สันนิษฐานหรือการ ประเมินค่า ซ่ึงเจา้ ของความคิดเห็นนาเสนอเพื่อใหผ้ อู้ ่ืนพิจารณายอมรับหรือนาไปปฏิบตั ิ หลงั จากไดเ้ กร่ินท่ีมาและ ขอ้ สนบั สนุนความคิดเห็นแลว้ โครงสร้างของการแสดงความคิดเห็นในส่วนของขอ้ สรุป จึงมกั ข้ึนตน้ ในลกั ษณะดงั ต่อไปน้ี “ดิฉันยงั เห็นด้วยกบั ท่านที่ว่า เราเสียดายชีวติ คุณสืบ นาคะเสถียร และอกี หลายๆ ชีวติ ทพี่ ลไี ป เพ่อื ต้องการ จะปลุกจิตสานึกให้คนไทยมีคุณธรรม มีเมตตา เอือ้ อาทรต่อชีวิตของสัตว์ป่ าท่ีย่อมรักชีวิตของมันเช่นเดียวกับคน เราควรจะช่วยกนั อนุรักษ์ท้งั คนและสัตว์ เมื่อทุกชีวิตในบ้านเมืองของเรามีแต่ความรัก ความเมตตา เรากจ็ ะ ดารงชีวติ ร่วมกนั ได้ด้วยความสุข สงบ ร่มเยน็ ต่อไป” ประเภทของการแสดงความคดิ เห็น การแสดงความคิดเห็นมีมากมายหลายประเภท แต่เมื่อจาแนกออกเป็ นประเภทใหญ่ๆ จากการแสดงความ คิดเห็นของมนุษย์ ที่แสดงออกกนั เป็นปกติในสงั คม จะไดเ้ ป็น ๓ ประเภท ดงั ต่อไปน้ี ๑. ความคิดเห็นเก่ียวกบั ขอ้ เทจ็ จริง ๒. ความคิดเห็นเกี่ยวกบั คุณคา่ หรือค่านิยม ๓. ความคิดเห็นเก่ียวกบั นโยบาย ๑. ความคิดเห็นเก่ียวกับข้อเท็จจริง เป็ นความคิดเห็นที่มกั เกี่ยวกบั เรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนแลว้ แต่ ผูค้ นส่วนใหญ่ก็ยงั สนใจใคร่รู้และวิพากษ์วิจารณ์ถกเถียงกนั ว่าเร่ืองราวขอ้ เท็จจริงเป็ นอย่างไร การแสดง ความ คิดเห็นของผคู้ นทวั่ ไปจึงมกั เป็นการคาดคะเนหรือสนั นิษฐานตามความคิดเห็นของตน ความคิดเห็นน้นั ๆ น่าเชื่อถือ มากนอ้ ยเพียงใด จะตอ้ งข้ึนอยกู่ บั เหตุผล ขอ้ มูล และหลกั ฐานท่ีผแู้ สดงความคิดเห็นยกมาสนบั สนุนให้ มีน้าหนกั น่าเช่ือถือ
-๒๓- ตัวอย่างความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ข้อเทจ็ จริง เปิ ดเสรีอาเซียน ภาษาองั กฤษสาคญั จริงหรือ? ท่ามกลางกระแสการตื่นตวั ของการเปิ ดเสรีอาเซียน หลายๆ ฝ่ ายกาลงั เร่งพฒั นาตวั เองดา้ นภาษาองั กฤษ เพื่อให้ ทันต่อความตอ้ งการของโลกกวา้ งที่จะโอบรัดประเทศเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอีกไม่ถึง 3 ปี ข้างหน้า เช่นเดียวกับหลายๆ ครอบครัวท่ีเล็งเห็นความสาคญั และพยายามสรรหาโรงเรียน หรือสถาบันสอนภาษาเพ่ือเตรียม ความพร้อมให้แก่ลูกต้งั แต่เล็กๆ เนื่องจากมีความเชื่อว่า หากใครรู้ภาษาย่อมมีภาษีที่ดีกว่า โดยเฉพาะโอกาส และ ความกา้ วหนา้ ในอาชีพการงาน แต่ในอีกดา้ นของการเปิ ดประตูสู่ประชาคมอาเซียน นกั วิชาการดา้ นการศึกษา และผูเ้ ชี่ยวชาญหลายๆ ท่านมองว่า ไม่ใช่แค่เร่ืองภาษาอยา่ งเดียวท่ีควรใหค้ วามสาคญั กบั เด็ก ยงั มีทกั ษะชีวติ ดา้ นอื่นๆ ที่คุณพ่อคุณแม่ และ ผใู้ หญ่ในสังคม ควรใหค้ วามสาคญั เป็ นอนั ดบั ตน้ ๆ ดว้ ย โดยเฉพาะทกั ษะในการอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างเชิงวฒั นธรรม บอกเล่าไดจ้ าก ดร.วรนาถ รักสกุลไทย ผูอ้ านวยการแผนกอนุบาล โรงเรียนเกษมพิทยา ในฐานะนกั การศึกษาและ ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นเดก็ ปฐมวยั ใหท้ ศั นะวา่ “ผ้ใู หญ่หลายๆ คนกาลงั หลงทางเรื่องอาเซียน อย่างแรกเลย กค็ อื ภาษาองั กฤษทค่ี รู และพ่อแม่ต่างมุ่งเน้น และส่งลูกไปเรียนเพื่อหวังจะให้สื่อสารได้ แต่สาหรับเด็กเล็ก หรือเด็กอนุบาล ทักษะเร่ิมต้นใน การเตรียมรับอาเซียน คอื ความเป็ นมติ รภาพ รู้จักยอมรับ และเคารพในความหลากหลาย นอกจากน้ัน เดก็ ควรได้ฝึ กคิด และวเิ คราะห์แทนการท่องจา เช่น ถ้าอยู่ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พวกเขาควรจะทาอย่างไรให้หนีและรอดชีวติ ออกมาได้” อยา่ งไรก็ตาม แมจ้ ะมีหลายๆ โรงเรียนให้ความสาคญั กบั การเปิ ดเสรีอาเซียนท่ีกาลงั มาถึง ดว้ ยการเปิ ดห้องเรียน อาเซียน หรือเปิ ดหลกั สูตรอาเซียนศึกษาเพื่อเป็ นหลกั สูตรสอนเสริมใหแ้ ก่เด็ก แต่ภาพการต่ืนตวั ท่ีเกิดข้ึน ดร.วรนาถ ยงั มองวา่ เป็ นการเตรียมเด็กสู่อาเซียนแบบหลงทาง “บางโรงเรียนให้เด็กท่องจาธงประเทศต่างๆ หรือซื้อตุ๊กตาสวมชุดประจาชาตขิ องแต่ละประเทศมาให้เด็กเล่น ซึ่ง เป็ นการสอนทไ่ี กลตวั เกินไป แต่แนวการสอนทคี่ วรจะเป็ น คอื การสอนให้เดก็ มที ศั นคตทิ ดี่ บี นความแตกต่างเสียก่อน เช่น สอนให้เดก็ รู้ว่า คนทกุ คนมคี วามแตกต่าง และเรากไ็ ม่จาเป็ นต้องเหมอื นคนอนื่ หรือถ้ามคี วามคดิ ไม่ตรงกนั แทนทจ่ี ะโกรธ เกลยี ด และใช้ความรุนแรงเข้าใส่กัน เราสามารถพูดคุย และช่วยกันหาทางออกได้ ซ่ึงการสอนในลักษณะนี้ จะทาให้เด็ก รู้จกั เคารพในความแตกต่าง ไม่เอาตวั เองเป็ นใหญ่” … ดา้ น ผศ.ดร.การดี เลียวไพโรจน์ ผูอ้ านวยการสถาบนั องคค์ วามรู้แห่งเอเชีย และผูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นอาเซียนศึกษา ให้ ความเห็นในเร่ืองเดียวกนั น้ีวา่ ภาษาองั กฤษเป็ นทกั ษะที่จาเป็ นต่อเด็ก และคุณพ่อคุณแม่ในอนาคต โดยเฉพาะการมาถึง ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอีกไม่กี่ปี ขา้ งหนา้ แต่ในขณะเดียวกนั ตอ้ งไม่ลืมที่จะใหค้ วามสาคญั กบั การปลูกฝังให้ ลกู มีจิตใจที่เปิ ดกวา้ ง และยอมรับความแตกตา่ งอยา่ งหลากหลายดว้ ย เพ่ือใหเ้ ด็กเติบโตเป็ นพลเมืองอาเซียนท่ีมีความเจริญ ทางอารยะหรือมีความดีงามในจิตใจ ซ่ึงเป็ นหวั ใจสาคญั ในการนาพาประเทศไปสู่ความเจริญ และยงั่ ยนื ในทุกดา้ น... นบั เป็ นความทา้ ทา้ ยสาหรับคนเป็ นพอ่ แม่ในยคุ น้ีไมน่ อ้ ยเลยทีเดียว แหล่งข้อมลู : ผจู้ ดั การออนไลน์, เปิ ดเสรีอาเซียน ภาษาองั กฤษสาคญั จริงหรือ? [ออนไลน์], ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๕. แหล่งท่ีมา www.manageronline.com/home/agriculture.html.
-๒๔- ๒. ความคิดเห็นเก่ียวกับคุณค่าหรือค่านิยม เป็ นความคิดเห็นท่ีมุงประเมินค่าหรือตีค่าวา่ ส่ิงใดดีสิ่งใดดอ้ ย ส่ิงใดเป็นประโยชนห์ รือเป็นโทษ เหมาะสมหรือไมเ่ หมาะสมอยา่ งไรเพยี งใด ส่ิงต่างๆ ที่นามาแสดงความคิดเห็นน้นั อาจเป็ นวตั ถุ สิ่งของ บุคคล พืช สัตว์ อาคาร สถานที่ จารีตประเพณี กิจกรรม โครงการ กลวิธี วิธีการ การ ประพฤติปฏิบตั ิ ฯลฯ ผแู้ สดงความคิดเห็นควรประเมินค่าสิ่งน้นั ๆ โดยตวั ของมนั เอง ตามกฎเกณฑ์ที่กาหนดข้ึนหรือ อาจประเมินโดยการเปรียบเทียบกบั สิ่งท่ีอยใู่ นประเภทเดียวกนั หรือมีลกั ษณะเป็นไปในทานองเดียวกนั ก็ได้ ตัวอย่างความคิดเห็นเกย่ี วกบั คุณค่าหรือค่านิยม ทฤษฎตี ิ ถ้าเราทากบั ข้าวรับประทานกนั เองในบ้าน แล้วมีคนนอกมาร่วมด้วยเกิดติว่าอาหารของเราจืดไป ดฉิ ันจะรู้สึกเฉยๆ แค่รับรู้ว่ารสปากเราไม่ชอบรสจัดเท่าเขา หากวันหน้าเขามารับประทานข้าวบ้านเราอีก กเ็ พม่ิ รสชาติให้ถูกใจเขาหน่อย แต่ถา้ เราจะเปิ ดร้านอาหาร แลว้ ไดค้ นท่ีมีรสปากมาตรฐาน มีสัมผสั ลิ้นที่ไวมาช่วยชิมให้ อะไร ที่เขาติ น่ีคือติเพอื่ ก่ออนั เป็นคุณ เพราะเรากาลงั จะทาอาหารใหค้ นหมู่มากถูกปากจะไดข้ ายดี ซ่ึงไม่วา่ จะ ถูกติหรือชม กล็ ว้ นดีท้งั น้นั ขอใหเ้ ป็นความเห็นที่ตรงปากลูกคา้ แลว้ กนั เพราะติท่ีไม่เขา้ ท่าคือติท่ีผิดพวก หรือความเห็นท่ีผิดประเภทกลุ่มเป้ าหมาย เหมือนคนหวั นอก ท่ีชอบอาหารฝร่ังเศสรสกลมกล่อมอาจบอกไดว้ ่าลาบเลือดน้ันเผด็ ไป จึงไม่ถูกปาก แต่จะตาหนิวา่ ไม่ อร่อยกเ็ ป็นการดูถูกคนที่ชอบรสชาติแตกตา่ งอยา่ งไมส่ มควร อยา่ งไรก็ตาม การติกนั คือการบอกใจแก่กนั ถา้ คนเก่งกวา่ ช่วยติงานเราเพ่ือก่อ น่ีคือความหวงั ดี จริงใจท่ีมีให้ ยอมติให้รู้แมร้ ู้ท้งั รู้วา่ เราอาจไม่ชอบ บางคนถึงขนาดโกรธและผูกใจเจ็บก็อาจมี เพราะ อีโกเ้ กินเหตุ บางคนติเพราะต้งั ใจอยากให้เราเสีย ถึงงานเราดีก็ต้งั ใจพดู ให้เสีย แมง้ านเรามีตาหนิบา้ งก็จงใจ พดู ใหเ้ สียมากจนเกินเลย ควรรู้ไวว้ า่ นี่คือผหู้ วงั ดีประสงคร์ ้าย บางคนติเพราะเก่งไม่พอ ก็ดูไม่ออกวา่ งานเราดีแลว้ ติอยา่ งน้ีคือไม่ไดห้ วงั ร้าย หรือจิตใจไม่ดี แต่ติเพราะตาไมถ่ ึงหรือปัญญาไม่ดีพอ ข้อติใดควรปรับปรุงใหม่ หรือไม่ต้องแก้แต่อย่างใด จึงหนีไม่พ้นวิจารณญาณของเราเอง วจิ ารณญาณท่ีพจนานุกรมแปลวา่ ปัญญาท่ีสามารถรู้หรือใหเ้ หตุผลถูกตอ้ ง ไมห่ ลอกและไม่หลงตน (แผน่ ดินดอกไม้ : จิตรา ก่อนนั ทเกียรติ, สกลุ ไทย ฉบบั ท่ี ๒๕๗๖)
-๒๕- ๓. ความคิดเห็นเก่ียวกับนโยบาย เป็ นความคิดเห็นที่เกี่ยวกบั นโยบายต่างๆ ซ่ึงมีไดห้ ลายระดบั ต้งั แต่ระดบั ส่วนบุคคล กลุ่มบุคคล องคก์ ร หน่วยงาน สถาบนั ตลอดจนนโยบายของประเทศ ความคิดเห็นเก่ียวกบั นโยบายแต่ละระดบั แตล่ ะเรื่อง ตอ้ งบง่ ช้ีชดั เจนวา่ ส่ิงที่เสนอแนะใหผ้ เู้ กี่ยวขอ้ งหรือผรู้ ับผดิ ชอบปฏิบตั ิน้นั มี อะไรบา้ ง ตอ้ งทาอยา่ งไร มีข้นั ตอนอยา่ งไร มีเป้ าหมายอะไร หากทาสาเร็จตามนโยบายแลว้ ผลท่ีจะไดร้ ับหรือ ประโยชนม์ ีอะไรบา้ งและถา้ หากมีอุปสรรคจะแกไ้ ขไดอ้ ยา่ งไร ถา้ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั นโยบายเก่าที่ทา ไป แลว้ มีปัญหาหรือขอ้ บกพร่องผดิ พลาด ก็ควรช้ีทางออกใหด้ ว้ ยวา่ ควรแกไ้ ขปรับปรุงนโยบายน้นั อยา่ งไร ตัวอย่างความคิดเห็นเกย่ี วกบั นโยบาย อย่าฝื น ยงั ถกเถียงกนั อยวู่ า่ แนวคิดไหนน่าจะเหมาะสมท่ีสุดสาหรับประเทศไทยในภาวะท่ีตอ้ งเผชิญกบั วิกฤตราคาน้ามนั แพงเช่นน้ี รัฐบาลยืนกรานจะพยายามตรึงราคาน้ามนั ดีเซลให้มีราคาถูกเช่นปัจจุบนั ต่อไปถึงสิ้นปี เพื่อไม่ให้กระทบต่อ อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกิจของประเทศ แมจ้ ะตอ้ งใชเ้ งินจากกองทุนน้ามนั ถมลงไปถึง ๔ หม่ืนลา้ นบาทก็ตาม ฝ่ ายนกั วิชาการช่ือดงั อยา่ ง นายวรี พงษ์ รามางกูร กลบั มองวา่ การพยงุ ราคาน้ามนั ดีเซลของรัฐบาล หากนานไปก็ จะเป็ นผลเสียต่อประเทศ เพราะทาให้ชาวบา้ นมองไม่เห็นวา่ น่ีคือวิกฤต กลบั คิดเป็ นโอกาสแลว้ ผลาญน้ามนั กนั ต่อไป ตามใจชอบ ทางที่ถูกควรปล่อยใหร้ าคาน้ามนั ดีเซลลอยตวั ตามสภาพตลาดท่ีแทจ้ ริงมากกวา่ ก่อนท่ีจะประเมินถึงแนวคิดขา้ งตน้ มาพจิ ารณาขอ้ เท็จจริงสภาพตลาดน้ามนั ดิบในตลาดโลกกนั ก่อนวา่ เป็ นเช่นไร เพราะแนวโนม้ ของราคาในอนาคตจะเป็ นตวั ช้ีขาดถึงมาตรการท่ีเหมาะสมสาหรับการนามาใช้ เริ่มจากดา้ นอุปทานก่อน ตอ้ งยอมรับความจริงที่วา่ การผลิตน้ามนั ดิบออกสู่ตลาดโลกของประเทศผูผ้ ลิตหลกั ๆ ยงั มีปัญหา แมก้ ลุม่ ยกั ษใ์ หญ่อยา่ งโอเปกจะโหมผลิตสู่ตลาดอยา่ งเตม็ ท่ีถึงวนั ละ ๓๐ ลา้ นบาร์เรลแลว้ ก็ตาม น้ามนั ดิบจากอิรักที่เคยผลิตออกสู่ตลาดวนั ละ ๑๗-๑๘ ล้านบาร์เรลหดหายไป เพราะท่อส่งน้ ามันถูกกลุ่ม ผกู้ ่อการร้ายก่อวนิ าศกรรม โรงกลน่ั น้ามนั ยกั ษใ์ นรัสเซีย ๒ แห่งถูกปิ ด เพราะเจา้ ของตอ้ งคดีทางการเมืองอยู่ ขณะในส่วนของอุปสงค์ ความตอ้ งการใชน้ ้ามนั ในตลาดโลกยงั โตข้ึนอยา่ งต่อเนื่อง จากภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ท่ีขยบั ตวั อีกท้งั อีกไมก่ ี่เดือนฤดูหนาวก็จะมาเยอื นแลว้ ซ่ึงหมายถึงความตอ้ งการใชน้ ้ามนั คงตอ้ งสูงมากข้ึนไปอีกนาน แต่ปัจจยั สาคญั ที่กระหน่าซ้าเติมทาให้ราคาน้ามนั ดิบเพิม่ สูงข้ึนคือภาวการณ์เกง็ กาไรท่ีทาใหร้ าคาน้ามนั วบู ไหลไป ตามขา่ วที่ถูกโหมกระพือเรื่องจะมีการก่อการร้ายของกลุ่มอลั -ไคดา้ หลายแห่งทวั่ โลก ราคาน้ามนั ดิบในตลาดโลกที่ยนื อยทู่ ่ีบาร์เรลละ ๔๓-๔๕ ดอลลาร์สหรัฐ ลกั ษณะน้ีจึงมีแนวโนม้ จะขยบั ตวั สูงข้ึน ไปอีกและคาดวา่ อาจยนื ขา้ มปี ไปเลยทีเดียว เมื่อแนวโนม้ ราคาน้ามนั ดิบในตลาดโลกมีแต่จะสูงข้ึนอยา่ งต่อเนื่องและเนิ่นนานขา้ มปี ไปในลกั ษณะน้ีแนวคิด ท่ีนายวรี พงษเ์ สนอจึงน่าสนใจ แน่นอนวา่ หากรัฐบาลปล่อยให้ราคาน้ามนั ดีเซลลอยตวั ผลกระทบทางดา้ นเศรษฐกิจของประเทศที่จะทาตามมา น้นั มากมายแน่ จีดีพที ี่เคยคาดจะสูง ๖.๕ อะไรน้นั เลิกฝันกนั ไดเ้ ลย แต่ถา้ โยนตวั เลขจีดีพีทิ้งไปเปลี่ยนเป็ นหันมาพิจารณาความเป็ นจริงที่ปรากฏ รวมท้งั ยอดเงินกองทุนน้ามนั ท่ีมีแต่ จะติดลบมากข้ึนแลว้
-๒๖- ใบงานท่ี ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ า ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ เรื่อง การวเิ คราะห์แนวคิดการใชภ้ าษาจากเร่ืองที่ฟังและดู ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๔ ................................................................................................................................................................................... คาชี้แจง ๑. นกั เรียนเลือกเร่ืองที่ฟังและดูท่ีนกั เรียนชอบ แลว้ วเิ คราะห์เรื่องที่ฟังและดูตามหวั ขอ้ ท่ีกาหนดให้ ๒. นกั เรียนนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน 1. ใจความสาคญั ของเร่ืองที่ฟังและดู ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... 2. ผสู้ ่งสารมีจุดมุง่ หมายใดในการส่งสารมายงั ผรู้ ับสาร ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... 3. การใชส้ านวน ภาษาของเร่ืองท่ีฟังและดู ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... 4. เร่ืองที่นกั เรียนฟังและดูมีความน่าเชื่อถือไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... 5. เรื่องที่ฟังและดู มีแนวคิดอยา่ งไร และสามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งไร ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... 6. ปัญหา/อุปสรรค ในการเลือกเร่ืองท่ีฟังและดู พร้อมเสนอแนะวธิ ีแกไ้ ขปัญหา/อุปสรรคน้นั ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... แหล่งท่ีมาของเร่ืองท่ีฟังและดู จาก............................................................................................................................. วนั /เดือน/ปี ...................................................................................................................................................................
-๒๗ - แบบทดสอบ เร่ืองหวั ใจชายหนุ่ม คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกตอ้ งที่สุดเพียงขอ้ เดียว 1.เร่ือง หัวใจชายหนุ่ม ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับ 5. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หัวทรงพระราช สิ่งใด นิพนธ์เร่ือง หัวใจชายหนุ่ม โดยมีพระประสงค์อย่างไร ก. ความรักระหว่างชายหนุ่มกบั หญิงสาว ก. เพ่ือพระราชทานลงพิมพใ์ นหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิต ข. ความนึกคิดและสภาพของสังคมไทย ข. เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในวารสารขา้ ราชการ ค. เร่ืองราวความผูกพนั ระหว่างเพื่อน ค. เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือแบบเรียน ง. เรื่องราวชีวิตของชายหนุ่ม ภาษาไทย ง. เพอ่ื พระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือปฐมนิเทศของ 2. ขอ้ ใดกลา่ วถึงเรื่อง หวั ใจชายหนุ่ม ไดถ้ ูกตอ้ ง นักศึกษาใหม่ ก. ตวั ละครเป็ นชายหนุ่มนักเรียนนอกที่เพ่ิงเดินทาง กลบั จากฝร่ังเศส 6. สภาพสงั คมในเรื่อง หวั ใจชายหนุ่ม เป็ นอยา่ งไร ข. อุไรเป็ นตัวละครที่มีคุณสมบตั ิเป็ นหญิงไทยผูม้ ี ก. การหย่าร้างเป็ นเรื่องเส่ือมเสียวงศ์ตระกูล มารยาทงดงาม รักนวลสงวนตัว ข. ผูช้ ายปฏิเสธการคลุมถุงชนได้ หากไม่พอใจ ค. ตวั ละครเดินทางกลบั ประเทศไทยโดยทางเรือ ค. การที่ผูช้ ายมีภรรยาหลายคนเป็ นเรื่องธรรมดา ขณะเขียนจดหมายฉบับแรกเขาอยู่ในเรื อ ง. ผูห้ ญิงสามารถไปไหนมาไหนได้ตามความสบายใจ โอยามะมะรู ง. จดหมายทุกฉบบั ในเร่ือง หัวใจชายหนุ่ม เป็ น 7. จากสานวนสุภาษิต “ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ ผูกอู่ตามใจผู้ จดหมายท่ีประพนั ธ์เขียนถึงประเสริฐ นอน” สอดคลอ้ งกบั เหตุการณ์ใดในเรื่อง หวั ใจชายหนุ่ม ก. ประพนั ธ์พอใจที่จะเลือกคู่รักด้วยตนเอง และ 3. การท่ีประพนั ธพ์ ยายามมองหาหญิงสาวในเรือเพือ่ จะได้ ไม่เห็นด้วยกบั การคลุมถุงชน สมาคมดว้ ย แสดงวา่ ประพนั ธ์เป็นคนอยา่ งไร ข. เมื่อประไพรู้ว่า ประพนั ธ์พี่ชายของตนพอใจในอุไร ก. เจา้ ชู้ จึงได้เป็ นแม่สื่อชักนาให้ท้ังคู่ ข. มีมนุษยสัมพนั ธ์ดีเลิศ ค. เมื่อประพนั ธ์ทราบเร่ืองการคบหาของอุไรกบั พระยา ค. รักความสนุกสนาน ตระเวนนคร จึงขอหย่าเพื่อให้อุไรไดท้ าตามต้องการ ง. มีความสามารถในการเตน้ รา ง. ประพนั ธ์พยายามเอาใจอุไรทุกอย่าง เพ่ือให้หล่อน รู้สึกพอใจในตัวเขา 4. “แน่ทีเดียวฉันไม่ไดป้ ล่อยให้โอกาสเช่นน้ัน เปลือง เปล่า และภายในเวลา 2 ชั่วโมง ที่ไป ดูไฟน้ัน 8. ลกั ษณะนิสยั ของอไุ รในขอ้ ใด ที่สงั คมไทยไม่ยอมรับ มาก นับว่าฉันกับแม่อุไรได้รู้จกั กนั ดีเกือบเท่ากับคนที่ได้ ท่ีสุด คุน้ เคยกนั มาแล้วตลอดชีวิต” จากพฤติกรรมของตวั ก. ไม่อยู่กับเหยา้ เฝ้ ากบั เรือน ละครขา้ งตน้ สอดคลอ้ งกบั สานวนสุภาษิตใด ข. ไม่รักนวลสงวนตัว ก. ปากปราศรัย น้าใจเชือดคอ ค. มีเพ่ือนผูช้ ายมากหน้า ข. กินบนเรือน ข้ีบนหลงั คา ง. ชอบเที่ยวกลางคืน ค. มือถือสาก ปากถือศีล ง. ชิงสุกก่อนห่าม
- ๒๘ - 9. จากเรื่อง หวั ใจชายหนุ่ม มีสิ่งใดท่ีเกิดข้ึนในสมยั รัชกาลท่ี 6 10. ขอ้ ใดแสดงวา่ พระพินิฐพฒั นากรและภรรยา เป็ นผู้ “ศิวไิ ลซ์” ก. มีการแสดงละครพูดที่ตวั ละครเป็ นชายจริงหญิง ตามความคิดของประพนั ธ์ แท้ ก. อนุญาตให้ประพนั ธ์และอุไรแต่งงานกนั โดยง่าย ข. รัฐบาลส่งเสริมใหค้ นไทยรับวฒั นธรรมตา่ งชาติ ข. ยอมให้ลูกสาวคุยกบั ผูช้ ายดึกๆ ด่ืนๆ เพ่ือความทนั สมยั ค. ตามทันค่านิยมแบบตะวนั ตก ค. นักเรียนนอกเรียกร้องให้ผูช้ ายไทยมีภรรยา ง. ใชข้ องท่ีมีราคาแพง หลายคน ง. การเดินทางโดยสารดว้ ยรถไฟ
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: