บทนำ แผนส่งเสริมการท่องเท่ียวองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ ฉบับนี้จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นกรอบแนวทางการพัฒนาด้านการท่องเท่ียวขององค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสมุทรสาคร ให้มีทิศทางการพัฒนาด้านท่องเท่ียวที่ชัดเจน เหมาะสม และสอดคล้องกับนโยบาย ด้านการท่องเที่ยวของประเทศ และยุทธศาสตร์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัด สมุทรสาคร จึงได้แต่งต้ังคณะทางานจัดทาแผนส่งเสริมการท่องเที่ยวองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร โดยคณะทางานประกอบด้วยตัวแทนจากทุกส่วนราชการในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร เพ่ือดาเนินการจัดทาแผนส่งเสริมการท่องเที่ยวองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ ซึ่งได้รบั ความร่วมมืออย่างดีย่งิ จากทุกสว่ นราชการ จึงขอขอบคุณไว้ ณ ทน่ี ้ี กนั ยายน ๒๕๖๑
สำรบัญ สว่ นท่ี ๑ สภาพท่ัวไปและข้อมลู พื้นฐาน หนำ้ ส่วนท่ี ๒ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาตฉิ บบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และ ๑ สว่ นที่ ๓ แผนพัฒนาจังหวดั สมทุ รสาคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) ๒๑ ส่วนท่ี ๔ แผนพฒั นาองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดสมทุ รสาคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) ๒๖ ๒๘ แผนพฒั นาการท่องเท่ียวขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดสมทุ รสาคร
๑ ส่วนท่ี ๑ สภำพท่วั ไปและขอ้ มูลพ้ืนฐำน 1. ขอ้ มูลท่ัวไปจังหวัดสมุทรสำคร 1.1 ประวัติควำมเป็นมำ จังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดชายทะเล ต้ังอยู่ปากแม่น้าท่าจีน จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ กล่าวไว้ว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีชุมชนขนาดใหญ่ต้ังอยู่บริเวณปากอ่าวไทยซึ่งมีชาวจีนนาเรือสาเภาเข้ามาจอด เทียบท่าค้าขายแลกเปล่ียนสินค้าและพักอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก จึงเรียกว่า “บ้านท่าจีน” ในสมัยแผ่นดินสมเด็จ พระมหาจักรพรรดิ (พ.ศ. 2099) ได้โปรดให้ยกฐานะ “บ้านท่าจีน” ข้ึนเป็น “เมืองสาครบุรี” เพื่อเป็นหัวเมือง สาหรับเรียกระดมพลเวลาเกิดสงครามและเป็นเมืองด่านหน้าป้องกันข้าศึกศัตรูที่จะเข้ามารุกรานบุกรุกทางทะเล ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดให้เปลี่ยนชื่อ “เมือง สาครบุรี” เป็น “เมืองสมุทรสาคร” ซ่ึงมีความหมายว่า “เมืองแห่งทะเลและแม่น้า” ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2448) ทรงปฏิรูปการปกครองมีการจัดระบบ การบริหารราชการส่วน ภูมิภาคเป็นมณฑลเทศาภบิ าลและได้ทรงมีพระราชดาริท่จี ะสร้างสรรคค์ วามเจริญให้แกท่ ้องถ่ิน โดยใช้การปกครอง รปู แบบสุขาภิบาล จึงได้มีพระบรมราชโองการให้ยกฐานะ “ตาบลท่าฉลอม” เป็น “สุขาภิบาลท่าฉลอม” เม่ือวันที่ 18 มนี าคม 2448 จึงถอื ไดว้ า่ สขุ าภิบาลทา่ ฉลอม เปน็ สขุ าภิบาลท่ตี ้งั ข้ึนในหวั เมืองเปน็ แห่งแรกของประเทศไทย ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 6 (พ.ศ. 2456) โปรดเกล้าให้ ทางราชการเปล่ียนคาว่า “เมือง” เป็น “จังหวัด” ท่ัวทุกแห่งในพระราชอาณาจักร “เมืองสมุทรสาคร” จึงได้เปล่ียนเป็น “จังหวัดสมุทรสาคร” ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาจวบจนถึงปัจจุบัน ส่วนคาว่า “มหาชัย” ที่คนท่ัวไป ชอบเรียกกันน้ัน เป็นช่ือคลองท่ีสมเด็จพระสรรเพชญที่ 8 แห่งกรุงศรีอยุธยาโปรดให้ขุดคลองลัดจากเมืองธนบุรี เป็นแนวตรงไปออกปากน้าเมืองสาครบุรีแทนคลองโคกขามท่ีคดเคี้ยว แต่ยังไม่ทันเสร็จทรงสวรรคตเสียก่อน จนถึงรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญท่ี 9 (ขุนหลวงท้ายสระ) โปรดให้ขุดคลองต่อจนแล้วเสร็จ และได้พระราชทานนามว่า คลองมหาชัย ซ่ึงต่อมา ณ บริเวณฝั่งซ้ายปากคลองได้เกิดชุมชนขนาดใหญ่ขึ้นช่ือว่า “มหาชัย” จึงเป็นที่นิยมเรียก ขานแตน่ นั้ เป็นต้นมา 1.2 ทต่ี ั้งและอำณำเขต จังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดชายทะเล ตั้งอยู่ริมแม่น้าท่าจีนในเขตพ้ืนที่ตอนล่างของภาคกลางของ ประเทศไทย หรือประมาณเส้นรุ้งท่ี 13 องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 100 องศาตะวันออก อยู่ในเขตปริมณฑลนคร หลวง ห่างจากกรุงเทพมหานครตามระยะทางรถไฟสายวงเวยี นใหญ่ - มหาชัย ประมาณ 30.1 กิโลเมตร และตาม ระยะทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 (พระราม 2) ประมาณ 30 กิโลเมตร มีขนาดพ้ืนท่ี 872.347 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 545,216 ไร่ ครอบคลุมพื้นท่ี 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองสมุทรสาคร 492.040 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 307,525 ไร่ อาเภอกระทุ่มแบน 135.276 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ84,547 ไร่ อาเภอบ้านแพ้ว 245.031 ตารางกโิ ลเมตร หรือประมาณ 153,144 ไร่ จังหวัดสมุทรสาคร มีอาณาเขตติดต่อ กบั จงั หวัดใกลเ้ คียงดงั น้ี
๒ ทิศเหนอื ติดต่อกับ จงั หวดั นครปฐม ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับ ทะเลอ่าวไทย ทศิ ตะวันออก ติดต่อกับ กรงุ เทพมหานคร ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กับ จังหวัดสมุทรสงครามและราชบุรี แผนที่จงั หวัดสมุทรสำคร 1.3 ลกั ษณะภมู ิประเทศ จังหวัดสมุทรสาครมีลักษณะภูมิประเทศเป็นท่ีราบลุ่มชายฝั่งทะเล สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 1.00 - 2.00 เมตร มีแม่น้าท่าจีนไหลผ่านตอนกลางจังหวัด ไหลคดเค้ียวตามแนวเหนือใต้ลงสู่ อ่าวไทย ท่ีอาเภอเมืองสมุทรสาคร ระยะทางยาวประมาณ 70 กิโลเมตร พื้นท่ีตอนบนในเขตอาเภอบ้านแพ้ว และ อาเภอกระทุ่มแบนมคี วามอดุ มสมบูรณ์ของดินและมีโครงข่ายแม่นา้ ลาคลองเช่ือมโยงถึงกนั กระจายอยทู่ ่วั พื้นท่ีกวา่ 170 สาย จึงเหมาะท่ีจะทาการเพาะปลูกพืชนานาชนิด และบางส่วนเป็นย่านธุรกิจ อุตสาหกรรมและท่ีอยู่อาศัย พ้ืนท่ีตอนล่างของจังหวัดในเขตอาเภอเมืองสมุทรสาครอยู่ติดชายฝ่ังทะเลยาว 41.8 กิโลเมตร จึงเหมาะที่จะ ประกอบอาชีพประมงทะเล เพาะเล้ียงสัตว์น้าชายฝ่ังและทานาเกลือ ในช่วงฤดูฝน บางพื้นทปี่ ระสบปัญหาน้าท่วมหนัก ทาใหเ้ ศรษฐกจิ ภาพรวมเสียหายอย่างมาก โดยเฉพาะการเกษตร ท่มี า : www.wikipedia.org, 18 ตุลาคม 2559
๓ 1.4 ลักษณะภมู อิ ำกำศ จังหวัดสมุทรสาครมีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบฝนเมืองร้อน เน่ืองจากได้รับอิทธิพลจากลมบก ลม ทะเล และมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดผ่านในช่วงฤดูร้อนจึงทาให้มีความชื้นในอากาศสูง มีฝนตกปานกลาง ปริมาณเฉล่ีย 1,056 มิลลิเมตรต่อปี อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 26 – 28 องศาเซลเซียส มีความช้ืนสัมพัทธ์ต่าสุด 50 สูงสุด 95 2. ด้ำนกำรเมอื ง กำรปกครอง 2.1 เขตกำรปกครอง จังหวัดสมทุ รสาครแบง่ เขตการปกครองออกเปน็ 3 อาเภอ 40 ตาบล 290 หมูบ่ า้ น ไดแ้ ก่ 1. อาเภอเมอื งสมทุ รสาคร มี 18 ตาบล 116 หมบู่ า้ น 2. อาเภอกระทมุ่ แบน มี 10 ตาบล 76 หม่บู ้าน 3. อาเภอบา้ นแพ้ว มี 12 ตาบล 98 หมู่บ้าน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ จานวน 38 แห่ง ประกอบดว้ ย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แหง่ เทศบาลนคร 2 แหง่ เทศบาลเมือง 1 แหง่ เทศบาลตาบล 9 แหง่ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล 25 แห่ง ตารางแสดงการแบง่ เขตการปกครองของจงั หวดั สมทุ รสาคร อำเภอ พื้นที่ จำนวนกำรแบง่ เขตกำรปกครอง หมำยเหตุ เมอื งสมทุ รสาคร (ตร.กม.) ตาบล หมู่บา้ น เทศบาล อบต. 492.040 1 เทศบาลนคร กระทมุ่ แบน 18 116 5 12 4 เทศบาลตาบล บ้านแพ้ว 135.276 1 เทศบาลนคร 10 76 4 6 1 เทศบาลเมือง รวม 245.031 2 เทศบาลตาบล 872.347 12 98 3 7 3 เทศบาลตาบล 25 40 290 12 ท่ีมา : แผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสาคร 4 ปี (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564) 2.2 กำรเลอื กตั้ง องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สมุทรสาครมีโครงสรา้ งแบ่งเปน็ 2 สว่ น คอื สภาองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั (นิติ บัญญัติ) และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (บริหาร) ท้ัง 2 ส่วนมีท่ีมาจากการเลือกตั้งของประชาชน โดยมี นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด จานวน 1 คน ใชเ้ ขตจงั หวัดเปน็ เขตเลือกต้ัง และสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน จังหวัด จานวน 24 คน แบ่งเป็น 24 เขตเลือกตั้ง โดยถือเกณฑ์จานวนราษฎรมาคานวณจานวนสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีคณะกรรมการการเลือกต้ังรับผิดชอบจัดการเลือกตั้งให้เป็นไปด้วยความสุจริต ยุติธรรรม และความเรยี บร้อย
๔ 3. ด้ำนประชำกร จังหวัดสมุทรสาครมีสภาพสังคมแบบกึ่งชนบทกึ่งเมือง ประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองส่วนใหญ่จะตั้ง บ้านเรือนกระจุกตัวอยู่ริมถนนสายหลักและสายรองมีลักษณะครอบครัวเด่ียว ส่วนการต้ังบ้านเรือนของประชากร ในชนบทจะกระจายตามริมแมน่ ้าลาคลอง ประชากรของจังหวัดสว่ นใหญ่เป็นคนไทยเชื้อสายจีน และเช้อื สายรามัญ ปัจจุบันประชากรตามทะเบียนราษฎรของจังหวัดสมุทรสาคร ณ วันที่ 1 กันยายน 2559 มีจานวนรวม 552,619 คน เป็นเพศชาย 266,842 คน เพศหญิง 285,777 คน ความหนาแน่นเท่ากบั 634 คนต่อตาราง กิโลเมตร อาเภอท่ีมีประชากรมากที่สุดคืออาเภอเมืองสมุทรสาคร มีประชากร 282,119 คน รองลงมาคืออาเภอ กระท่มุ แบน มปี ระชากร 170,983 คน และอาเภอบ้านแพ้ว มปี ระชากร 99,303 คน ตารางแสดงจานวนข้อมลู ประชากร ณ เดือนกนั ยายน พ.ศ.2559 พนื้ ทีก่ ำรปกครอง ชำย (คน) จำนวนประชำกร รวม (คน) 89,815 หญิง (คน) 187,232 อาเภอเมืองสมทุ รสาคร 31,820 97,417 64,908 - เทศบาลนครสมทุ รสาคร 2,870 33,088 5,782 - เทศบาลตาบลบางปลา 12,173 2,912 25,806 - เทศบาลตาบลนาดี 30,312 13,633 62,336 25,251 32,024 53,067 อาเภอกระทมุ่ แบน 11,815 27,816 24,599 - เทศบาลนครอ้อมน้อย 15,717 12,784 31,438 - เทศบาลเมอื งกระท่มุ แบน 23,278 15,721 48,273 - เทศบาลตาบลสวนหลวง 1,470 24,995 3,132 2,408 1,662 5,026 อาเภอบา้ นแพ้ว 19,913 2,618 41,020 - เทศบาลตาบลบ้านแพว้ 267,842 21,107 552,619 - เทศบาลตาบลเกษตรพฒั นา 285,777 - เทศบาลตาบลหลกั ห้า รวมทั้งจงั หวัด ทมี่ า : แผนพฒั นาจงั หวดั สมทุ รสาคร 4 ปี (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564) 4. สภำพทำงสังคม 4.1 กำรศึกษำ จังหวดั สมทุ รสาครมสี ถานศึกษาในพ้ืนท่ีรวมท้ังหมด 160 แห่ง แยกเป็นสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 114 แหง่ สานักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน 23 แห่ง สานักงานคณะกรรมการ อาชีวศึกษา 3 แห่ง สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา 2 แห่ง และองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ 18 แหง่
๕ ตารางแสดงจานวนสถานศึกษาในระบบ ข้อมูล ณ เดือนกันยายน พ.ศ.2559 สงั กดั สถานศึกษาตามประเภท ห้องเรยี น นักเรยี น คร/ู ครู : นร. นร. : หอ้ ง พ้ืนฐาน อาชีวะ อดุ มฯ รวม บคุ ลากร 1. กระทรวงศึกษาธกิ าร 1,830 38,304 1 : 13 1 : 21 1.1 สพฐ. 103 - - 103 352 13}299 2,920 1 : 18 1 : 38 11 - - 11 700 1 : 19 1 : 26 1) สพป. 512 14}378 1 : 16 1 : 27 2) สพม. 23 - - 23 743 1 : 13 1 : 15 1.2 สป.ศธ. 139 3}721 1 : 12 1:6 1) สช. -1 -1 23 343 230 1 : 13 1 : 19 1.3 สอศ. -1 -1 105 700 26 1) วทิ ยาลยั เทคนคิ -1 -1 56 1 : 23 1 : 37 2) วทิ ยาลยั ประมง 16 307 1 : 14 1 : 23 3) วทิ ยาลยั การอาชพี -- 11 24 1 : 16 1 : 28 1.4 สกอ. 413 15,413 1) วิทยาลยั ชมุ ชน 17 - - 17 9 210 663 2. กระทรวงอืน่ -1 -1 15 2.1 มท. 23 646 1) สามญั -- 11 3,070 87,321 41 2) อาชวี ะ 154 4 2 160 4,718 2.2 กกท. 1) สถาบนั พลศึกษาฯ รวม ที่มา : แผนพัฒนาจังหวดั สมทุ รสาคร 4 ปี (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564) จากข้อมูลท่ีสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาครและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 10 ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจา้ งครูเสริมการเรียนการสอนจากองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด สมุทรสาคร ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2559 จังหวัดสมุทรสาคร ขาดแคลนอัตรา ครูผู้สอน จานวน 229 อัตรา แยกเป็นสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 175 อัตรา และ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 54 อัตรา ทาให้เกิดปัญหาครูสอนไม่ครบชั้นเรียนและไม่ เพยี งพอกับจานวนอตั ราสาขาวิชาทีต่ ้องการ องค์การบริหารสว่ นจังหวัดสมทุ รสาครมโี รงเรียนในสังกัด จานวน 2 แหง่ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นบ้านปลอ่ งเหลี่ยม (จดั การศึกษาตั้งแตร่ ะดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาปที ี่ 6) และโรงเรียนวัดหลกั ส่ีราษฎร์สโมสร (จัดการศึกษาตงั้ แต่ ระดับอนุบาลจนถึงประถมศึกษาปีท่ี 6) ขอ้ มลู ณ เดือนกันยายน 2559 มีจานวนครแู ละนกั เรยี น ดังน้ี
๖ ตารางแสดงจานวนครโู รงเรยี นในสังกดั องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดสมุทรสาคร ช่ือสถำนศกึ ษำ จำนวนครู รวม ข้ำรำชกำร อตั รำจำ้ ง 1. โรงเรียนบา้ นปลอ่ งเหลย่ี ม 50 2. โรงเรียนวัดหลักสี่ราษฎรส์ โมสร 34 16 32 30 2 82 รวม 64 18 4.2 สำธำรณสขุ จังหวัดสมุทรสาครมีโรงพยาบาลของรัฐและในกากับของรัฐ จานวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล สมุทรสาคร โรงพยาบาลกระทุ่มแบน โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์กรมหาชน) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จานวน 54 แห่ง และมีศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล จานวน 5 แห่ง (เทศบาลนครสมุทรสาคร 3 แห่ง เทศบาลนครอ้อม นอ้ ย 1 แหง่ และเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน 1 แห่ง) 5. ระบบบริกำรขัน้ พน้ื ฐำน 5.1 กำรคมนำคมขนส่ง 1) ทำงรถยนต์ มีถนนสายหลกั ทสี่ าคัญ 4 สาย ได้แก่ - ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 35 (ถนนพระราม 2) เปน็ ถนนทีผ่ า่ นพื้นทก่ี รงุ เทพมหานคร จังหวัด สมทุ รสาคร จังหวดั สมทุ รสงคราม และจงั หวัดราชบรุ ี ระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เปน็ ถนนสายหลักในการเดินทางสู่ภาคใต้ ซึ่งผ่านอาเภอกระทุม่ แบน จงั หวัดสมทุ รสาคร - ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3242 (ถนนเอกชัย) เปน็ เสน้ ทางเช่ือมตอ่ ระหวา่ งกรุงเทพมหานคร กบั จังหวดั สมุทรสาคร - ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 375 (ถนนสายบา้ นแพว้ – พระประโทน) เปน็ ถนนที่เชือ่ มระหว่าง ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) กับทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 35 (ถนนพระราม 2) 2) ทำงรถไฟ มีสายวงเวียนใหญ่ - มหาชัย เร่ิมต้นท่ีสถานีวงเวียนใหญ่ กรุงเทพมหานคร ถึงสถานี มหาชัย อาเภอเมืองสมุทรสาคร (ระยะทาง 33.1 กม.) และทางรถไฟสายมหาชัย - แม่กลอง เร่ิมต้นท่ีสถานีบ้าน แหลม ตาบลท่าฉลอม อาเภอเมืองสมุทรสาคร ถึงสถานีแม่กลอง อาเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม (ระยะทาง 33.7 กม.) 3) ทำงน้ำ สภาพท่ัวไปในท้องที่จังหวัดมีแม่น้าลาคลองจานวนมาก แม่น้าลาคลองที่ใช้เป็นเส้นทาง คมนาคมทางน้าที่สาคัญ ได้แก่ แม่น้าท่าจีน คลองมหาชัย คลองพิทยาลงกรณ์ คลองสุนัขหอน คลองภาษีเจริญ คลองบางยาง และคลองดาเนินสะดวก การคมนาคมทางน้าส่วนใหญ่จะใช้เรือยนต์โดยสาร เรือยนต์บรรทุกสินค้า ตลอดจนเรือแจว/เรือพาย เดินทางไปมาระหว่างตาบล หมู่บ้าน อาเภอ และจังหวัด ปัจจุบันมีเรอื หางยาวรับจ้างขนส่ง ผู้โดยสาร ทาใหเ้ กดิ ความสะดวกย่งิ ข้นึ ในการเดนิ ทาง
๗ 5.2 กำรไฟฟำ้ ปัจจุบันการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคให้บริการกระแสไฟฟ้าแก่ประชาชนครบทุกอาเภอ ทุกตาบล และ ทุกหมู่บ้านแล้ว ข้อมูลผู้ใช้ไฟฟ้าในจังหวัดสมุทรสาคร ณ เดือนสิงหาคม 2559 ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 (ภาคกลาง) จังหวัดนครปฐม มีจานวนผู้ใช้ไฟฟ้าท้ังส้ิน 236,828 ราย จานวนกระแสไฟฟ้า 3,803 หน่วย จาแนกเป็นผู้ใช้ไฟฟ้าเพื่อการอยู่อาศยั จานวน 195,612 ราย สถานธุรกจิ และอุตสาหกรรม จานวน 35,513 ราย สถานทีร่ าชการและสาธารณะ 1,750 ราย และอืน่ ๆ จานวน 3,953 ราย 5.3 กำรประปำ 1) การประปาส่วนภูมิภาค สาขาสมุทรสาครรับผิดชอบจาหน่ายน้าประปาบริการประชาชนในเขต พื้นท่ีอาเภอเมืองสมุทรสาคร มี 11 ตาบล ประกอบด้วย ตาบลท่าฉลอม ตาบลท่าจีน ตาบลบางหญ้าแพรก ตาบลบางกระเจ้า ตาบลบางโทรัด ตาบลชัยมงคล ตาบลท่าทราย ตาบลนาดี ตาบลบางน้าจืด ตาบลพันท้ายนรสิงห์ ตาบลนาโคก และอาเภอกระทุ่มแบน 5 ตาบล ประกอบด้วย ตาบลคลองมะเดื่อ ตาบลแคราย ตาบลสวนหลวง ตาบลท่าเสา ตาบลดอนไก่ดี ข้อมูล ณ เดือนสิงหาคม 2559 มีจานวนผู้ใช้น้าท้ังหมด 62,407 ราย ปริมาณน้า ผลิต 6,404,577 ลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้าจาหน่าย 4,581,587 ลูกบาศก์เมตร (ที่มา : แผนพัฒนาจังหวัด สมุทรสาคร 4 ปี พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564) 2) สานักงานการประปาส่วนภูมิภาคอ้อมน้อย รับผิดชอบจาหน่ายน้าประปาบริการประชาชน ในเขตพ้ืนท่ีตาบลอ้อมน้อย ตาบลสวนหลวง ตาบลท่าไม้ จังหวัดสมุทรสาคร ตาบลไร่ขิง ตาบลกระทุ่มล้ม ตาบล บางระทึก ตาบลบางเตย ตาบลศาลายา ตาบลคลองโยง ตาบลมหาสวัสดิ์ ตาบลทรงคะนอง จังหวัดนครปฐม แขวงหนอง คา้ งพลู กรุงเทพฯ 5.4 โทรศัพท์ การให้บริการโทรศัพท์ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาครอยู่ในความรับผิดชอบของบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) มีชุมสายโทรศัพท์ 3 แห่ง ได้แก่ ชุมสายโทรศัพท์สมุทรสาคร ชุมสายโทรศัพท์กระทุ่มแบน และ ชมุ สายโทรศัพท์บ้านแพ้วมีเลขหมายท่ีมีผู้เช่าใช้บริการ 55,777 เลขหมาย จาแนกเป็นโครงข่ายของ TOT จานวน 27,999 เลข (ทมี่ า : แผนพฒั นาจงั หวดั สมุทรสาคร 4 ปี พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564) 6. ระบบเศรษฐกจิ 6.1 กำรเกษตร จังหวัดสมุทรสาครมีศักยภาพทางเกษตรกรรมสูง เนื่องด้วยลักษณะภูมิประเทศที่ติดทะเลอ่าวไทย มีโครงข่ายแม่น้าลาคลองท่ีเชื่อมโยงถึงกันกระจายอยู่ทั่วพ้ืนที่ ภาคการเกษตรจึงถือเป็นแหล่งรายได้สาคัญของ จังหวัด ข้อมูลจากสานักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ.2558 จังหวัดสมุทรสาครมีพ้ืนที่ด้านการเกษตร ทั้งหมด 153,792.34 ไร่ จากพ้ืนที่ทง้ั หมดของจังหวัด 545,216 ไร่ (รอ้ ยละ 28.21)
๘ ตารางแสดงพืน้ ทีก่ ารทาเกษตรจงั หวัดสมทุ รสาคร ปี พ.ศ.2558 ขอ้ มูล จังหวัด อำเภอเมอื งฯ อำเภอกระทมุ่ แบน อำเภอบ้ำนแพว้ พน้ื ทที่ งั้ หมด (ไร)่ 545,216 307,525 84,547 153,144 พนื้ ท่ีการเกษตรด้านพชื ท้งั หมด 97,486 3,983 21,617 71,886 (ไร)่ พืน้ ทกี่ ารเกษตรดา้ นประมง 56,306.34 41,608.62 1,689.97 3,007.75 ทง้ั หมด (ไร)่ จานวนเกษตรกรดา้ นพชื 10,541 2,682 2,580 5,279 จานวนเกษตรกรดา้ นประมง 3,197 1,805 344 1,048 ทีม่ า : แผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสาคร 4 ปี (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564) ตารางแสดงสนิ ค้าเกษตรดา้ นพืชท่มี ศี กั ยภาพของจงั หวดั สมุทรสาคร ปี พ.ศ.2558 ชนดิ เกษตรกร จำนวนพ้ืนท่ี ผลผลิตเฉลี่ย ผลผลิตรวม รำคำเฉลี่ย มูลค่ำผลผลติ (รำย) (ไร่) (ตนั ต่อไร่) (ตัน) (บำท/ตนั ) (ล้ำนบำท) 1.กลว้ ยไม้ 503 4,769 60,000 658.122 2.มะนาว 878 8,783 2.3 10,968.7 60,000 1,212.054 3.มะพรา้ วออ่ น 1,403 2.3 20,200.9 10,000 401.280 4.ฝร่งั 1,311 13,376 3.0 40,128 20,000 530.100 5.มะม่วง 1,315 8,835 3.0 26,505 20,000 714.728 6.ลาไย 161 12,763 2.8 35,736.4 50,000 167.895 7.ขา้ วนาปรัง 350 1,599 2.1 3,357.9 7,500 51.536 8.ขา้ วนาปี 195 9,162 0.75 6,871.5 20,000 62.760 9.แก้วมังกร 141 1,569 2.0 40,000 84.364 10.ชมพู่ 503 917 2.3 3,138 60,000 658.122 4,769 2.3 2,109.1 10,968.7 ที่มา : แผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสาคร 4 ปี (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564) พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดสมุทรสำคร (ที่มา : แผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสาคร 4 ปี พ.ศ. 2561 – พ.ศ.2564) มะพร้ำวน้ำหอม เป็นพืชอีกชนิดหนึ่งท่ีมกี ารปลูกกันอย่างกว้างขวาง เน่ืองจากมีคุณลักษณะพิเศษ คือ น้ามะพร้าวและเน้ือมะพร้าวมีรสชาติหวานกลมกลอมและมีกลิ่นหอมชื่นใจ เนื่องจากสภาพดินของจังหวัด สมุทรสาครมีความอุดมสมบูรณเหมาะสม และปัจจุบันเป็นพืชที่นิยมบริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวท่ีเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวก็นิยมรับประทาน พืนที่เพาะปลูก 13,376 ไร่ พ้ืนที่เก็บเก่ียว 13,376 ไร่ ปริมาณผลผลิต 40,128 ตนั มลู คา่ การผลติ 401.2 ล้านบาท มะนำว เป็นไม้ผลตระกูลส้มประเภทหนึ่งที่ปลูกกันอย่างแพรหลาย โดยแหล่งปลูกที่สาคัญของจังหวัด สมุทรสาคร ได้แก่ อาเภอบ้านแพ้ว อาเภอกระทุ่มแบน และบางส่วนของอาเภอเมืองสมุทรสาคร จัดได้ว่าเป็นพืชที่มี ความสาคัญทางเศรษฐกิจที่ตลาดมคี วามตอ้ งการสูงตลอดท้ังปี และจากอัตราการเพมิ่ ของพลเมอื งและการขยายตวั
๙ ทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มคอ่ นข้างสูง รวมท้ังการขยายตวั ของภาคอุตสาหกรรม ซงึ่ มีการนามะนาวมาใช้เป็นวตั ถุดิบ อีกมากมาย จึงทาให้มะนาวมีบทบาทสาคัญทางการค้ามากย่ิงข้ึน โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง ประมาณเดือน มนี าคม – เดือนเมษายน ของทุกปีมะนาวจะมรี าคาสูงกว่าปกติ พ้ืนที่เพาะปลูก 8,783 ไร่ พ้นื ที่เก็บเกย่ี ว 8,783 ไร่ ปริมาณผลผลิต 20,200 ตนั มูลคา่ การผลติ 1,212 ล้านบาท มะม่วง เป็นไม้ผลขนาดใหญ่อายุยืนแขง็ แรง นอกจากผลของมะมว่ งแล้วยังสามารถใช้ประโยชน์จาก ต้นหรือเนื้อไม้ได้อีกด้วย เช่น การก่อสร้างการทาฟืน ทาถ่าน เป็นต้น โดยท่ัวไปแล้วมะม่วงเป็นพืชที่ชอบลักษณะ อากาศท่ีแห้งแล้งและชุ่มชื่นหรือมีฝนตกสลับกันเป็นชว่ ง ๆ พื้นท่ีเพาะปลูก 12,763 ไร่ พ้ืนท่ีเก็บเก่ียว 12,763 ไร่ ปริมาณผลผลิต 35,736 ตนั มูลค่าการผลิต 714.7 ลา้ นบาท กล้วยไม้ เป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญชนิดหน่ึงของจังหวัดสมุทรสาคร โดยมีพ้ืนที่ปลูกกล้วยไม้ทั้งหมด 4,198 ไร่ แหล่งปลูกท่ีสาคัญ ได้แก่ อาเภอเมืองสมุทรสาคร อาเภอบ้านแพ้ว และอาเภอกระทุ่มแบน แหล่งปลูก ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอาเภอกระทุ่มแบน ตลาดกล้วยไม้มีความต้องการของผู้บริโภคท่ีสูงขึ้นทุกปี จึงมีโอกาสขยาย ตลาดได้อีกมาก พื้นท่ีเพาะปลูก 4,769 ไร่ พ้ืนที่เก็บเก่ียว 4,769 ไร่ ปริมาณผลผลิต 10,968.7 ตัน มูลคา่ การผลติ 658.1 ลา้ นบาท 6.2 กำรประมง โดยศักยภาพของจังหวัดสมุทรสาครท่ีมีที่ตั้งติดทะเลอ่าวไทยตอนใน (รูปตัว ก) อีกท้ังเป็นเมืองปาก แม่น้าที่กระแสน้าพัดพาเอาตะกอนแร่ธาตุมาทับถมสะสมกันจนเกิดเป็นหาดเลน ทาให้มีความอุดมสมบูรณ์ของ ทรัพยากรป่าชายเลนและสัตว์น้านานาชนิด ก่อให้เกิดอาชีพท่ีสาคัญอย่างการทาประมง ทั้งการทาประมงชายฝั่ง และการทาประมงนอกน่านน้า ปัจจุบันการประมงและธุรกิจเก่ียวเนื่องจากการประมงสามารถสร้างรายได้ให้กับ จังหวัดและประเทศเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ในเขตอาเภอบ้านแพ้วยังเป็นแหล่งเพาะเล้ียงสัตว์น้าจืดท่ีสาคัญ เช่น ปลาสลดิ ปลานลิ เป็นตน้ ตารางแสดงสินค้าประมงทม่ี ศี ักยภาพของจังหวดั สมุทรสาคร ปี พ.ศ.2558 รำยกำร เกษตรกร (รำย) จำนวนพ้ืนที่ (ไร)่ ผลผลิตรวม รำคำ/กก. มลู ค่ำผลผลติ (กก.) (ล้ำนบำท) 1. ปลาสลดิ 310 8,240.85 79.40 438.038 2. ก้งุ ขาว 822 10,566.02 5,516,859.62 113.43 687.134 3. หอยแครง 655 19,154.08 6,057,784.64 121.29 319.850 4. ปลานลิ 430 4,491.29 2,637,070.63 48.79 100.843 5. กงุ้ กุลาดา 376 10,297.53 2,066,894.83 250.00 91.647 6. ปลากะพง 65 366,591.93 98.25 17.226 7. ปลาดกุ 46 606.50 175,334.31 33.50 13.410 8. กงุ้ ก้ามกราม 10 223.40 400,304.67 172.62 9.967 9. ปลาตะเพียน 252 157.00 34.98 6.805 10. หอยแมลงภู่ 126 920.25 57,743.00 15.00 18.064 766.00 194,529.08 1,204,322.22 ที่มา : แผนพฒั นาจังหวัดสมทุ รสาคร 4 ปี (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564)
๑๐ 6.3 กำรปศสุ ตั ว์ การปศุสัตว์ถือว่ามีค่อนข้างน้อยเม่ือเทียบกับภาคการเกษตรและภาคการประมง อีกทั้งมีโรงงาน อุตสาหกรรมที่รองรับแรงงานจานวนมาก ประชาชนจึงหันไปทางานในโรงงานอุตสาหกรรม การประกอบอาชีพ เลีย้ งสตั ว์จงึ ไม่ได้รับความสนใจมากนกั 6.4 กำรทอ่ งเที่ยว จังหวัดสมุทรสาคร มีศักยภาพพร้อมในทุกด้านที่จะเป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติ เห็นชอบกาหนดให้จังหวัดสมุทรสาครเป็นแหล่งท่องเท่ียวเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2539 เน่ืองจากมีแหล่งท่องเท่ียวที่ น่าสนใจซ่ึงมีความสาคัญทั้งประเภทธรรมชาติ สถานท่ีสาคัญทางประวัติศาสตร์และศาสนสถาน ตลอดจน ศลิ ปวฒั นธรรมประเพณี จงั หวัดสมุทรสาครมีสถานที่ทีเ่ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วสาคัญ ดังน้ี 1) ปำกอ่ำวสมุทรสำคร เป็นสถานที่ท่องเท่ียวทางธรรมชาติซ่ึงจะได้สัมผัสกับธรรมชาติของปากอ่าว ไทย ป่าชายเลนตลอดทางไปปากอ่าวเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่มีช่ือเสียงทางด้านอาหารทะเลสินค้าและผลิตผลจาก ทะเล ซ่ึงจะมีนักท่องเท่ียวไปพักผ่อนและท่องเที่ยวเป็นจานวนมาก เน่ืองจากได้มีโอกาสสัมผัสธรรมชาติของ ปากอ่าว ซึ่งเป็นจุดสุดท้ายท่ีแม่น้าท่าจีนไหลลงสู่ทะเล และช่ืนชมชีวิตความเป็นอยู่ในพ้ืนเมืองของหมู่บ้าน ชาวประมง 2) นำกุ้ง นำเกลือ ในเขตอาเภอเมืองสมุทรสาคร มีชายฝ่ังทะเลท่ีเหมาะสมกับการทานากุ้ง นาเกลือ หลายแห่ง “แหล่งนาเกลือ” ที่ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งใหญ่อันดับ 2 ของประเทศ โดยจะเห็นกองเกลือสีขาวสะอาด มีกังหันวิดน้าหมุนเล่นลมกระจายอยู่ท่ัวพ้ืนท่ี โดยเฉพาะที่ตาบลกาหลง นาโคก บ้านบ่อ บางโทรัด โคกขาม พันท้ายนรสิงห์ บางหญ้าแพรก และบริเวณสองข้างทางพระราม 2 จะเห็นทัศนียภาพท่ีสวยงามเกิดความประทับใจแก่ นกั ทอ่ งเที่ยวท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศเป็นอยา่ งยิง่ 3) ตลำดมหำชัย (ท่าเรือเทศบาล) ตั้งอยู่ริมแม่น้าท่าจีน นับเป็นศูนย์กลางการค้าและการคมนาคมของ สมุทรสาคร ตลาดมหาชัยมีท่าเรือหลายแห่ง เป็นท่าเรือเมล์ทีไ่ ปสู่ท้องท่ีตาบลต่างๆ และสามารถเชา่ เรือหางยาวไป เทีย่ วคลองโคกขามได้ 4) หมู่บ้ำนชำวประมงท่ำฉลอม ตาบลท่าฉลอม เป็นตาบลใหญ่และเป็นสุขาภิบาลหัวเมืองแห่งแรก ของประเทศไทย มีตลาดและกิจการต่อเรือเรียงรายอยู่บนฝั่งแม่น้าท่าจีน การเดินทางไปท่าฉลอมสามารถข้ามฟาก ที่ท่าเรือเทศบาลหรือทางรถยนต์ตามเส้นทาง สายธนบุรี - ปากท่อ (พระราม 2) ข้ามสะพานข้ามแม่น้า ท่าจีนแล้ว แยกซ้ายเข้าตาบลทา่ ฉลอม 5) สะพำนปลำ สะพานปลาตั้งเป็นสะพานปลาที่มีขนาดใหญ่แห่งหนึ่งท่ีใช้ในการลาเลียงขนถ่าย ผลิตภัณฑ์สัตว์น้าจากทะเลทุกชนิดอยู่ในเขตเทศบาลนครสมุทรสาคร เป็นศูนย์กลางการค้าอาหารทะเลนานาชนิด และเป็นแหลง่ เงนิ ตราสะพัดหมนุ เวยี นวันละหลายลา้ นบาท 6) ป้อมวิเชียรโชฎกและศำลหลักเมอื ง ตั้งอยู่ที่ตาบลมหาชยั สถานท่ีทั้งสองแห่งอยู่บริเวณใกล้กัน ห่างจากศาลากลางจังหวัด 200 เมตร สร้างข้ึนในสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.2370 เพื่อป้องกันข้าศึกทางทะเล ก่อด้วยอิฐปูนสูง 7 ศอก ไม่มีป้อมยามมีแต่หอรบและปืนโบราณบรรจุตามช่องลม ปจั จบุ ันชารดุ หักพังมีปรากฏอยบู่ างส่วนเท่านนั้
๑๑ 7) ปล่องเหลีย่ ม ตัง้ อยู่รมิ แม่น้าทา่ จนี บริเวณโรงเรยี นบา้ นปล่องเหลย่ี ม ซง่ึ เปน็ สถานศึกษาในสงั กัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร ตาบลท่าไม้ อาเภอกระทุ่มแบน เป็นปล่องเตาไฟของโรงงานผลิตน้าตาลทราย ของฝ่ังชาติโปรตุเกส สร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ.2367 มีอายุร้อยกว่าปีก่อด้วยอิฐทรงแปดเหล่ียมกว้างด้านละ 1 เมตร แลว้ เรยี งข้นึ ไปจนถงึ ปลายสูงประมาณ 30 เมตร 8) ศำลพันทำ้ ยนรสิงห์ ตั้งอยู่ท่ีตาบลพันท้ายนรสิงห์ อาเภอเมืองสมทุ รสาคร เป็นศาลที่สร้างข้นึ เป็น อนุสรณ์แก่พันท้ายนรสิงห์ในคราวท่ีคัดท้ายเรือพระท่ีนั่งเอกชัยจนหัวเรือชนกิ่งไม้ใหญ่ริมคลองโคกขามทาให้หัวเรือ หักตกน้า และพันท้ายนรสิงห์ยอมรับโทษประหารชีวิตตามกฎมณเฑียรบาลเพื่อรักษาระเบียบแบบแผน ราชประเพณี ศาลเดิมสร้างขึ้นในสมัยพระพุทธเจ้าเสือตั้งอยู่ในคลองโคกขามตาบลพันท้ายนรสิงห์ห่างจาก ตัวจังหวัด 7 กิโลเมตร ศาลพันท้ายนรสิงห์ถือได้ว่าเป็นอนุสรณ์แห่งความซ่ือสัตย์ที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ สมควรเผยแพร่วีรกรรมให้เป็นไปที่รู้จกั และเป็นตัวอยา่ งให้เยาวชนร่นุ หลังได้จดจาและภาคภูมใิ จในความกล้าหาญ ของบรรพบุรุษไทย 9) วัดโคกขำม ต้ังอยู่ริมคลองโคกขาม เป็นวัดเก่าแก่สมัยกรุงศรีอยุธยาภายในวัดมีโบราณวัตถุ ที่เก่ียวพันกับพันทา้ ยนรสิงห์หลายอย่าง เชน่ บษุ บกของพระเจ้าเสอื ซง่ึ โปรดให้ยกขน้ึ จากเรอื พระที่นั่งเอกชยั เปน็ ตน้ 10) วัดสุทธิวำตวรำรำมหรือวัดช่องลม เป็นพระอารามหลวง ตั้งอยู่ปากอ่าวสมุทรสาคร ตาบลท่าฉลอมในบริเวณวัดเป็นที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์รัชกาลท่ี 5 สร้างข้ึนเพ่ือเฉลิมพระเกียรติ ท่ีพระองค์เสด็จพระราชดาเนินท่าฉลอมและทรงต้ังเป็นสุขาภิบาลแห่งแรกของประเทศไทย นอกจากน้ี จังหวัดร่วมกับภาคเอกชนและชาวจังหวัดสมุทรสาครได้จัดสร้างพระโพธิสัตว์กวนอิมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เน่ืองในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ข้ึนในบริเวณวัดด้วย จึงทาให้วัดช่องลมแห่งนี้เป็น ศาสนสถานท่ีเป็นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัด รวมท้ังเป็นสถานท่ีตากอากาศได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะอย่างย่ิง ในยามเยน็ จะมที ศั นียภาพท่งี ดงามมาก 11) วัดใหญ่จอมประสำท เป็นวัดเก่าแก่สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิต้ังอยู่ริมแม่น้าท่าจีน ตาบลท่าจีน อาเภอเมืองสมุทรสาคร ห่างจากตัวจังหวัด 4 กิโลเมตรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนามว่า \"วัดใหญ่สาครบุรี\" ยกฐานะเป็นพระอารามหลวง รวมทั้งได้พระราชทานพระไตรปิฎก บรรจุตู้กระจกมาประดิษฐาน ณ วัดนี้ จากหลักฐานซ่ึงเป็นโบราณสถานและโบราณวัตถุ โดยเฉพาะวิหารเก่า สันนิษฐานว่าวดั นี้สร้างมาไม่ต่ากว่า 500 ปี นอกจากนี้ ยังมีเจดียเ์ ก้าชั้นทีห่ ักพังทลายอยูด่ ้านหลังรวมท้ังศาลาการ เปรียญท่ีสร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นอาคารก่ออิฐปูนยกพ้ืนใต้ถุนสูง ช่องหน้าต่างมีรูปทรง แปลกตา เช่น รูปใบโพธิ์ รูปไข่ รูปส่ีเหล่ียมย่อมุม ที่กรอบของศาลาประกอบด้วยลวดลายจาหลักสวยงาม รปู ทรงภายนอกเป็นแบบโค้ง ดา้ นหน้า ด้านหลงั เชิด 12) วัดป่ำชัยรังสี ตั้งอยู่ท่ีตาบลบ้านเกาะ อาเภอเมืองสมุทรสาคร เป็นวัดท่ีสร้างขึ้นตั้งแต่ปี 2525 ส่ิง ท่ีน่าสนใจ คือ รูปแบบสถาปัตยกรรมท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวบนเนื้อท่ี 200 ไร่ ห่างจากตาบลมหาชัยไปตาม เส้นทางถนนสายเศรษฐกิจประมาณ 5 กิโลเมตร แยกซ้ายบริเวณหลักกิโลเมตรท่ี 16 (ตรงข้ามสถานีไฟฟ้าย่อย) เข้า ไป 1.5 กโิ ลเมตร 13) วัดบำงปลำ ต้ังอยู่ริมแม่น้าท่าจีนในท้องท่ีตาบลบ้านเกาะ อาเภอเมืองสมุทรสาคร สันนิษฐานว่า สร้างในสมัยราชกาลที่ 2 และเม่ือ พ.ศ.2447 รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จประพาสต้นลาน้าท่าจีนและทรงสนพระทัยวัด บางปลา จึงได้เสด็จข้ึนประทับเสวยพระกระยาหารกลางวัน ณ ศาลาทา่ น้าวัดบางปลา สิ่งท่สี นใจนอกจากวิหารเก่า แลว้ ภาพพุทธประวัตอิ ายกุ วา่ 200 ปี โดยจิตรกรชาวศรีลงั กาและชาวยโุ รปเป็นสงิ่ ทรงคณุ คา่ ทห่ี าชมได้ยาก
๑๒ 14) วัดนำงสำว ตั้งอยู่ตาบลท่าไม้ อาเภอกระทุ่มแบน มีโบสถ์ลักษณะพิเศษท่ีเรียกว่า “โบสถ์มหา อุตม์” มีประตูเดียวไม่มีหน้าต่าง เดิมชื่อ “วัดพรหมจารีราม” ต่อมาชาวบ้านเรียกใหม่ว่าวัดน้องสาวแล้ว จึงเพี้ยน มาเป็น “วัดนางสาว” บริเวณหน้าวัดติดกับแม่น้าท่าจีนมีอุทยานมัจฉาซ่ึงมีปลาสวายเป็นจานวนมากอาศัยอยู่ นักท่องเที่ยวนยิ มมาเทีย่ วชมและให้อาหารแกฝ่ งู ปลาเปน็ จานวนมาก 15) วัดเกตุมวดีศรีวรำรำมและวัดบัณฑูรสิงห์ ตั้งอยู่ริมถนนพระราม 2 บริเวณกิโลเมตรท่ี 42 ภายในวัดมีเจดยี น์ าคใหญ่ รูปจาลองและสงิ่ ก่อสรา้ งท่มี ีความเกี่ยวเน่ืองกบั พุทธศาสนา ส่วนวัดบัณฑูรสิงห์จะมีเรอื ขดุ 16) วัดแหลมสุวรรณำรำม ตั้งอยู่ถนนถวาย ตาบลท่าฉลอม อาเภอเมืองสมุทรสาคร ไม่มีหลักฐาน ปรากฏชัดเจนเก่ียวกับการสร้างวัด สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. ๒๓๖๙ มีหลวงพ่อปู่อันศักดิ์สิทธ์ในอุโบสถไม้สักอายุ กวา่ 200 ปี และเปน็ อุโบสถหลงั เดียวในประเทศไทยทช่ี ่อฟ้าด้านหนึ่งเปน็ พญานาคและอีกดา้ นหนึ่งเป็นมังกร 17) วัดโกรกกรำก ต้ังอยู่ริมแม่น้าท่าจีน ตาบลโกรกกราก อาเภอเมืองสมุทรสาคร มีพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธ์ิใส่แว่นตาเนื้อศิลาแลงสมัยสุโขทัยประดิษฐานอยู่ในอุโบสถ ครั้งหนึ่งได้เกิดโรคตาแดงระบาดไปท่ัวบ้าน โกรกกราก การแพทย์ยงั ไม่เจรญิ รกั ษากันตามมีตามเกิดแตก่ ็ไมห่ าย ด้วยความเล่ือมใสศรทั ธาองค์พระศลิ าแลงกันมา นาน จึงได้พากันมาบนบานศาลกล่าวถ้าตาหายเจ็บหายแดงจะนาแผ่นทองมาปิดที่ดวงตาขององค์พระศิลาแลง ผล ปรากฏว่าตาหายแดงกันทง้ั หมู่บ้าน ชาวบ้านจึงได้นาแผ่นทองมาปิดที่ตาขององค์พระศิลาแลงเต็มไปหมด ครัน้ พระ ครธู รรมสาครญาณวฒโนหรอื หลวงปกู่ รับได้รับแตง่ ต้ังใหเ้ ปน็ เจา้ อาวาสมาพบเห็นเขา้ จึงหาอุบายเพื่อท่ีจะไม่ให้ญาติ โยมปิดทองที่ดวงตาองค์พระศิลาแลงจึงได้นาแว่นตามาใส่ให้กับองค์พระศิลาแลง หลังจากองค์พระศิลาแลงใส่ แวน่ ตาแลว้ ชาวบ้านโกรกกรากและใกลเ้ คยี ง จึงได้นาแวน่ ตามาถวายแทนการ ปิดทองท่ีดวงตา จนถือปฏิบตั ิเป็น ประเพณตี ั้งแต่บัดนนั้ เปน็ ต้นมา และได้ขนานนามทา่ นว่า “หลวงพอ่ ปู่” 18) วัดทำ่ กระบือ ตัง้ อยู่ตาบลบางยาง อาเภอกระท่มุ แบน ไม่มีหลักฐานทชี่ ้ีชดั เกี่ยวกับการสรา้ งวัด ประมาณวา่ สร้างขึ้นในราว พ.ศ.๒๔๓๙ เดิมทีเริ่มเปน็ วัดเล็กๆ มีพระผู้เฒ่าเป็นเจ้าสานกั ดแู ลวัดมา ชาวบ้านเรียกว่า วัดท่าควาย เน่ืองจากชาวบ้านนาควายข้ามไปมาที่หน้าวัดเพราะว่าวัดอยู่กับแม่น้าท่าจีน พ่อค้าหรือชาวนาได้นา ควายมาเพ่ือค้าขายบ้าง ทานาบ้าง มีอดีตเจ้าอาวาสพระไพโรจน์วุฒาจารย์ หรือหลวงรุ่ง ติสสโร เป็นท่ีเคารพศรัทธา ของประชาชนทัว่ ไป 19) วัดท่ำไม้ ตั้งอย่ตู าบลท่าไม้ อาเภอกระทมุ่ แบน เปน็ วดั ท่สี รา้ งขึ้นเม่อื ปี พ.ศ. 2520 พระครูปลัด อุเทน สิริสาโร เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน ได้ดาเนินการพัฒนาวัดท่าไม้ในหลายด้านจนเป็นท่ีเคารพศรัทธาของ ประชาชนทั่วไป 20) แหล่งผลิตเบญจรงค์ จังหวัดสมุทรสาครถือได้ว่าเป็นแหล่งผลิตเบญจรงค์ที่สาคัญแห่งหน่ึงใน ประเทศไทย ลักษณะการผลิตส่วนใหญ่เป็นแบบอุตสาหกรรมในครัวเรือนมีอยู่ทั่วไปในพ้ืนที่ตาบลดอนไก่ดี วัดท่าเสา ผลิตภัณฑ์เบญจรงค์ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากจากชาวไทยและชาวต่างประเทศ ทั้งที่นาไปใช้ ในครัวเรอื นเปน็ เครื่องประดบั ตกแต่งและของทีร่ ะลกึ 21) พุทธมณฑลจังหวัดสมุทรสำคร จังหวัดสมุทรสาครได้ร่วมกับคณะสงฆ์จังหวัดสมุทรสาคร ภาคเอกชน และประชาชนชาวจังหวัดสมุทรสาคร ร่วมกันจัดสร้างพุทธมณฑลจังหวัดสมุทรสาคร บนพ้ืนที่ สาธารณประโยชน์ เนื้อท่ี 143 ไร่ หมู่ท่ี 2 ตาบลอาแพง อาเภอบา้ นแพ้ว จงั หวดั สมุทรสาคร มนี ้าลอ้ มรอบและ มีเสน้ ทางเชอ่ื มถงึ กัน ซง่ึ จังหวัดได้เรม่ิ โครงการมาตั้งแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จนถงึ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
๑๓ 6.5 อุตสำหกรรม จังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดท่ีมีศักยภาพเอ้ือต่อการประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม เน่ืองจากอยู่ ในเขตปริมณฑลกรุงเทพฯ มีการคมนาคมขนส่งท่ีสะดวกและรวดเร็ว ประกอบกับมีโครงสร้างพ้ืนฐานและปัจจัย การผลิตที่เหมาะสมต่อการลงทุน จึงมีผู้ประกอบการด้านธุรกิจอุตสาหกรรมให้ความสนใจมาลงทุนต้ังโรงงาน อตุ สาหกรรมในเขตจงั หวัดสมุทรสาครเป็นจานวนมากตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2512 ปี พ.ศ. 2559 มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่ในพ้ืนที่จังหวัด จานวน 5,916 แห่ง เงินลงทุน 792,976.28 ล้านบาท ลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม จานวน 435,445 คน ประเภทอุตสาหกรรมท่ีมีมาก ได้แก่ อุตสาหกรรมยางและพลาสติก อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ อุตสาหกรรมอาหารและเคร่ืองด่ืม อุตสาหกรรม สง่ิ ทอ และอืน่ ๆ ตามลาดบั (ท่มี า : แผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสาคร 4 ปี พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564) อตุ สำหกรรมหลกั ท่ีสำคัญ สำขำอตุ สำหกรรมท่มี ีกำรลงทนุ มำกที่สดุ 5 อนั ดบั แรกของจังหวัดสมุทรสำคร ได้แก่ (ท่ีมา : แผนพัฒนาจังหวดั สมุทรสาคร 4 ปี พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564) 1) อุตสำหกรรมอำหำร ประกอบดว้ ยการผลติ เกย่ี วกับสัตว์น้าอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างเป็น หลัก เช่น การล้าง ชาแหละ แกะ ต้ม น่ึง ทอด หรือบดสัตว์น้า รองลงมา ได้แก่ ถนอมสัตว์น้าโดยวิธีอบ รมควัน ใส่เกลอื ดอง ตากแห้ง หรอื ทาให้เยือกแข็งโดยฉับพลันหรือเหอื ดแหง้ และทาผลิตภัณฑ์อาหารสาเรจ็ รปู จากสตั ว์น้า หนัง หรือไขมันตามลาดับ ปัจจุบันมีจานวนโรงงานทั้งสิ้น 634 โรงงาน เงินลงทุน 283,648.662 ล้านบาท คนงาน 130,434 คน 2) อุตสำหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ ประกอบด้วยการผลิต ผลติ ภัณฑ์โลหะอย่างใดอยา่ งหน่ึงหรือหลาย อย่างเป็นหลัก เช่น การกลึง เจาะ คว้าน กัด ไส เจยี ร หรือเชื่อมโลหะทวั่ ไป รองลงมาได้แก่ ทาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีป๊ัม หรือกระแทก และทาผลิตภัณฑ์โลหะสาเร็จรูปด้วยวิธีเคลือบหรือลงรัก ชุบ หรือขัด ตามลาดับ ปัจจุบันมีจานวน โรงงานท้ังส้ิน 1,064 โรงงาน เงินลงทุน 239,064.630 ล้านบาท คนงาน 40,811 คน 3) อุตสำหกรรมพลำสติก ประกอบด้วยการผลิตพลาสติกอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เป็นหลัก เช่น ทาเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องเรือน หรือเคร่ืองประดับ และรวมถึงชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ รองลงมา ได้แก่ ผลิตพลาสติกเป็นเม็ด แท่ง ท่อ หลอด แผ่น ช้ิน ผง หรือรูปทรงต่างๆ และทาเปลือกหุ้มไส้กรอก ตามลาดับ ปัจจุบนั มีจานวนโรงงานทัง้ ส้ิน 926 โรงงาน เงินลงทุน 51,307.954 ล้านบาท คนงาน 43,246 คน 4) อุตสำหกรรมส่ิงทอ ประกอบด้วยการผลิต การหมัก คาร์บอไนซ์ สาง หวี รีด ป่ัน อบ ควบ บิดเกลียว กรอ เทก็ เจอรไ์ รซ์ ฟอก หรอื ยอ้ มสีเส้นใย รองลงมาไดแ้ ก่ การทอ หรือการเตรียมเส้นดา้ ยอื่นสาหรับการทอ การฟอกย้อมสี หรือแต่งสาเร็จดา้ นหรือส่ิงทอ การพิมพ์ส่งิ ทอ ตามลาดับ ปัจจุบันมีจานวน 496 โรงงาน เงินลงทุน 48,397.29 ล้านบาท คนงาน 54,946 คน 5) อุตสำหกรรมกระดำษและผลิตภัณฑ์จำกกระดำษ ประกอบด้วยการผลิต เย่ือหรือกระดาษอย่างใด อย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ได้แก่ การทาเย่ือจากไม้ หรือวสั ดุอื่น การทากระดาษ กระดาษแข็ง หรือกระดาษท่ีใช้ใน การก่อสร้างชนิดที่ทาจากเส้นใย (fiber) หรือแผ่นกระดาษไฟเบอร์ (fiberboard) โรงงานผลิตภาชนะบรรจุจาก กระดาษทุกชนิดหรือแผ่นกระดาษไฟเบอร์ ปัจจุบันมีจานวนโรงงานทั้งส้ิน 122 โรงงาน เงินลงทุน 15,584.05 ล้านบาท คนงานจานวน 8,058 คน
๑๔ 6.6 กำรพำณิชยแ์ ละกลมุ่ อำชพี ข้อมลู ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2559 จังหวัดสมุทรสาครมีรายชื่อและจานวนสมาชิกของวสิ าหกจิ / เครือข่ายวิสาหกจิ ชุมชน จานวน 144 แห่ง สมาชิก 1,568 คน แยกตามรายอาเภอ ดังนี้ อาเภอเมืองสมุทรสาคร จานวน 55 แหง่ สมาชิก 633 ราย อาเภอกระทุ่มแบน จานวน 37 แหง่ สมาชิก 404 ราย อาเภอบ้านแพว้ จานวน 52 แหง่ สมาชิก 531 ราย 6.7 แรงงำน จากรายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสมุทรสาคร ไตรมาส 2 ปี 2559 (เมษายน – มิถุนายน 2559) ของสานักงานแรงงานจังหวัดสมุทรสาคร มีผู้อยู่ในวัยทางานหรืออายุ 15 ปี ข้ึนไป จานวน 854,995 คน เป็นผู้อยู่ในกาลังแรงงาน 690,797 คน จาแนกเป็นผู้มีงานทา 688,013 คน (ร้อยละ 99.60 ของผู้อยู่ในกาลัง แรงงานทั้งหมด) ผู้ว่างงาน 2,784 คน (อัตราการว่างงานร้อยละ 0.40) ในกลุ่มผู้มีงานทาจะอยู่ในภาคเกษตร 27,046 คน (ร้อยละ 3.93 ของผู้มีงานทาท้ังหมด) นอกภาคเกษตร 660,967 คน (ร้อยละ 96.07 ของ ผู้มงี านทาท้งั หมด) ในปี 2558 มีผู้มีงานทาอยู่ซึ่งเป็นแรงงานนอกระบบ (นอกระบบประกันสังคม) จานวนท้ังสิ้น 152,094 คน สว่ นใหญ่เปน็ แรงงานนอกภาคเกษตร จังหวดั สมุทรสาครมีแรงงานต่างด้าวทีไ่ ด้รับอนุญาตทางาน จานวน 211,518 คน สว่ นใหญ่เปน็ ชาว เมียนมา โดยเป็นคนต่างด้าวเข้าเมืองถูกกฎหมาย จานวน 144,590 คน (ร้อยละ 55.14) และคนต่างด้าวเข้า เมืองผดิ กฎหมาย จานวน 117,647 คน (ร้อยละ 44.86) 7. ศำสนำ ประเพณี วฒั นธรรม 7.1 กำรนับถอื ศำสนำ ประชากรส่วนใหญใ่ นจงั หวดั สมุทรสาครเปน็ คนไทยเช้ือสายจนี และเชื้อสายรามญั ส่วนมากนับถือ ศาสนาพทุ ธ (ประมาณร้อยละ 99) วดั ในพระพุทธศาสนา จานวน 108 วัด โบสถ์คริสต์ จานวน 2 แหง่ มสั ยิด จานวน 1 แหง่ 7.2 ประเพณแี ละงำนประจำปี ๑)งำนนมัสกำรหลวงปวู่ ัดโกรกกรำก (งำนประจำปีวัดโกรกกรำก) หลวงพ่อปวู่ ัดโกรกกรากเป็น พระประธานของวัดโกรกกราก ต.โกรกกราก วดั แห่งนม้ี คี วามแปลกและน่าสนใจท่ีพระพุทธรูปทีว่ ดั นส้ี วมแวน่ ตาดา ไวต้ ลอด และยังเป็นศูนย์รวมแหง่ ศรัทธาของชาวบา้ นในจังหวดั สมุทรสาคร งานจะจัดข้ึนในช่วงเดือนมกราคมของทุกปี
๑๕ ๒) งำนนมสั กำรศำลพนั ทำ้ ยนรสิงห์ จดั ขนึ้ ประมาณเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ของทุกปี เป็นงานทร่ี ะลึกถงึ วีรชนผู้หาญกล้าผู้จงรักภักดีในความซ่ือสัตย์ของพันท้ายนรสิงห์ โดยมีการจัดมหรสพและการบวงสรวงสักการะ พนั ทา้ ยนรสงิ ห์ เพอ่ื ความเปน็ สิรมิ งคล ๓) งำนเทศกำลอำหำรทะเล จัดขึ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคมของทุกปี บริเวณริมเข่ือน หน้าศาลหลักเมืองเพื่อเผยแพร่ชื่อเสียงด้านอาหารทะเลของจังหวัดรวมถึงอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร มีการ ออกรา้ นจาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์อาหารทะเลมากมาย ๔)งำนสขุ ำภิบำลทำ่ ฉลอม จัดขน้ึ ในวันท่ี 18 มีนาคม ของทุกปี บรเิ วณวัดสุทธวิ าตวราราม (วัดช่องลม) เพ่ือราลึกถึงพระมหากรุณาธคิ ณุ ขององคพ์ ระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี 5 ท่เี สด็จ เปิดถนนถวายและจัดต้ังตาบลท่าฉลอมเป็นสุขาภิบาลหัวเมืองแห่งแรกของประเทศไทยเป็นจุดเร่ิมต้นของการ ปกครองสว่ นท้องถิ่นต้งั แตน่ ั้นเป็นต้นมา ๕) งำนเกษตรบ้ำนแพว้ สถานท่จี ัดงานคอื บริเวณวดั หลักสี่ราษฎร์สโมสร ต.ยกกระบตั ร อ.บา้ น แพ้ว จ.สมุทรสาคร จัดขึ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคมของทุกปี จัดข้ึนเพ่ือเป็นการผลักดันและส่งเสริมการ ท่องเท่ียวตามแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาจังหวัด อาเภอบ้านแพ้ว รว่ มกับคณะกรรมการวัดหลักส่ีราษฎร์สโมสรและ ชมรมกานันผู้ใหญ่บ้าน ตลอดจนประชาชนชาวอาเภอบ้านแพ้วเตรียมจัดงานเกษตรของดีอาเภอบ้านแพ้วและงาน ปิดทองหลวงพ่อโตวัดหลักสี่ และเพื่อโชว์ศักยภาพและความอุดมสมบูรณ์ ของผลผลิตทางการเกษตรท้ังพืช ผัก ผลไม้ กุ้ง ปลาสลิด ท่ีหลากหลายอันเล่ืองช่ือจนถือเป็นเอกลักษณ์ของดีของเด่น ของอาเภอบ้านแพ้วท่ีรู้จักกันมา ช้านาน นอกจากน้ีภายในงานยังมีการประกวดกล้วยไม้พันธุ์ต่างๆ ถึง 7 ประเภท และประกวดผลไม้พันธุ์ต่าง ๆ อกี ถึง 12 ประเภท และนิทรรศการงานเกษตรสินคา้ โอท็อป เพื่อร่วมโชว์ศักยภาพความสามารถของเกษตรกรชาว อาเภอบ้านแพ้วให้ประจักษ์แก่คนทั่วไป จึงขอเชิญนักท่องเท่ียวร่วมชมงานเทศการเกษตรของดีบ้านแพ้ว และ ปดิ ทองหลวงพอ่ โตวัดหลกั สีร่ าษฎร์สโมสร เพอ่ื ความเปน็ สิริมงคลโดยท่วั กนั ๖) งำนประเพณีแห่หลวงพ่อโต วัดหลักส่ีรำษฎร์สโมสร จัดขึ้นประมาณเดือนมีนาคม - เมษายน ของทุกปี ถือเป็นงานประเพณีที่มีประชาชนเข้าร่วมงานมากโดยมีการนาเครื่องคาวของหวานมาสักการะองค์หลวง พ่อโตตลอดจนการอัญเชิญหลวงพ่อโตประดิษฐานบนเรือและแห่ตามลาคลองดาเนินสะดวกเพ่ือให้ชาวบ้าน ไดส้ กั การะเพ่ือความเปน็ สริ มิ งคล ๗) งำนสืบสำนวัฒนธรรมประเพณีไทยทรงดำ จัดขึ้นประมาณเดือนเมษายน ณ วัดหนองสองห้อง ต.หนองสองห้อง อ.บ้านแพ้ว เป็นการรวมตัวกันของชาวไทยทรงดา ในพ้ืนที่และในบริเวณจังหวัดใกล้เคียง เพื่ออนรุ ักษ์ สืบสานวฒั นธรรมประเพณีใหค้ งอยู่ ๘) ประเพณีแห่ธงตะขำบของชำวไทยรำมัญในเทศกำลสงกรำนต์ จัดข้ึนในวันสุดท้ายของวัน สงกรานต์ ณ วัดบางปลา ต.บางเกาะ อ.เมือง โดยมีการแห่ธงตะขาบแล้วนาขึ้นสู่ยอดเสา ซ่ึงเป็นเสาไม้ยอดเสา สลักเป็นรูปหงส์ โดยผู้ที่มาร่วมขบวนแห่แต่งกายแบบด้ังเดิมของชาวไทยรามัญ ซึ่งมีความเชื่อว่าทาให้ชุมชนนั้น มคี วามเจรญิ รุ่งเรอื ง มง่ั คง่ั ๙) ประเพณีแห่เจ้ำพ่อหลักเมือง จัดข้ึนในเดือนมิถุนายนของทุกปีบริเวณริมเขื่อนศาลเจ้าพ่อหลัก เมืองโดยจะอัญเชิญไปประทับเก้ียวลงเรือประมงประดับธงทิวอย่างสวยงาม แล้วแห่ไปตามแม่น้าท่าจีนจากตลาด มหาชัยไปฝ่ังท่าฉลอมบริเวณวัดสุวรรณาราม และอัญเชิญไปจนถึงวัดช่องลม เพื่อให้ประชาชนสักการบูชา เพือ่ ความเปน็ สิริมงคล
๑๖ ๑๐) งำนประเพณีตักบำตรน้ำผ้ึง จัดขึ้นท่ีวัดคลองครุ อาเภอเมืองสมุทรสาคร ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 10 เพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีด้ังเดิมของ ชาวไทยรามัญที่เช่ือว่าการถวายน้าผ้ึงแด่พระสงฆ์ จะไดอ้ านิสงสม์ าก ๑๑) งำนนมัสกำรพระโพธสิ ัตว์กวนอมิ จดั ขึ้นระหวา่ งวนั ท่ี 19-23 พฤศจิกายน ของทกุ ปีบริเวณ หน้าวัดช่องลมเพ่ือให้ประชาชนและนกั ทอ่ งเท่ียวได้มาสักการะพระโพธิสัตว์กวนอิม ๑๒) ประเพณีกำรแข่งขันเรือยำว การแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยสมเด็จพระเทพฯ จัดข้ึนทุกปีบริเวณ คลองตาขา มีการแข่งขันเรือหลายประเภท เป็นงานที่สนุกสนานน่าสนใจของประชาชนทั้งชาวสมุทรสาครและ ประชาชนตา่ งถ่นิ ท่มี าสง่ เสยี งเชยี ร์อยู่รมิ ฝงั่ สร้างบรรยากาศความสัมพันธข์ องผืนดนิ และผืนน้า เปน็ อยา่ งดี ๑๓) งำนประเพณีล้ำงเท้ำพระและตักบำตรดอกไม้ จัดข้ึนที่วัดเจ็ดริ้ว อาเภอบ้านแพ้ว ในวัน ออกพรรษา เพ่ือสืบสานวัฒนธรรมประเพณีด้ังเดิมของชาวไทยรามัญในการบูชาพระสงฆ์เม่ือถึงวันออกพรรษา เพราะชาวไทยเช้ือสายรามัญเช่ือว่าการทาบุญแด่พระสงฆ์ในวันออกพรรษาจะได้บุญมาก โดยมีการนาน้าสะอาด ใส่เคร่อื งหอม นา้ ปรุง ลอยดอกไมร้ ดลงบนเทา้ ของพระสงฆแ์ ละถวายดอกไม้แด่พระสงฆด์ ้วย ๑๔) งำนเทศกำลไหวเ้ จำ้ 9 ศำล เทศกำลกินเจ จดั ข้ึนระหว่างวนั ขนึ้ 1-9 ค่า เดือน 9 ของชาวจีน ทุกปี เป็นงานกินเจที่สงบด้วยบรรยากาศแห่งพิธีกรรม การบูชาเพื่อชาระจิตใจและร่างกาย ซ่ึงมีการไหว้สักการะ ศาลเจ้าท้ัง 2 ฝ่งั แม่น้ารวม 9 ศาลเจ้าด้วยกัน มีผู้คนในชุมชนร่วมงานมากมาย เทศกาลกินเจ ไหว้สักการะศาลเจ้า 2 ฝ่ังแม่น้าท่าจีนทั้ง 9 ศาลเจ้า (ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสมุทรสาคร,โรงเจมูลนิธิการกุศลสมุทรสาคร, ศาลเจ้าปุนเถ้ากง ในคลองมหาชยั , ศาลเจา้ แมก่ วนอิมพนั มือคลองจาก, ศาลเจ้าแม่จยุ๋ บ๋วยเน้ีย, โรงเจเฮียงต๊ัว, ศาลเจา้ กวนอู, ศาลเจ้า ปนุ เถา้ กล ทา่ ฉลอม, ศาลพระโพธสิ ัตว์กวนอิม ท่าฉลอม) ๑๕) งำนเทศกำลปลำทูอร่อยท่ีท่ำฉลอม จัดข้ึนประมาณเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคมของทุกปี บริเวณรมิ เขื่อนวัดสุทธิวาตวราราม(วัดช่องลม) ถือเป็นงานท่ีรวบรวมเอาเมนูหลากหลายท่ีปรงุ ดว้ ยปลาทู ปลาที่ข้ึน ชื่อในความอร่อยของจังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งในช่วงปลายปี ปลาทูจะมีมากและรสชาติอร่อยมากกว่าเดือนอ่ืนๆมี กิจกรรม การออกรา้ นจาหน่ายอาหารทีป่ รุงจากปลาทูในราคาย่อมเยา ตลอดจนอาหารพนื้ บ้านของชาวสมุทรสาคร 7.3 สนิ คำ้ พ้ืนเมอื งและของที่ระลึก 1) เกลือ จังหวัดสมุทรสาครอยู่ในกลุ่มท่ีมีการผลิตเกลือมาก เช่นเดียวกับจังหวัดเพชรบุรีและ จงั หวัดสมุทรสงคราม โดยเกลือท่ผี ลติ ได้เป็นเกลอื สมทุ ร 2) อำหำรทะเลสดและแปรรูป เน่ืองจากเป็นแหล่งประมงทะเลขนาดใหญ่ อาหารทะเลสดและ อาหารทะเลแปรรูปจึงเป็นสินค้าท่ีผู้ที่เดินทางมาจังหวัดสมุทรสาครมักหาซื้อกลับไปเป็นของฝาก เช่น ปลา ปู ปลาหมึก ปลาเคม็ ก้งุ แหง้ กะปิ นา้ ปลาฯลฯ 3) ผลผลิตทำงกำรเกษตร สินค้าเกษตรเป็นสินค้าสาคัญอีกอย่างหน่ึงของจังหวัดสมุทรสาคร โดยเฉพาะผลไม้ด้วยดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์สามารถปลูกพืชเจริญเติบโตและมีรสชาติท่ีดี ส่วนใหญ่จะมาจาก เกษตรกรในพ้นื ที่อาเภอบา้ นแพ้ว เชน่ มะพร้าวนา้ หอม มะม่วง น้าตาลมะพรา้ ว แก้วมังกร และลาไยพันธ์ุพวงทอง ฯลฯ 4) เคร่ืองเบญจรงค์ จังหวัดสมุทรสาครถือเป็นแหล่งผลิตเครื่องเบญจรงค์ท่ีสาคัญอีกแห่งหน่ึง ส่วนใหญ่จะผลิตอยู่ท่ีตาบลดอนไก่ดีและตาบลท่าเสา อาเภอกระทุ่มแบน เป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน มีเอกลักษณ์อยทู่ ีก่ ารเขียนลายทีป่ ระณีตและสร้างสรรค์ลายใหมท่ ่ีมคี วามทนั สมยั นอกจากเป็นแหล่งซอ้ื ขายเครอ่ื ง
๑๗ เบญจรงค์แล้ว ท่ีกลุ่มเบญจรงค์บ้านดอนไก่ดียังเป็นแหล่งสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้แก่ผู้สนใจได้เข้ามาเรียนรู้ กรรมวธิ ีการผลติ เบญจรงคอ์ กี ดว้ ย 8. ทรัพยำกรธรรมชำติ แผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสาคร 4 ปี (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2564) ระบุข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ มของจังหวดั สมุทรสาคร ดงั นี้ 8.1 น้ำ ในพ้ืนที่จังหวัดสมุทรสาครได้รับน้าส่วนใหญ่จากแม่น้าท่าจีนและแม่น้าเจ้าพระยาโดยการชลประทาน ซึ่งมีโครงการเก็บน้าจากแหล่งน้าในลาคลองชลประทาน 10 สาย และคลองธรรมชาติกว่า 170 สาย แหล่งน้า ธรรมชาติท่สี าคัญของจงั หวัดสมุทรสาคร ได้แก่ แม่น้ำท่ำจีน นับได้ว่าเป็นแม่น้าสายสาคัญของจังหวัดสมุทรสาคร โดยมีต้นกาเนิดจากแม่น้า เจ้าพระยาท่ีอาเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ไหลผ่านตอนกลางของพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม และ ไหลผา่ นอาเภอกระทุ่มแบน อาเภอเมอื งจังหวัดสมุทรสาคร ก่อนที่จะไหลลงส่อู ่าวไทยทต่ี าบลท่าฉลอม อาเภอเมือง สมุทรสาคร คลองมหำชัย เร่ิมจากแม่น้าท่าจีนที่ตาบลมหาชัย อาเภอเมืองสมุทรสาคร แล้วไหลลงสู่แม่น้า เจ้าพระยาได้ 2 ทาง คอื ไหลผ่านคลองด่าน คลองบางหลวง สายหนึ่งออกสแู่ ม่นา้ เจ้าพระยาที่ปากคลองตลาด และ อีกสายหนึ่งผ่านสถานีตารวจนครบาลบางขุนเทียนออกไปทางดาวคะนองและไหลลงสู่แม่น้าเจ้าพระยาท่ีถนนตก ระยะทางยาวประมาณ 13 กิโลเมตร คลองสุนัขหอน ไหลจากแม่น้าท่าจีนท่ีอาเภอเมืองสมุทรสาครออกสู่แม่น้าแม่กลองท่ีจังหวัด สมุทรสงคราม ระยะทางยาวประมาณ 20 กโิ ลเมตร คลองภำษีเจริญ เร่ิมจากแม่น้าท่าจีนท่ีใต้วัดอ่างทอง อาเภอกระทุ่มแบน ออกสู่แม่น้าเจ้าพระยา ทเี่ ขตภาษีเจรญิ กรงุ เทพฯ ระยะทางยาวประมาณ 25 กิโลเมตร คลองบำงยำง เร่ิมจากแม่น้าท่าจีนท่ีบางยาง อาเภอกระทุ่มแบน ไปเช่ือมคลองดาเนินสะดวก ทีป่ ระตนู า้ บางยาง อาเภอบา้ นแพว้ คลองดำเนินสะดวก เริ่มจากประตูน้าบางยางไหลผ่านอาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร อาเภอดาเนินสะดวก จังหวดั ราชบรุ ี และทอ่ี าเภอบางคนที จังหวดั สมุทรสงคราม ระยะทางยาวประมาณ 38 กิโลเมตร แหล่งน้ำชลประทำน การพัฒนาแหล่งน้าและคูคลองเพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่ โดยมีการซ่อมแซมก่อสร้างประตู ระบายน้าและขุดลอกคูคลองให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ทั้งนี้ ในแต่ละส่วนเขตพ้ืนท่ีจะมีหน่วยงานของ กรมชลประทานดูแล ซึง่ จะแบง่ เขตพ้นื ทร่ี บั ผดิ ชอบของจงั หวัดสมทุ รสาคร ดงั นี้ 1. โครงการชลประทานสมุทรสาคร มพี นื้ ที่ 242,074 ไร่ 2. โครงการส่งนา้ และบารุงรักษาดาเนินสะดวก มพี ้นื ท่ี 90,193 ไร่ 3. โครงการสง่ น้าและบารงุ รักษาภาษเี จรญิ มพี ื้นที่ 128,725 ไร่ 4. โครงการส่งน้าและบารงุ รักษานครปฐม มพี น้ื ท่ี 54,780 ไร่ 5. โครงการส่งน้าและบารุงรักษานครชมุ มีพ้นื ท่ี 29,464 ไร่ 6. โครงการแก้มลิงคลองมหาชยั - คลองสนามชยั มีพืน้ ที่ 28,700 ไร่
๑๘ โครงกำรแก้มลิงคลองมหำชัย - คลองสนำมชัย โครงการแก้มลิงในพ้ืนที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้า เจ้าพระยา (คลองมหาชัย - คลองสนามชัย) ทาหน้าที่รับน้าในพ้ืนท่ีฝั่งตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา ผ่านพื้นที่ บางส่วนของกรุงเทพมหานคร และสมุทรสาครตอนบนไปลงคลองมหาชัย - คลองสนามชัย และแม่น้าท่าจีน เพ่อื ระบายออกสู่ทะเลด้านจังหวดั สมทุ รสาคร ช่วงน้ำปกติ จะปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ โดยการเปิดประตูระบายน้าท้ัง 10 แห่ง เพ่ือรับน้า คุณภาพดีจากทะเลเข้ามาหมุนเวียนในระบบแก้มลิง ส่วนประตูระบายน้าและสถานีสูบน้าคลองมหาชัยจะมีหน้าที่ บริหารจัดการน้าเป็นหลัก ส่วนใหญ่จะเปิดประตูระบายน้าตลอด ยกเว้นกรณีเม่ือน้าทะเลหนุนสูงจะทาการปิด ประตูระบายน้าลง เม่ือน้าทะเลไหลลงจะเปิดประตูระบายน้าเพ่ือระบายน้าในคลองมหาชัยออกสู่ทะเล เป็นการ หมุนเวียนน้าให้มีคุณภาพดีข้ึน เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมท่ีทาการเพาะเล้ียงสัตว์น้ากร่อย ให้สามารถประกอบอาชพี ได้อยา่ งยงั่ ยืน ช่วงน้ำหลำก จะมีการปิดประตูระบายน้าท้ัง 10 แห่ง ในระบบแก้มลิงของกรมชลประทาน ในเขตจังหวัดสมุทรสาครทั้งหมด โดยมีการบริหารจัดการน้าที่ประตูระบายน้าและสถานีสูบน้าคลองมหาชัยเป็นหลัก เมื่อระดับน้าทะเลลดลงจะเปิดประตูระบายน้าเพื่อระบายน้าในคลองมหาชัยออกสู่ทะเลโดยระบบแรงโน้มถ่วง ของโลก (Gravity Flow) ตามธรรมชาติ เม่อื ระดับน้าทะเลสูงกวา่ ระดับน้าในลาคลองให้ทาการปิดประตูระบายน้า และใช้เครอื่ งสูบน้าพลงั งานไฟฟ้าขนาดกาลังสูบเคร่อื งละ 3 ลบ.ม./วินาที จานวน 12 เครอื่ ง รวมทั้งสิน้ 36 ลบ.ม./วินาที สูบน้าออกจากคลองมหาชัยเป็นการพร่องน้าภายในระบบแก้มลิง เพ่ือจะได้ท้าให้น้าตอนบนค่อย ๆ ไหลมาเติม ตลอดเวลาสง่ ผลให้ปรมิ าณนา้ ทว่ มพน้ื ทล่ี ดนอ้ ยลง ประตรู ะบำยน้ำในระบบแก้มลิงของกรมชลประทำนในเขตจงั หวัดสมทุ รสำคร 10 แหง่ ไดแ้ ก่ 1. ประตูระบายน้าและสถานสี บู น้าคลองมหาชยั 2. ประตรู ะบายน้าคลองพระราม (คลองหลวง) 3. ประตรู ะบายน้าคลองสหกรณ์สายสาม 4. ประตูระบายน้าคลองเจ๊ก 5. ประตรู ะบายน้าคลองโคกขามเก่า 6. ประตรู ะบายน้าโคกขาม 7. ประตูระบายน้าคลองสหกรณ์สายสี่ 8. ประตูระบายน้าคลองสหกรณ์สายห้า 9. ประตรู ะบายน้าคลองลดั ตะเคียน 10.ประตูระบายน้าคลองแสมดา 8.2 ดนิ ลักษณะดินในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ แบ่งออกได้เป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มดิน เค็มชายฝงั่ ทะเล มีพื้นที่ประมาณรอ้ ยละ 50 ของพื้นท่ีจงั หวัด ครอบคลุมพ้ืนท่ีตอนลา่ งของจังหวัดตอนท่ีติดกับอ่าว ไทย บริเวณน้าทะเลท่วมถึงเป็นดินเลนเนื้อดินเหนียวและเค็มจัดเหมาะแก่การเลี้ยงปลาน้ากร่อย บางส่วนทาสวน มะพร้าว ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอาเภอเมืองสมุทรสาคร กลุ่มที่สองเป็นกลมุ่ ดินนา พ้ืนทส่ี ่วนท่ีเหลอื อกี ร้อยละ 50 ของ พ้ืนท่ีจังหวัด อยู่บริเวณตอนบนของจังหวัด น้าทะเลท่วมไม่ถึงและเป็นพ้ืนท่ีดอน ดินเป็น ดินเหนียวท่ีมีดินร่วนปน ได้แก่ พื้นทใี่ นเขตของอาเภอบ้านแพ้ว อาเภอกระทุ่มแบน และบางสว่ นของอาเภอเมืองสมุทรสาคร เหมาะสมท่ีจะ ทาเกษตรกรรม ปลกู พืชผัก ปลูกไมผ้ ล และไมด้ อก สภาพดนิ ของจังหวดั สมุทรสาคร
๑๙ 8.3 ปำ่ ไม้และสตั วป์ ำ่ 1) สภำพปำ่ ไม้จังหวดั สมทุ รสำคร บริเวณปากแม่น้าท่าจีนฝั่งตะวันตก พบป่าชายเลนผืนใหญ่และอุดมสมบูรณ์ท่ีสุดของจังหวัด สมุทรสาคร บริเวณอ่ืนพบป่าชายเลนมีลักษณะเป็นหย่อมเล็กหย่อมน้อยตลอดแนวชายฝ่ังทะเลท้ัง 2 ด้าน เดิมชายฝ่ังทะเลของจังหวัดสมุทรสาครอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้ชายเลน เช่น ต้นโกงกางและแสมทะเล เป็นต้น เป็นระบบนิเวศท่ีมีความซับซ้อน เป็นแนวกันคลื่น เป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยของสัตว์น้า เป็นท่ีอนุบาลของสัตว์น้า วัยอ่อน เป็นแหล่งไม้ใช้สอย ตลอดจนเป็นแหล่งสมุนไพรท่ีสาคัญ แต่ต่อมาพ้ืนท่ีป่าชายเลนได้ลดลงเรื่อย ๆ อันมีสาเหตุมาจากภัยธรรมชาติเกิดจากการกัดเซาะชายฝ่ังทะเล และในปัจจุบันเหลือพ้ืนที่ที่เป็นป่าไม้ ประมาณ 594 ไร่ เท่านนั้ 2) ป่ำสงวนแห่งชำติ จงั หวัดสมุทรสาครมปี ่าสงวนแหง่ ชาติ จานวน 2 แหง่ ไดแ้ ก่ ป่าสงวนแหง่ ชาตปิ ่าอา่ วมหาชยั ฝงั่ ตะวนั ออกและป่าอ่าวมหาชัยฝั่งตะวนั ตก รวมเนือ้ ทป่ี ระมาณ 16,208 ไร่ (ตามกฎกระทรวง) ดังนี้ (1) ป่าสงวนแหง่ ชาติปา่ อา่ วมหาชัยฝ่ังตะวันออก ครอบคลุมพน้ื ทตี่ าบลบางหญา้ แพรก ตาบลโคกขาม และตาบลพันท้ายนรสิงห์ อาเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เนื้อที่ประมาณ 7,343 ไร่ (กฎกระทรวง ฉบับท่ี 1,194 พ.ศ. 2529) (2) ป่าสงวนแห่งชาติป่าอ่าวมหาชัยฝ่ังตะวันตก ครอบคลุมพ้ืนท่ีตาบลบางหญ้าแพรก ตาบลบาง กระเจ้า ตาบลบ้านบ่อ ตาบลบางโทรัด ตาบลกาหลง และตาบลนาโคก อาเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เนือ้ ที่ประมาณ 8,865 ไร่ (กฎกระทรวงฉบับที่ 1,202 พ.ศ. 2530) 3) เขตหำ้ มลำ่ สัตวป์ ่ำ จังหวัดสมุทรสาครมีพื้นท่ีเขตห้ามล่าสัตว์ป่า จานวน 1 แห่ง คือ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าพันท้ายนรสิงห์ ครอบคลุมพืน้ ท่ตี าบลบางหญ้าแพรก ตาบลโคกขาม ตาบลพันท้ายนรสงิ ห์ ตาบลบางกระเจ้า ตาบลบ้านบ่อ ตาบล บางโทรัด ตาบลกาหลง ตาบลนาโคก อาเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร มีพ้ืนที่ประมาณ 14,426 ไร่ ตามแนวเขตป่าสงวนแห่งชาตปิ า่ อ่าวมหาชัยฝง่ั ตะวนั ออกและป่าอ่าวมหาชัยฝั่งตะวนั ตก ยกเว้นพ้ืนท่ีบางส่วนบรเิ วณ ตาบลบางหญ้าแพรกท่ีมีการครอบครองใช้ประโยชน์พ้ืนท่ีมามากกว่า 20 ปี (ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ ม,2554) 4) สัตว์ท่พี บในป่ำชำยเลน สตั วท์ ี่พบในป่าชายเลนจังหวดั สมุทรสาคร ประกอบไปดว้ ย (1) กลุ่มประชาคมสิ่งมีชีวิตพ้ืนป่าชายเลนหรือสัตว์หน้าดินพื้นป่าชายเลน พบจานวน 7 ชนิด มีค่าความหนาแน่นเท่ากับ 24 ตัวต่อตารางเมตร มีค่าดัชนีความหลากหลาย (H/) เท่ากับ 0.57 และมีค่าความ สม่าเสมอ (J/) เทา่ กับ 0.33 ตัวอยา่ งสัตวท์ ่ีพบไดแ้ ก่ ปูแสม ปูกา้ มดาบ ไส้เดือนทะเล หอยเจดีย์ เป็นตน้ (2) กลุม่ ของนกในปา่ ชายเลน พบจานวน 25 ชนดิ 21 สกลุ 15 วงศ์ และ 4 อนั ดับ ตวั อย่างนกทพ่ี บ ได้แก่ นกตนี เทยี น นกนางนวลแกลบเคราขาว นกชายเลนเขยี ว นกกินเปยี้ ว เปน็ ต้น
๒๐ 9. ปัญหำสำคญั ของจังหวดั สมุทรสำคร 9.1 ปญั หำขยะมูลฝอย จากการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมและการพัฒนาที่อยูอ่ าศยั ทาใหม้ ขี ยะมลู ฝอยทัง้ จากโรงงานและ ครวั เรือนปริมาณสงู ขึ้น ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ปัจจบุ ันมปี ริมาณขยะมูลฝอยสูงมากถึง 2 แสนตัน/ปี 9.2 ปัญหำน้ำเน่ำเสยี เป็นอกี ปญั หาหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการเตบิ โตของภาคอุตสาหกรรมและการพัฒนาท่ีอยู่อาศัย ปจั จบุ ันคณุ ภาพนา้ ในแม่น้าทา่ จนี มีคณุ ภาพเสอ่ื มโทรมมาก มคี ่าความต้องการออกซเิ จนในการย่อยสลายสารอินทรยี ์ หรือค่า BOD (Biochemical Oxygen Demand/BOD) เกนิ มาตรฐาน 9.3 ปัญหำป่ำชำยเลนเส่ือมโทรม พ้ืนท่ีป่าชายเลนในปัจจุบันมีอยู่น้อยมาก ส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณริมชายฝ่ังทะเลปากแม่น้าท่าจีน ทั้งสองฝั่ง ถึงแม้ว่าหน่วยงานราชการและภาคเอกชนจะจัดกิจกรรมรณรงค์การปลูกป่าชายเลนอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการทาแนวชะลอคลื่นรูปแบบต่าง ๆ แต่ก็ยังไม่สามารถเพิ่มพื้นท่ีป่าชายเลนได้เท่าท่ีควร เนื่องจากคลื่นลมและ กระแสนา้ ทพ่ี ดั เขา้ หาฝั่งมคี วามรนุ แรงเกิดการกัดเซาะอยู่ตลอดเวลา 9.4 ปญั หำนำ้ ท่วมและนำ้ เค็ม เน่ืองจากมีสภาพพ้ืนท่ีเป็นท่ีราบลุ่มปากแม่น้า ในช่วงฤดูฝนเมื่อปริมาณน้าในแม่น้าท่าจีนมีปริมาณ สูงข้ึนเนื่องจากรับน้ามาจากทางด้านทิศเหนือ ประกอบกับภาวะน้าทะเลหนุนสูง ทาให้บางพ้ืนท่ีในเขตอาเภอ กระทุ่มแบนและอาเภอบ้านแพ้วประสบปัญหาน้าท่วมซ้าซาก อีกท้ังในช่วงฤดูแล้งปริมาณน้าจืดในแม่น้าท่าจีน ท่ีไหลออกสู่ทะเลมีปริมาณน้อย เม่ือน้าทะเลหนุนจะนาน้าเค็มไหลไปตามคลองสาขาต่าง ๆ เข้าพ้ืนท่ีเกษตรกรรม จึงไมส่ ามารถใชน้ า้ ในการเกษตรได้ ทาใหเ้ กษตรกรได้รบั ความเดอื ดร้อนอย่างมาก
๒๑ ส่วนที่ ๒ แผนพฒั นำกำรทอ่ งเที่ยวแหง่ ชำตฉิ บับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ให้ความสาคัญกับการวางรากฐานและแก้ไขปัญหาท่ีเป็นอุปสรรคสาคัญต่อการพัฒนาการ ท่องเที่ยวของประเทศ ท้ังด้านคุณภาพ แหล่งท่องเที่ยว บุคลากรการท่องเท่ียว และโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการ สร้างความสมดุลของการพัฒนาท้ังในมิติของพื้นที่ เวลา กิจกรรม รูปแบบ และกลุ่มนักท่องเท่ียว เพื่อการสร้าง รายได้และกระจายรายได้สู่ชุมชน และการเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวสู่การเติบโตในอนาคตบน พ้ืนฐานของการลงทุนพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ ตลอดจนการให้ความสาคัญกับการทางานอย่าง บูรณาการระหว่างภาครฐั ภาคเอกชน ประชาชน และระหวา่ งประเทศ วสิ ัยทศั นก์ ำรท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2579 \"ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเท่ียวคุณภำพชั้นนำ ของโลกที่เติบโตอย่ำงมีดุลยภำพบนพ้ืนฐำนควำมเป็น ไทย เพ่ือสง่ เสริมกำรพฒั นำเศรษฐกิจ สังคม และกระจำยรำยได้สปู่ ระชำชนทุกภำคสว่ นอยำ่ งยั่งยนื \" วิสัยทศั น์การท่องเท่ียวไทย พ.ศ. 2579 มแี นวคดิ หลกั ในการพัฒนาตามองค์ประกอบ ๕ ประการ ไดแ้ ก่ ประการที่หนงึ่ ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเทย่ี วคณุ ภาพชัน้ นาของโลก ด้วยการยกระดบั คุณภาพและ เพ่ิมความหลากหลายของสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล มุ่งเพ่ิม รายได้จากการท่องเที่ยวโดยเน้นการเพิ่มค่าใช้จ่ายและวันพักต่อคร้ังของการเดินทางของนักท่องเที่ยว และ เสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขันดา้ นการท่องเท่ียวของประเทศ ประการทส่ี อง การเติบโตอย่างมีดลุ ยภาพ โดยส่งเสรมิ ดลุ ยภาพในการเตบิ โตของการท่องเท่ยี ว ระหว่างกลุ่มนักท่องเที่ยว อาทิ ระหว่างนักท่องเท่ียวชาวไทยและชาวต่างชาติ ระหว่างนักท่องเท่ียวตามถ่ินที่ อยู่ และระหว่างกลุ่มนักท่องเท่ียวท่ัวไปและนักท่องเที่ยวท่ีมีความสนใจเฉพาะ ส่งเสริมดุลยภาพในการเติบโตระหว่าง พ้ืนท่ีท่องเที่ยว โดยเน้นการกระจายการพัฒนาการท่องเที่ยวในเมืองท่องเท่ียวรองและพ้ืนที่ชุมชนท้องถิ่น ส่งเสริม ดลุ ยภาพในการเติบโตระหว่างชว่ งเวลาและฤดูกาล ประการทสี่ าม การเตบิ โตบนพ้ืนฐานความเปน็ ไทย โดยเนน้ การพฒั นาสนิ ค้าและบริการด้าน การท่องเที่ยวและแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ให้สอดคล้องกบั อัตลักษณ์และวิถีไทย เสริมสร้างความเข้าใจแก่นักทอ่ งเท่ียวและ ประชาชนถึงอัตลักษณ์ความเป็นไทย และเสริมสร้างความภาคภูมิใจในความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านท่ีดี สาหรับประชาชนทุกระดบั ประการที่สี่ การสง่ เสรมิ การพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม และกระจายรายไดส้ ูป่ ระชาชนทุกภาคสว่ น โดยมุ่งพัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นแหล่งเพิ่มรายได้ และกระจายรายได้แกป่ ระเทศ พัฒนาการทอ่ งเที่ยวให้เป็นหน่ึง ในตัวขับเคลื่อนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศ เเละสร้างโอกาสเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ชาติ พัฒนาการท่องเท่ียวในภูมิภาคและเขตพัฒนาการท่องเท่ียว โดยเฉพาะในพื้นท่ีในเมืองรองและชนบทและ สนบั สนุนภาคการลงทนุ แกธ่ รุ กิจในอุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี วและอุตสาหกรรมท่ีเกยี่ วเนอ่ื ง ประการทห่ี ้า การพฒั นาอย่างยั่งยนื ด้วยการส่งเสรมิ ความยัง่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดล้อม โดยการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูแหล่งท่องเที่ยวที่เส่ียงต่อการเสื่อมโทรม การบริหารความสามารถในการ รองรับ และการปลูกฝังจติ สานึกความเป็นมิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม ส่งเสริมความยัง่ ยนื ของวฒั นธรรม โดยการเชดิ ชแู ละ รักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของไทย คณุ ค่าดั้งเดมิ และภูมิปัญญาทอ้ งถิน่
๒๒ ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำในระยะแผนพฒั นำกำรทอ่ งเที่ยวแห่งชำติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ยุทธศำสตร์ที่ ๑ กำรพัฒนำคณุ ภำพแหลง่ ท่องเท่ียว สนิ ค้ำและบริกำรดำ้ นกำรท่องเทยี่ ว ใหเ้ กิดควำมสมดลุ และยง่ั ยืน ๑) พัฒนาคณุ ภาพแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว สนิ คา้ และบรกิ ารทุกรปู เเบบอยา่ งมีมาตรฐาน โดยการส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพสินคา้ และบริการด้านการท่องเท่ียวท้ังระบบ เสริมสรา้ ง พัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานด้านการ ท่องเท่ียวและบริการให้ครอบคลุมทุกรูปแบบ และส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันด้านธุรกิจการถ่ายทา ภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับด้านการท่องเที่ยวเพ่ือก้าวสู่ การเป็นผู้นาคุณภาพของแหล่งทอ่ งเที่ยว สินคา้ และบรกิ ารระดับโลกสากล ๒) พัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วสนิ ค้าและบริการอย่างยงั่ ยนื โดยการสง่ เสริมให้ภาคีเครือขา่ ยการ ท่องเท่ียว ท้ังภาครัฐเอกชน และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมด้านการบริหารจัดการ ต้ังอยู่บนพื้นฐานการพัฒนา การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยั่งยนื ทัง้ ในเชิงอตั ลักษณ์ วิถชี วี ติ วัฒนธรรม ประเพณี และส่งิ แวดล้อมในระดับพื้นท่ี ไดแ้ ก่ การกาหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเท่ียว การส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่ การส่งเสริมสร้างสรรค์ นวัตกรรมด้านการท่องเที่ยว และสนับสนุนผู้ประกอบการให้ใช้นวัตกรรมในการผลิตสินค้าและบริการ การดูแล รกั ษาและปลกู จติ สานึกในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรการท่องเที่ยว เปน็ ต้น ๓) สร้างสมดุลในแหล่งท่องเท่ียวสินค้าและบริการ ทั้งในเชิงพื้นที่เชิงเวลา ฤดูกาลและรูปแบบ การท่องเท่ียว โดยการส่งเสริมความสมดุลเชิงพื้นท่ีในการท่องเท่ียว ทั้งในแง่การกระจายรายได้และจานวน นักท่องเที่ยว ได้แก่ การจัดตั้งเขตพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวในจังหวัดและพ้ืนที่ท่ีมีศักยภาพ การพัฒนาการท่องเที่ยวในเมืองรองการพัฒนาการท่องเที่ยวในชนบท การพัฒนาสินค้าและบริการท่ีโดดเด่นเป็น เอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่น เป็นต้น และการส่งเสริมความสมดุลเชิงเวลาและฤดูกาลในการท่องเที่ยว ได้แก่ การ สร้างสรรค์กิจกรรมหรือเทศกาลประจาปีในพ้ืนท่ีต่างๆ การสร้างสถานท่ีท่องเที่ยวแห่งใหม่ (Man - Made Attractions) เป็นตน้ ยุทธศำสตร์ท่ี ๒ กำรพัฒนำโครงสร้ำงพ้ืนฐำนและสิ่งอำนวยควำมสะดวก เพื่อรองรับกำร ขยำยตัวของอตุ สำหกรรมท่องเท่ียว ๑) พัฒนาระบบโลจสิ ตกิ ส์ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วโดยการพัฒนาระบบการคมนาคมขนสง่ ในการ เดินทางเข้าสู่ประเทศทั้งทางบก ทางน้า และทางอากาศ ได้แก่ การพัฒนาเส้นทางคมนาคมทางบกเพื่อเข้าถึงแหล่ง ท่องเท่ียว ยกระดับระบบขนส่งสาธารณะ เพ่ืออานวยความสะดวกในการเดินทางระหว่างสถานท่ีท่องเท่ียวพัฒนา เส้นทางคมนาคมทางน้าท่ีสามารถเชื่อมโยงกับรูปแบบการเดินทางอื่นๆ พฒั นาศักยภาพของสนามบินในการรองรับ นักท่องเท่ียว เพิ่มเส้นทางและจานวนเที่ยวบินระหว่างประเทศและภายในประเทศที่เชื่อมโยงระหว่างเมือง ท่องเทย่ี วหลักและเมืองทอ่ งเท่ียวรอง ๒) พฒั นาสงิ่ อานวยความสะดวกดา้ นการทอ่ งเที่ยว โดยการปรับปรงุ ระบบการตรวจคนเข้าเมือง ปรับปรุงและอานวยความสะดวกในการเดินทางผ่านแดน ปรับปรุงป้ายบอกทางและป้ายสัญลักษณ์ให้เป็น มาตรฐานเดียวกัน จัดทาแผนท่ีท่องเที่ยวให้ครอบคลุมทุกแหล่ง เพิ่มจุดบริการ Free - WiFi ในแหล่งท่องเท่ียว จัดทาระบบบัตรโดยสารเดียวท่ีใช้ได้กับทุกช่องทางการเดินทาง พัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก เพื่อรองรับการ ท่องเท่ียวท่ีปราศจากอุปสรรคสาหรับคนทั้งมวล (Tourism for All) ได้แก่ ห้องน้าคนพิการ ทางลาด ราวจับ เปน็ ต้น และพฒั นาแอปพลิเคชนั ทอ่ี านวยความสะดวกให้นักทอ่ งเท่ียว
๒๓ ๓) พฒั นาระบบความปลอดภยั และสุขอนามัยในแหล่งท่องเทีย่ ว โดยการสนบั สนนุ เคร่อื งมือ และอุปกรณ์ เพ่ือป้องกันและช่วยเหลือนักท่องเท่ียว ได้แก่ กล้องวงจรปิด เครื่องแปลภาษา การติดตั้งในสถานที่ ท่องเทย่ี ว อปุ กรณช์ ว่ ยเหลือนักท่องเท่ียวเบื้องต้น จัดตัง้ ศูนยช์ ว่ ยเหลือนักทอ่ งเที่ยวให้ครอบคลมุ ทกุ พน้ื ท่ที ่องเท่ยี ว ส่งเสริมสุขอนามัยในแหล่งท่องเท่ียว เช่น ปรับปรุงสุขาสาธารณะ การจัดการขยะและระบบบาบัดน้าเสียในแหล่ง ทอ่ งเท่ียว ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ การพฒั นาบุคลากรดา้ นการท่องเที่ยว และสนับสนนุ การมสี ว่ นร่วมของประชาชน ในการพฒั นาการทอ่ งเท่ียว ๑) พฒั นาศักยภาพบคุ ลากรด้านการท่องเทย่ี วท้งั ระบบให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน สอดคล้องกับมาตรฐานสากล และเพียงพอต่อความต้องการของตลาด โดยการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวที่ สอดคลอ้ งความต้องการของตลาดแรงงาน สร้างแรงจงู ใจให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมด้านการท่องเท่ยี วสนับสนุน บคุ ลากรใหม้ ีสมรรถนะขั้นพน้ื ฐานตามตาแหนง่ งาน และได้รบั การฝกึ อบรมท่ีได้มาตรฐานสากล ๒) ส่งเสริมให้ประชาชนมสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการดา้ นการท่องเท่ยี วและได้รบั ประโยชน์ จากการท่องเท่ียวโดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการท่องเท่ียวและการบริหารจัดการ การทอ่ งเที่ยวเปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนมสี ่วนร่วมในการพัฒนาสินค้าและบรกิ ารบนพ้ืนฐานของมรดกและ วัฒนธรรมท้องถิ่น จัดทาหลักสูตรการฝึกอบรมทักษะธุรกิจพ้ืนฐานเพ่ือส่งเสริมการประกอบธุรกิจใหม่ ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เพิ่มช่องทางการลงทุนและพัฒนาธุรกิจด้านการท่องเที่ยวให้แก่ ภาคเอกชน ภายใต้ หลักการสนับสนนุ ความคิดสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม Thailand ๔.๐ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างความสมดุลให้กับการท่องเท่ียวไทย ผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม การส่งเสรมิ วิถไี ทยและการสร้างความเช่อื ม่ันของนักท่องเทยี่ ว ๑) เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพเเละความปลอดภยั ให้กับประเทศไทย โดยการพฒั นาภาพลกั ษณ์ และความเชื่อม่ันด้านคุณภาพ มุ่งเน้นการส่ือสารคุณค่าและภาพลักษณ์ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเท่ียวยอดนิยม (Preferred Destination) ที่มีคุณภาพสูงต่อนักท่องเที่ยว การทาการตลาดเป้าหมายและสร้างการรับรู้แก่ นักท่องเท่ียวผ่านช่องทางต่างๆ ด้านมาตรการรักษาความปลอดภัยและมาตรการป้องกันของประเทศไทย ข้อควร ปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย และส่ิงที่ควรกระทาในกรณีฉุกเฉิน เพื่อช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของประเทศไทย เป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีปลอดภัย รวมถึงการส่งเสริมการบังคับใช้และให้ความรู้เก่ียวกับกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องแก่ นกั ท่องเท่ียวและสาธารณชน ๒) ส่งเสรมิ การตลาดเฉพาะกลุ่มเพือ่ ดึงดดู การเดนิ ทางท่องเทีย่ ว และกระต้นุ การใชจ้ ่ายของ นักท่องเที่ยวกลุ่มต่างๆ โดยการส่งเสริมการตลาดแบบเฉพาะกลุ่มสาหรับนักท่องเที่ยวทั่วไป กลุ่มตลาดระดับ กลาง - บน (มีรายได้ส่วนบุคคลสูงกว่า ๒๐,๐๐๐ เหรียญสหรัฐต่อปี) ในพ้ืนท่ีตลาดท่ีมีศักยภาพ และการทา การตลาดแบบเฉพาะกลุ่ม สาหรับนักท่องเที่ยวกลุ่มความสนใจพิเศษ เช่น กลุ่มนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ กลุ่มนักท่องเทยี่ วเชิงสิง่ แวดล้อมและนเิ วศ ๓) ส่งเสริมเอกลักษณ์ของประเทศไทยและของแตล่ ะทอ้ งถน่ิ ดว้ ยการสื่อสารเอกลักษณค์ วาม เป็นไทยให้เป็นท่ีเข้าใจในเวทีโลก อาทิ การสร้างคุณค่าความเป็นไทยในสินค้าและบริการต่างๆ ผ่านสัญลักษณ์ “Thainess” บนสนิ คา้ และบรกิ ารท่คี งอตั ลกั ษณค์ วามเป็นไทย การส่ือสารเอกลักษณ์ความเป็นไทยผา่ น
๒๔ สือ่ สรา้ งสรรค์และนวัตกรรมทางส่ือต่าง ๆ เชน่ รายการโทรทศั น์ การจัดแสดง Roadshow เป็นต้น และ การส่งเสริมเอกลักษณ์ของแต่ละภูมิภาคและจังหวัด โดยการพัฒนาแบรนด์และสื่อสารความแตกต่างของภาคและ จังหวัดต่างๆ ในรูปแบบการเล่าเรื่อง (Storytelling) การส่ือสารเรื่องราวอย่างสร้างสรรค์ผ่านช่องทางการตลาด ทเ่ี ป็นทีน่ ยิ มในกลุ่มเป้าหมาย ๔) ส่งเสริมการท่องเท่ียวภายในประเทศเเละการท่องเท่ียวที่สมดุลเชิงพ้ืนท่ีเเละเวลา โดยการ สร้างการรับรู้สินค้า บริการ และแหล่งท่องเท่ียว เพ่ือกระตุ้นการท่องเที่ยวนอกฤดูกาล อาทิ การจัดกิจกรรม เทศกาล และงานประเพณีประจาถ่ินในแต่ละเดือน การสร้างความนิยมของจังหวัดท่องเท่ียวรอง เช่น การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริมการขายแพ็กเกจการท่องเที่ยวร่วมกับภาคเอกชน เป็นต้น และการส่งเสริม “ไทยเท่ียวไทย” ได้แก่ การสร้างค่านิยมการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศให้แก่คนไทยทุกคนในทุกเพศทุกวัย การ ส่งเสริมการตลาดแบบมีเป้าหมายเฉพาะ เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มนักเรียนนักศึกษา กลุ่มสุภาพสตรี รวมถึงการ สนับสนนุ มาตรการทางการเงนิ เพ่อื สง่ เสรมิ การใชจ้ า่ ยช่วงการท่องเทย่ี ว อาทิ มาตรการการลดหยอ่ นทางภาษี ๕) ส่งเสริมความร่วมมือกบั ผ้ทู ี่มีส่วนเก่ียวขอ้ งเเละการใชเ้ ทคโนโลยใี นการทาการตลาดด้วย การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคส่วนในการทาการตลาด ได้แก่ การร่วมมือกับชุมชนในการสร้างสรรค์สินค้า และบริการทางการท่องเที่ยว ให้สะท้อนอัตลักษณ์ของชุมชนและสอดคล้องแบรนด์จังหวัด การส่งเสริมการตลาด รว่ มกนั ระหว่างภาครฐั และภาคเอกชน และการส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสนับสนนุ การตลาด เชน่ การสนับสนุนการ พฒั นาและตอ่ ยอดแอปพลเิ คชันท่สี ่งเสริมการทาการตลาด เพิ่มประสิทธิภาพหนว่ ยงานทร่ี ับผิดชอบการตลาดดจิ ิทัล ท้ังในด้านการดูแลบริหาร และวิเคราะหส์ ถติ ิ ขอ้ มลู ออนไลนเ์ กีย่ วกบั การท่องเทีย่ วไทย ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ การบูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวและการส่งเสริมความร่วมมือ ระหวา่ งประเทศ ๑) ส่งเสริมการกากับดูแลการพัฒนาเเละบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเสริมสร้างการทางานอย่างบูรณาการระหว่างหน่วยงานระดับนโยบาย โดยมีคณะกรรมการนโยบาย การท่องเที่ยวแห่งชาติและกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาเป็นหน่วยงานหลักในการกาหนดนโยบาย ประสานงาน กากับติดตามและประเมินผล การดาเนินงานส่งเสริมการกระจายอานาจสู่หน่วยงานระดับภูมิภาคและท้องถิ่น ขับเคลื่อนแผนและการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาการท่องเท่ียวชาติ พัฒนากระบวนการ การทางานร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกชนและประชาชน ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนข้อมูลองค์ความรู้ จัดสรร งบประมาณและบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานในทุกระดับ ผลักดันให้เกิดผลสัมฤทธ์ิในการ พฒั นาการทอ่ งเท่ียว ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - based Tourism: CBT) จดั ให้มแี ผนบริหาร จดั การความเสีย่ งและแผนบรหิ ารจดั การสภาวะวกิ ฤตด้านการทอ่ งเท่ียวในทกุ มิติ ๒) ปรบั ปรุงกฎหมายข้อบังคับเเละมาตรฐานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกบั การท่องเที่ยว และการบังคบั ใช้ กฎหมายอย่างจริงจัง โดยการทบทวนแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการท่องเท่ียวให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐในการบังคับใช้กฎหมายอย่าง จริงจัง กาหนดบทบาทและความรับผิดชอบของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอย่างชัดเจน ส่งเสริมการปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อระเบียบด้านการท่องเท่ียวต่างๆ ประชาสัมพันธ์ เสริมสร้างความเข้าใจในระเบียบและกฎหมายด้าน การท่องเทย่ี ว
๒๕ ๓) สนับสนุนการลงทุนจากภาคเอกชนเเละการจัดทาศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว อาทิ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการลงทุนต่างๆ และการจัดตั้งหน่วยบริหารและวิเคราะห์ ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวสาหรับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ การจัดทา Tourism Intelligence Center และ สนับสนนุ การแบง่ ปันข้อมูลกลางแกท่ กุ ภาคสว่ นท่เี กีย่ วขอ้ งใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของผู้ใชง้ าน ๔) ส่งเสรมิ ความรว่ มมือระหวา่ งประเทศเพอื่ การพัฒนาการท่องเทีย่ ว โดยการประสานความ ร่วมมือกับนานาประเทศในการส่งเสริมการพัฒนาท่องเท่ียวและการสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงภายใต้กรอบความ ร่วมมือระหว่างประเทศระดับต่างๆ เช่น APEC ASEAN GMS ACMECS IMT - GT สนับสนุนให้ตัวแทนประเทศ ไทยในองค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ มีบทบาทในเวทนี านาชาติ เพื่อส่งเสรมิ ภาพลกั ษณ์ของประเทศไทย และอานวย ความสะดวกในการเดินทางทอ่ งเทย่ี วในระดบั ภูมภิ าค เช่น การลดข้ันตอนการเดินทางเข้าประเทศ การตรวจลงตรา และใบขับขี่ที่ครอบคลุมทั้งภูมิภาค เป็นต้น ส่งเสริมความสัมพันธ์ในรูปแบบเมืองพี่เมืองน้องด้านการท่องเที่ยวกับ ต่างประเทศ ส่งเสริมความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวบนเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (Greater Mekong Subregion: GMS) เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก - ตะวันตก (East-West Economic Corridor: EWEC) เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจเหนือ - ใต้ (North South Economic Corridor: NSEC) และส่งเสริมการตลาดการประชาสัมพันธ์การท่องเทย่ี วในภาพรวมของกลุ่มประเทศตามกรอบความร่วมมือระหว่าง ประเทศตา่ ง ๆ แผนพฒั นำจงั หวดั สมุทรสำคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) ๑) วิสัยทศั น์ “เมืองอุตสำหกรรมเชิงนิเวศ เกษตรและอำหำรปลอดภยั ท่องเทยี่ วทำงเลือกใหม่ สังคมใหเ้ ปน็ สุข” ๒) พนั ธกจิ ๒.๑ สรา้ งสมดลุ สง่ิ แวดลอ้ มเพอื่ การพฒั นาอย่างยัง่ ยนื ๒.๒ พัฒนาขีดความสามารถในการแขง่ ขนั และสรา้ งมูลค่าเพ่ิมของสินคา้ เกษตร ประมง ประมงแปรรูป และ การบรกิ าร ใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล ๒.๓ พัฒนาคุณภาพชวี ติ สงั คม ชุมชน ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ และดารงชวี ติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง สามารถอยรู่ ว่ มกนั ได้อย่างปกติสขุ ๓) เปำ้ ประสงค์รวม ๓.๑ จังหวัดสมทุ รสาครมีสภาพแวดล้อมนา่ อยู่ ๓.๒ สินค้าด้านการเกษตร การประมง ประมงแปรรปู และการบรกิ าร มมี ลู ค่าเพ่ิมข้นึ และสินค้า อตุ สาหกรรมมมี าตรฐานสามารถแข่งขนั ในตลาดโลก ๓.๓ ประชาชนอยู่รว่ มกนั อยา่ งมีความสขุ และชมุ ชนเข้มแข็ง ๔) ประเด็นยุทธศำสตร์ ๔.๑ พฒั นาสภาพแวดลอ้ มใหเ้ ป็นบ้านเมอื งน่าอยู่อยา่ งยงั่ ยืน ๔.๒ สง่ เสริมการผลติ การแปรรูปอาหารและการบรกิ ารสู่ตลาดสากล ๔.๓ พัฒนาคุณภาพชีวติ สง่ เสริมชมุ ชนเข้มแขง็ สรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้
๒๖ ส่วนท่ี ๓ แผนพัฒนำองคก์ ำรบริหำรส่วนจงั หวัดสมุทรสำคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) 1. วิสยั ทศั นก์ ำรพัฒนำจังหวัดขององคก์ ำรบรหิ ำรส่วนจังหวัดสมุทรสำคร “เมืองน่ำทำงำน บ้ำนน่ำอยู่อำศยั กำ้ วไกลด้วยกำรศึกษำ พัฒนำอยำ่ งย่ังยนื ” ควำมหมำยของวสิ ัยทัศน์ เมืองน่ำทำงำน หมายถึง มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ที่เอื้อต่อการส่งเสริมการลงทุนและการ ประกอบอาอาชพี ทง้ั อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ประมง การทอ่ งเท่ียว เกดิ การกระจายรายไดแ้ ละการจา้ งแรงงาน บ้ำนน่ำอยู่อำศัย หมายถึง มีสิ่งอานวยความสะดวกในการดารงชีวิตประจาวันอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ สังคมมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยปลอดภัย ปราศจากมลพิษท้ังอากาศ ขยะ น้าเสีย มีทรัพยากรธรรมชาติ ที่สมบูรณ์ ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดี ได้รับความช่วยเหลือ และจดั สวสั ดกิ ารจากภาครัฐอยา่ งทัว่ ถงึ ก้ำวไกลด้วยกำรศึกษำ หมายถึง การพัฒนาใน 3 ส่วน คือ สถาบันการศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา และเดก็ เยาวชนและประชาชน สถาบนั การศึกษา สถาบันการศึกษาท้งั ในสงั กัดและนอกสังกดั องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดสมุทรสาครมีความ พรอ้ มในดา้ นอาคาร สถานท่ี มกี ารพัฒนา หลักสตู ร รวมท้งั สือ่ การเรียนการสอนตา่ ง ๆ ทท่ี นั สมยั สอดคลอ้ งกบั การเรียนรใู้ นปัจจบุ ัน ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา มีการเพิม่ พนู ความร้แู ละเทคนคิ ในการเพิ่ม ประสิทธิภาพประสิทธผิ ลในการจัดการเรียน การสอนอยา่ งต่อเน่อื ง เดก็ เยาวชนและประชาชน เดก็ เยาวชนและประชาชนได้รับโอกาสทางการ เรยี นรู้ และเข้าถงึ การเรียนรไู้ ด้งา่ ย พัฒนาตนเอง ใหท้ นั โลกท่มี กี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งต่อเน่ือง สร้างใหเ้ ป็นสงั คมแห่งการเรียนรู้ พัฒนำอย่ำงย่ังยืน หมายถึง สืบสานศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่ต่อไปสู่คนรนุ่ หลัง ประชาชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นและการดูแล บารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประชาชนยึดหลกั การดาเนนิ ชีวิตตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว 2. พนั ธกจิ กำรพัฒนำ 2.1 สง่ เสริมพัฒนาใหป้ ระชาชนมีความรู้ในการดแู ลสุขภาพใหแ้ ขง็ แรงทกุ ชว่ งวัย 2.2 สร้างการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วนด้านการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวสิ่งแวดล้อม ประเพณีและ วัฒนธรรมท่ยี ั่งยืน 2.3 ยกระดับคณุ ภาพการเรียนรขู้ องผู้เรยี นสมู่ าตรฐานการศึกษาอย่างทว่ั ถึง 2.4 มงุ่ เนน้ การปฏบิ ตั งิ านและใหบ้ ริการประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล
๒๗ 2.5 พัฒนาสังคมให้น่าอยู่ ผลักดันเศรษฐกิจและส่งเสริมการเกษตรอุตสาหกรรมให้มีผลิตภัณฑ์ที่ได้ มาตรฐานสากล 2.6 สง่ เสรมิ และพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานในจงั หวดั แบบมบี ูรณาการอย่างมีส่วนรว่ ม 2.7 สร้างเครือขา่ ยความรว่ มมือกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนให้มีส่วนร่วมในการวางแผน การทางาน และกระบวนการตรวจสอบ 3. ยทุ ธศำสตรแ์ ละแนวทำงกำรพฒั นำ แนวทำงกำรพฒั นำ ยุทธศำสตร์ (1) พัฒนาระบบการศกึ ษาและส่งเสรมิ การเรยี นรู้ 1. การพฒั นาการศกึ ษา (2) พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 2. การสง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ (1) สง่ เสริมงานสาธารณสุข 3. การพัฒนาเศรษฐกิจ (2) สง่ เสรมิ และพัฒนาการกีฬา (3) การจัดระเบยี บสงั คมและการรักษาความสงบเรียบร้อย 4. การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน (4) ส่งเสรมิ งานสวสั ดกิ ารสังคม 5. การอนรุ ักษแ์ ละฟื้นฟูสง่ิ แวดลอ้ ม (5) ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ 6. การพัฒนาการเมืองและการบรหิ าร (1) ส่งเสริมสนบั สนุนการประกอบอาชพี และพัฒนา ศักยภาพกลุ่มอาชีพท้ังด้านการผลติ การแปรรูปและ การตลาด (2) พัฒนาระบบการจดั การทอ่ งเทยี่ วเชิงรุก (3) ส่งเสรมิ สนับสนุนการอนรุ กั ษป์ ระเพณี วัฒนธรรมและ ภมู ิปัญญาท้องถิ่น (1) การวางผังเมืองและการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ิน (2) พฒั นาการคมนาคมและการขนส่ง (3) พฒั นาและปรับปรงุ สาธารณปู โภค (1) สง่ เสรมิ สนบั สนุนความรว่ มมอื ในการรกั ษาสภาพ แวดลอ้ ม ทั้งทางธรรมชาติและประวตั ศิ าสตร์ (2) การบริหารจดั การสง่ิ แวดล้อมและมลพิษ (1) สง่ เสริมสวสั ดกิ ารและพฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีศกั ยภาพ (2) พัฒนาระบบการให้บรกิ าร อปุ กรณ์ และสิ่งอานวยความ สะดวก (3) ส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาท้องถน่ิ และสร้าง สังคมให้มคี วามเขม้ แขง็
๒๘ ส่วนที่ ๔ แผนพฒั นำกำรท่องเท่ยี วขององค์กำรบรหิ ำรส่วนจงั หวดั สมุทรสำคร ในการกาหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเท่ียวขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาครจะมีการกาหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจและยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร โดยอาศัย การวิเคราะห์สถานภาพหรือสภาพแวดล้อมขององค์กรตามรูปแบบการวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์แบบ SWOT Analysis ๔.๑ บทวิเครำะห์สถำนภำพด้ำนกำรท่องเทย่ี วภำยในองคก์ ำรบริหำรส่วนจังหวัดสมุทรสำคร จดุ แขง็ (Strengths) จดุ ออ่ น (weaknesses) ๑. นโยบายของผู้บริหารให้ความสาคัญกับการพัฒนาด้านต่าง ๆ ๑. รถขนส่งมวลชนสาธารณะขาดความเชื่อมโยง ท่ีเกี่ยวเนื่องกับการท่องเท่ียวไว้ในแผนพัฒนาสามปีองค์การ เส้นทางท่จี ะไปยังแหล่งทอ่ งเที่ยว บริหารสว่ นจงั หวัดสมทุ รสาคร (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๔) ๒. ขาดความเช่อื มโยงของเส้นทางระหว่างแหล่ง ๒. จังหวัดสมุทรสาครมีระบบคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ ท่องเทย่ี วแต่ละแห่ง ท่มี ีความพร้อม ๓. ความหลากหลายชาติพันธุ์ และประชากรแฝง ๓. จังหวัดสมุทรสาครมีต้นทุนทางสั งคมและวัฒ นธรรม ที่มีอยู่เป็นจานวนมาก ยากต่อการควบคุมดูแล ที่หลากหลายชาติพันธ์ุ ได้แก่ ประวัติศาสตร์ การตั้งถ่ินฐาน ส่งผลต่อความรว่ มมือในการพัฒนาทอ้ งถน่ิ ประเพณี ภาษา ศลิ ปกรรม ๔. มีโรงงานอุตสาหกรรมจานวนมากทาใหม้ ลพิษ ๔ . จั งห วั ด ส มุ ท ร ส าค ร มี ป่ า ช า ย เล น เป็ น ต้ น ทุ น ท า ง ทางน้า ทางอากาศ สง่ ผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญ เนื่องจากเป็นห่วงโซ่อาหารเป็น ๕. ภายในองค์กรยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ แหล่งกาเนิดของสัตว์น้า และเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงนิเวศน์ ความสามารถด้านการท่องเทยี่ วโดยตรง และขาด ทส่ี าคญั ความสามารถด้านภาษาต่างประเทศ ๕. จังหวัดสมุทรสาครเป็นแหล่งผลิตสินค้าทางการเกษตรที่มี ๖. ขาดความเชื่อมโยงระหว่างแหล่งท่องเท่ียว ศักยภาพในการแขง่ ขนั ไดแ้ ก่ มะพร้าวน้าหอม กลว้ ยไม้ เปน็ ตน้ หลกั ไปยังแหลง่ ท่องเทยี่ วรอง ๖. องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาครมีงบประมาณเพียงพอ ๗ . การป ระชาสัมพั นธ์ด้าน การท่ องเที่ยว ต่อการพฒั นาและส่งเสรมิ การท่องเทยี่ ว ท้ังทางตรงและทางอ้อม ไม่เพียงพอ ๗. องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาครมีเคร่ืองมือและ เทคโนโลยที ีท่ ันสมัย เพอ่ื รองรบั และสนับสนุนการท่องเท่ยี ว ๘. จังหวัดสมุทรสาครมีปราชญ์ท้องถิ่นท่ีมีความรู้และภูมิปัญญา ท้องถิ่นหลายด้าน ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ในการพัฒนาอาชีพ และสร้างรายได้ของประชาชน ๙. จังหวัดสมุทรสาครมีทาเลที่ต้ังทางภูมิศาสตร์ท่ีเหมาะแก่การ เปน็ จดุ ศูนย์กลางเช่ือมโยงการคมนาคม การค้า การทอ่ งเที่ยว
๒๙ ๔.๒ บทวิเครำะหส์ ถำนภำพด้ำนกำรท่องเที่ยวภำยนอกองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดสมุทรสำคร โอกำส (Opportunities) อปุ สรรค (Threats) ๑. พ.ร.บ.กาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่ ๑. เศรษฐกิจโลกกาลังอยู่ในช่วงฟื้นตัว โดยเฉพาะ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๑๗ ให้องค์การบริหาร การชะลอตวั ของเศรษฐกิจจนี ส่วนจังหวัดมีอานาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการ ๒. ขาดความเช่ือมโยงของระบบขนส่งมวลชน สาธารณะเพ่ือประโยชน์ของประชาชนในท้องถ่ินของตนเอง ระหว่างสนามบินและตัวเมืองขาดสิ่งอานวย ที่สนบั สนุนด้านการทอ่ งเท่ียวทั้งทางตรงและทางอ้อม ความสะดวกเพ่อื รองรบั นักท่องเท่ยี ว ๒. ยุทธศาสตร์การท่องเท่ียวตามแผนพัฒนาการท่องเท่ียว ๓ . ข าด ก ารอ นุ รัก ษ์ แ ล ะ บ ริห ารจั ด ก ารขี ด แห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ปรับตัวให้ ความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเท่ียว สอดคล้องกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกและส่งเสริม โดยเฉพาะในพน้ื ท่ีทีเ่ ป็นท่ีนิยมสงู การกระจายรายได้ การท่องเท่ียวคุณภาพอยา่ งมีดุลยภาพและย่งั ยืน และผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวสู่ท้องถิ่นยังต้อง ๓. จังหวัดสมุทรสาครมีวิสัยทัศน์การพัฒ นาจังหวัด ได้รบั การพัฒนา สมุทรสาคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) และวิสัยทัศน์กลุ่ม ๔. มาตรฐานด้านความปลอดภัย และสขุ ภาพอนามัย จังหวัด โดยใช้กลยุทธ์ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานแหล่ง ของประเทศไทยยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่า เกิด ท่องเท่ียวและบริการ อาช ญ ากรรม อุ บั ติ เห ตุ แ ล ะก ารห ลอ ก ลว ง ๔. การเพ่ิมขึ้นของนักท่องเที่ยวในระยะใกล้จากประเทศจีน นกั ท่องเที่ยวบ่อยครง้ั และมาเลเซยี และกลุ่มคนชนชนั้ กลาง เชน่ จีน อินเดยี ๔. การแขง่ ขันในตลาดการท่องเทีย่ วมแี นวโน้มสูงขึน้ ๕. ประเทศไทยมีทาเลที่ต้ังเป็นจุดศูนย์กลางของภูมิภาค เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ๖. การขยายตัวของสายการบินต้นทุนต่าและนักท่องเที่ยว เดนิ ทางทอ่ งเทยี่ วในระยะใกลม้ แี นวโนม้ เพิม่ ขน้ึ ๗. กระแสความนิยมท่องเที่ยวทางเลือก การขยายตัวของ ตลาดท่องเท่ียวเฉพาะทาง และนักท่องเท่ียวกลุ่มผู้สูงอายุ มแี นวโน้มเพิม่ สงู ขน้ึ ๘. การเติบโตของชนชั้นกลางท่ีเพ่ิมความสามารถในการ จบั จ่ายใช้สอยเพื่อการท่องเทย่ี ว ผลจากการวิเคราะห์สถานภาพด้านการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร จะนาไปใช้เป็น ขอ้ มลู ประกอบการจดั ทายทุ ธศาสตร์ดา้ นการท่องเที่ยวต่อไป
๓๐ วสิ ยั ทัศนแ์ ละยุทธศำสน์กำรพฒั นำดำ้ นกำรท่องเที่ยวขององค์กำรบริหำรส่วนจงั หวัดสมุทรสำคร จากการวิเคราะห์ SWOT ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าแนวโน้มการท่องเที่ยวที่กาลังเปล่ียนแปลงไป เน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงทางพฤติกรรมของนักท่องเท่ียวและการเปล่ียนแปลงเชิงรูปแบบการท่องเท่ียว อีกทั้งกลุ่มนักท่องเที่ยวในแต่ละสาขาการท่องเที่ยวนั้นมีรายได้ที่แตกต่างกัน ผลของสภาพเศรษฐกิจท่ีชะลอตัว ส่งผลให้การแข่งขันในภาคอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวมีแนวโน้มการแข่งขันที่รุนแรงมากข้ึน ทุกประเทศต่างให้ ความสาคัญกับการลงทุนและพัฒนาด้านการท่องเที่ยว เพื่อสร้างรายได้ให้ประเทศ ประกอบกับบริบทท่ีเปล่ียนไป ทั้งสถานการณ์และปัจจยั เสีย่ งด้านการทอ่ งเท่ียวท่ีนับวันจะทวีความรุนแรงและเปล่ียนแปลงเรว็ ขึ้น องคก์ ารบริหาร ส่วนจังหวัดสมุทรสาคร จึงมีความจาเป็นต้องแสวงหาแนวทางการพัฒนาการท่องเท่ียว โดยกาหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ เป้าหมาย พันธกิจ และ การพัฒนาดังนี้ ๑. วิสัยทศั น์ “สมทุ รสำครเปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทำงเลือกใหม่ ใสใ่ จสิ่งแวดลอ้ ม” ๒. เปำ้ ประสงค์ ๒.๑ เพิ่มขดี ความสามารถการแขง่ ขนั ด้านการท่องเท่ียวของจังหวดั สมุทรสาคร ๒.๒ ประชาชนมีรายได้จากการทอ่ งเทยี่ วเพ่ิมข้ึน ๒.๓ สร้างรายไดแ้ ละกระจายรายไดใ้ หแ้ ก่ประชาชนโดยคานึงถึงความสมดลุ และยง่ั ยืน ๓. พนั ธกิจ ๑. ส่งเสรมิ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพือ่ การท่องเที่ยวในจังหวัดแบบบรู ณาการ ๒. พัฒนาสังคมใหน้ า่ อยู่ ผลักดนั เศรษฐกจิ และส่งเสรมิ การเกษตร อตุ สาหกรรม ใหม้ ผี ลติ ภณั ฑ์ที่ได้ มาตรฐานสากล ๓. พัฒนาและฟนื้ ฟูแหล่งท่องเทย่ี วให้มศี กั ยภาพควบคู่ไปกบั การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และวิถชี ุมชน ๔. สรา้ งการมีสว่ นรว่ มกับทกุ ภาคส่วนด้านการอนุรกั ษแ์ หลง่ ทอ่ งเที่ยว ส่งิ แวดล้อม ประเพณีและวฒั นธรรม ท่ยี ่ังยืน
๓๑ ๔. ยทุ ธศำสตรแ์ ละแนวทำงกำรพัฒนำ ยุทธศำสตร์ แนวทำงกำรพฒั นำ แผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม ๑. การพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน (๑) พฒั นาและปรบั ปรุงสาธารณปู โภค ๑. ขยายเขตระบบจาหน่ายไฟฟ้าสาธารณะใน (๒) พฒั นาการคมนาคมและการขนสง่ เขตจังหวดั สมทุ รสาคร ๒. ก่อสร้าง/ปรบั ปรุงระบบประปาพืน้ ที่จงั หวัด สมทุ รสาคร ๓. ยกระดับปากทางแยกถนนรุ่งฤดี ถึง โรงเรียนกระทุ่ มแบน (วิเศษ สมุทรคุณ ) หมู่ที่ ๑๓ ต.บางยาง อ.กระทมุ่ แบน ๔. ปรับปรุงผิวจราจรซอยวัดธรรมจริยาภิรมย์ (แยกจากถนนสายบ้านแพ้ว – พระประโทน ถึงทางเข้าวัดธรรมจริยาภิรมณ์ ) หมู่ที่ ๑ ต.หลักสาม อ.บา้ นแพว้ ๒. การพัฒนาเศรษฐกจิ (๑) ส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบ ๑. ฝึกอบรมและส่งเสริมอาชีพประชาชนใน อาชีพและพัฒนาศักยภาพกลุ่มอาชีพทั้ง จังหวดั สมุทรสาคร ดา้ นการผลิต การแปรรูปและการตลาด ๒. ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการท่องเที่ยว (๒) พัฒนาระบบการจัดการท่องเที่ยว ของจงั หวัดสมทุ รสาคร เชิงรุก ๓. สืบสานประเพณี วัฒนธรรมกตัญญูคู่ (๓) ส่งเสริมและสนับสนุน การอนุรักษ์ แผน่ ดินไทย ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญา ๔. สบื สานประเพณวี ฒั นธรรมไทยทรงดา ทอ้ งถน่ิ ๕. เทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้า ตากสิน มหาราชและประเพณี ห่อข้าวต้มมดั สามคั คี ๓ . ก า ร อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ ฟ้ื น ฟู (๑) ส่งเสริมสนับสนุนความร่วมมือในการ ๑. กาจดั วชั พชื ในแมน่ ้าท่าจีน และลาคลอง ส่ิงแวดล้อม รักษาสภาพแวดล้อม ทั้งทางธรรมชาติ ๒. ป้องกันและแก้ไขปัญหาน้าทะเลกัดเซาะ และประวตั ศิ าสตร์ ชายฝ่ัง (๒ ) การบ ริห ารจัด การส่ิงแวด ล้อ ม ๓. การจัดการขยะมูลฝอย และของเสีย และมลพิษ อันตรายชมุ ชน ๔. ส่งเสริมการใชพ้ ลังงาน ๕. โรงเรยี นสง่ิ แวดล้อม ๖. รณรงค์วนั ปลอดรถ ลดโลกร้อน (สมทุ รสาครคารฟ์ รีเดย์) ๗. เสริมสรา้ งจิตสานึก และการมีส่วนร่วมของ ภ า ค ป ร ะ ช า ช น ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๘. เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมในการ ปฏิบตั ิราชการ
๓๒ ยุทธศำสตร์ แนวทำงกำรพฒั นำ แผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม ๔. การส่งเสรมิ คุณภาพชวี ติ (๑) การจดั ระเบยี บสังคมและการรกั ษา ๑. จัดระบบรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยและ ความสงบเรยี บร้อย ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยส์ นิ ของ ๕. การพฒั นาการเมืองและ ประชาชน การบรหิ าร (๑) สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มในการพัฒนา ๒. ป้องกนั และลดอบุ ัตเิ หตุจราจรในช่วง ทอ้ งถิน่ และสร้างสงั คมให้มีความเขม้ แขง็ เทศกาลปีใหมแ่ ละสงกรานต์ (๒) พัฒนาระบบการใหบ้ ริการ อุปกรณ์ และสิง่ อานวยความสะดวก ๑. ส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มในการแก้ไข ปัญหาและการพฒั นาทอ้ งถิน่ ๒. จดั หาอุปกรณแ์ ละซอฟแวรล์ ขิ สทิ ธิ์ อทุ ยานการเรยี นร้สู มุทรสาคร การขับเคลอื่ นแผนส่งเสรมิ การท่องเที่ยวองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ ไปสู่การปฏบิ ตั ิ การจะขับเคล่ือนแผนส่งเสริมการท่องเที่ยวองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุกระดับจนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนานั้น จะต้องมีกระบวนการบรหิ ารจัดการแผนยุทธศาสตร์ โดยองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด สมุทรสาครจะต้องดาเนินการตามกลยทุ ธ์แนวทางดาเนินการตามความเหมาะสม และจะต้องใหค้ วามสาคัญกบั การ มสี ่วนรว่ มของประชาชน และทกุ ภาคส่วน ตอ่ การดาเนินการในทกุ ขั้นตอนและแผนตั้งแต่รว่ มคดิ รว่ มวางแผน และ ร่วมตัดสินใจ ดาเนินงานตามแผนพัฒนาอย่างต่อเน่ือง โดยระดมทรัพยากรและผนึกพลังสังคมร่วมขับเคลื่อนการ พัฒนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมควบคู่ไปกับการจัดกลไก และกระบวนการบริการการ เปลี่ยนแปลงด้วยการจัดทา และใช้แผนระดับต่าง ๆ เป็นเครื่องมือในการขับเคล่ือน และปรับระบบการจัดสรร ทรัพยากรและงบประมาณ ให้เอื้อต่อการพัฒนาสร้างองค์ความรู้เพ่ือหนุนเสรมิ การขับเคลื่อนให้เกิดผลสมั ฤทธ์ิ โดย มีเป้าหมายร่วมกันคือการส่งเสริมพัฒนาภาคการท่องเท่ียวให้เป็นแหล่งสร้างรายได้และกระจายรายได้อย่างสมดุล และยง่ั ยืนดงั นี้
๓๓ การนานโยบายไปส่กู ารปฏิบตั ิ การถ่ายทอดแผนส่งเสริมการท่องเท่ียวองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตามเป้าประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้น จะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในยุทธศาสตร์ และแนวทางปฏิบัติ ตลอดจนความร่วมมือร่วมใจรวมท้ังการติดตาม ประเมินผลจากภาคีการพฒั นา โดยการสร้างความรคู้ วามเข้าใจให้แกก่ ลุ่มภาคีการพัฒนา จัดให้มีกระบวนการสรา้ ง ความรู้และการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนให้เข้าใจในเนื้อหาสาระสาคัญของแผน ส่งเสริมการท่องเท่ียวองค์การ บริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ โดยเฉพาะภารกิจและบทบาทของตนที่จะสนับสนุนการ แปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งรณรงค์ให้ใช้แผนยุทธศาสตร์และแนวทางมาตรการดังกล่าว เป็นเครื่องมือ ในการกาหนดนโยบายการพัฒนาฟื้นฟูและกระตุ้นการท่องเที่ยว โดยการจัดประชุมช้ีแจงแผนเกี่ยวข้องกับการ ท่องเท่ียวภายในจังหวัดสมุทรสาคร เพ่ือจะได้นาไปกาหนดเป็นกรอบ แผนงาน/โครงการ และวางแผนด้านงบประมาณ กาหนดเป็นแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับระยะเวลาของแผนพัฒนาฯ รวมท้ังสร้างความเข้าใจถึงระบบ ความสัมพันธ์และความสาคัญ ของภาคีพัฒ นาเครือข่ายด้านการท่องเท่ียวท่ีมีต่อการพัฒ นาแ ละส่งเสริมการ ท่องเท่ียว โดยผ่านการส่ือสารประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ เพ่ือเป็นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสู่การรับรู้ของสังคมใน วงกว้างให้เห็นถึงความสาคัญและเกิดจิตสาธารณะในการสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีต่อการท่องเที่ยว พร้อมทั้งเป็นการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการตัดสินใจ และร่วมกันบริหารจัดการการท่องเที่ยว เพ่อื ใหเ้ กดิ การสร้างรายได้และกระจายรายไดอ้ ย่างเปน็ ธรรม
ภาคผ
ผนวก
แผนสง่ เสรมิ การทอ่ งเท องค์การบริหาร ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ : การพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐาน แนวทางการพฒั นาท่ี ๑ : พัฒนาและปรับปรุงสาธารณปู โภค ลำดับที่ โครงกำร วัตถปุ ระสงค์ เปำ้ หมำย ๒๕๖๒ ๑. ขยายเขตระบบจาหนา่ ย (ผลผลิตของโครงกำร) ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ไฟฟ้าสาธารณะในเขต ๑. เพื่อแกไ้ ขปญั หา สนบั สนุนงบประมาณแก่ ๒. จังหวดั สมทุ รสาคร และกระแสไฟฟา้ ก า ร ไฟ ฟ้ า ส่ ว น ภู มิ ภ า ค ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ไม่เพยี งพอ ดาเนินการขยายเข ต ก่อสร้าง/ปรบั ปรุงระบบ ๒. เพือ่ อานวยความ ระบบจาหน่ายไฟฟ้า ป ระ ป าพ้ื น ท่ี จั งห วัด สะดวกแก่ประชาชน สมุทรสาคร ในการดาเนนิ สนับสนุนงบประมาณแก่ ชีวิตประจาวัน อ งค์ก รป ก ครอ งส่ว น เพอ่ื ใหป้ ระชาชน ท้ อ ง ถิ่ น ใ น เข ต จั ง ห วั ด มนี า้ สาหรบั ดาเนนิ การ อุปโภคบริโภค ๑. ขุดเจาะบอ่ บาดาล เพยี งพอและทวั่ ถงึ ๒. ก่อสร้างหอถังเกบ็ น้า ๓. เดนิ ทอ่ นา้ ประปา ๔. ตดิ ต้งั เครอ่ื งสูบนา้ ฯลฯ
ท่ยี ว (ประจาปี ๒๕๖๒ – ๒๕๖๔) รสว่ นจงั หวดั สมทุ รสาคร งบประมำณท่ีแลว้ มำ ตัวชวี้ ัด คำ่ ผลลัพธท์ ่ีคำดว่ำจะได้รับ หน่วยงำนที่ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ (KPI) เป้ำหมำย รับผดิ ชอบ ป ระ ชาชน ได้ รับ ความ ๐ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ จานวนการ ๕ แหง่ ต่อปี สะดวกเกิดความปลอดภัย กองช่าง ขยายเขตไฟฟ้า ในชวี ิตและทรพั ย์สิน ระบบจาหน่าย ไฟฟ้า ๐ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ จ า น ว น ก า ร ๕ แห่งตอ่ ปี ป ร ะ ช า ช น มี น้ า ส า ห รั บ กองชา่ ง อุ ป โภ ค บ ริ โภ ค อ ย่ า ง ก่ อ ส ร้ า ง / เพียงพอและท่วั ถงึ ปรับปรุงระบบ ประปา
ยทุ ธศำสตร์ท่ี ๑ : กำรพัฒนำโครงสรำ้ งพ้ืนฐำน แนวทำงกำรพัฒนำท่ี ๒ : พฒั นำกำรคมนำคมและกำรขนสง่ ลำดับที่ โครงกำร วตั ถปุ ระสงค์ เปำ้ หมำย ๒๕๖๒ ๑. (ผลผลิตของโครงกำร) - ยกระดับปากทางแยก เพือ่ พฒั นาเสน้ ทาง ยกระดับถนนขนาดผิว ๒. ถนนร่งุ ผลดี – โรงเรียน คมนาคมให้ จราจรกว้าง ๖ เมตร - กระท่มุ แบน ประชาชนไดร้ ับ ระยะทาง ๑,๐๐๐ เมตร (วเิ ศษสมทุ รคณุ ) ความสะดวกและ หนา ๐.๒๐ เมตร หมู่ท่ี ๑๓ ต.บางยาง ความปลอดภยั ใน อ.กระทุ่มแบน การสญั จร ปรบั ปรุงผวิ จราจรด้วย ปรับปรุงผิวจราจรซอย เพ่อื พัฒนาเส้นทาง แอสฟัลทต์ กิ คอนกรตี วดั ธรรมจรยิ าภริ มย์ คมนาคมให้ ขนาดผวิ จราจรกวา้ ง (แยกจากถนนสาย ประชาชนไดร้ ับ ๖ เมตร ยาว ๕๒๓ เมตร บ้านแพว้ – พระ ความสะดวกและ หนาเฉลย่ี ๐.๑๐ เมตร ประโทนถงึ ทางเขา้ ความปลอดภยั วดั ธรรมจริยาภิรมณ)์ ในการสัญจร หมทู่ ี่ ๑ ต.หลักสาม อ.บ้านแพว้
งบประมำณท่แี ลว้ มำ ตวั ชว้ี ัด คำ่ ผลลพั ธ์ทค่ี ำดวำ่ จะไดร้ บั หน่วยงำนที่ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ (KPI) เป้ำหมำย รบั ผิดชอบ - ๕,๐๐๐,๐๐๐ เกิ ด ค ว า ม เชื่ อ ม โ ย ง ก า ร ขนาดพ้นื ที่ ไม่น้อยกวา่ ค ม น า ค ม ภ า ย ใน จั ง ห วั ด กองชา่ ง ดาเนินการ ๖,๐๐๐ และประชาชนได้รับความ แล้วเสรจ็ เมตร สะดวก ปลอดภัยในการ สญั จร - ๒,๑๘๐,๐๐๐ ขนาดพน้ื ท่ี ไมน่ อ้ ยกวา่ เกิ ด ค ว า ม เช่ื อ ม โ ย ง ก า ร กองชา่ ง ดาเนนิ การ ๓,๑๓๔ ค ม น า ค ม ภ า ย ใน จั ง ห วั ด แลว้ เสรจ็ ตร.ม. และประชาชนได้รับความ สะดวก ปลอดภัยในการ สัญจร
ยุทธศำสตรท์ ี่ ๒ : กำรพฒั นำเศรษฐกิจ แนวทำงกำรพฒั นำท่ี ๑ : ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ กำรประกอบอำชพี และพัฒนำศกั ยภำพกล่มุ อำชีพท ลำดับที่ โครงกำร วัตถปุ ระสงค์ เปำ้ หมำย ๒๕๖๒ (ผลผลิตของโครงกำร) ๑. ฝกึ อบรมและสง่ เสรมิ เพือ่ สง่ เสริมและ ผู้ สู ง อ า ยุ เย า ว ช น ๑,๐๐๐,๐๐๐ อาชีพประชาชนใน พัฒนาทักษะดา้ น ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส จงั หวัดสมทุ รสาคร อาชีพให้ประชาชน และประชาชนทวั่ ไป ยทุ ธศำสตร์ท่ี ๒ : กำรพัฒนำเศรษฐกิจ แนวทำงกำรพฒั นำที่ ๒ : พฒั นำระบบกำรจดั กำรทอ่ งเทีย่ วเชงิ รกุ ลำดบั ท่ี โครงกำร วัตถปุ ระสงค์ เปำ้ หมำย ๒๕๖๒ ๑. (ผลผลิตของโครงกำร) ๕๐,๐๐๐ ประชาสมั พันธแ์ ละ ๑. เพ่อื ส่งเสริมการท่องเท่ยี ว ประชาสมั พนั ธแ์ หลง่ ๑. จัดทาแผ่นพับแหล่ง ของจังหวดั สมุทรสาคร ท่องเท่ียวทีม่ ีอยเู่ ดมิ ท่ อ ง เ ท่ี ย ว / แ ผ น ท่ี และแหล่งทอ่ งเทยี่ ว ทอ่ งเท่ยี ว ท่เี กิดขึน้ ใหม่ รวมทั้ง ๒. คู่มอื แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ประเพณีและ ๓. นิทรรศการภาพถ่าย วัฒนธรรมของ สถานทีท่ ่องเทีย่ ว จงั หวดั ใหเ้ ปน็ ที่รจู้ ัก ๔ . กิ จ ก รรม อ่ื น ๆ ที่ ของนกั ท่องเทยี่ ว เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ทั้งชาวไทยและ การท่องเที่ยวในจังหวัด ชาวต่างชาติ สมุทรสาคร ๒. เพอ่ื สรา้ งรายได้ ให้กับประชาชน จังหวดั สมทุ รสาคร
ทง้ั ด้ำนกำรผลิต กำรแปรรูปและกำรตลำด งบประมำณทแ่ี ลว้ มำ ตวั ชี้วดั ค่ำ ผลลัพธ์ทคี่ ำดวำ่ จะไดร้ บั หนว่ ยงำนท่ี เปำ้ หมำย รับผิดชอบ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ (KPI) ๑. ประชาชนได้รับการ ไมน่ อ้ ยกวา่ ส่งเสริมอาชีพและใช้เวลา สานกั ปลัดฯ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ จานวนกจิ กรรม ๑ กิจกรรม ว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ตอ่ ปี ๒. ประชาชนมีความรู้ ทีด่ าเนินการ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ เส ริ ม เพม่ิ รายได้ งบประมำณทแี่ ลว้ มำ ตวั ชีว้ ดั ค่ำ ผลลัพธท์ ่คี ำดว่ำจะได้รบั หน่วยงำนที่ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ (KPI) เป้ำหมำย รบั ผดิ ชอบ ๕๐,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐ รายได้รวมของจังห วัด จานวนกิจกรรม ไมน่ อ้ ยกวา่ เพ่ิมข้ึนส่งผลให้คุณภาพ สานกั ปลัดฯ ที่ดาเนนิ การ ๒ กิจกรรม ชีวิตข อ งป ระ ชาชน ใน จังหวดั สมทุ รสาครดีขึน้
ยทุ ธศำสตรท์ ่ี ๒ : กำรพฒั นำเศรษฐกจิ แนวทำงกำรพฒั นำท่ี ๓ : ส่งเสริมและสนับสนุนกำรอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรม และภมู ิปัญญำทอ้ ลำดบั ท่ี โครงกำร วัตถปุ ระสงค์ เปำ้ หมำย ๒๕๖๒ ๑. (ผลผลิตของโครงกำร) ๒๐๐,๐๐๐ สืบสานประเพณี เพอ่ื อนุรกั ษ์ สนับสนนุ งบประมาณจัด ๒. วัฒนธรรมกตัญญู วัฒนธรรม งานประเพณีสงกรานต์ ๓๐๐,๐๐๐ ๓. ค่แู ผ่นดินไทย ขนบธรรมเนียม ๑๐๐,๐๐๐ ประเพณีของไทยให้ สนับสนุนงบประมาณจัด สบื สานประเพณี ดารงไวต้ ลอดไป งานสืบ สานป ระเพ ณี วัฒนธรรมไทยทรงดา เพอ่ื เป็นการอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทยทรงดา วฒั นธรรมประเพณี สนับสนนุ งบประมาณจัด เทดิ พระเกียรติสมเด็จ ท้องถ่ิน งา น เทิ ด พ ระ เกี ย ร ติ พระเจา้ ตากสินมหาราช เพอ่ื เทดิ พระเกียรติ ส ม เด็ จ พ ร ะ เจ้ า ต า ก สิ น และประเพณหี อ่ ขา้ วตม้ สมเด็จพระเจา้ ตาก ม ห า ร า ช แ ล ะ ป ร ะ เพ ณี มัดสามัคคี สินมหาราช และ ห่อขา้ วต้มมัดสามคั คี สืบสานประเพณี วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน
องถน่ิ งบประมำณท่แี ล้วมำ ตัวช้ีวดั คำ่ ผลลพั ธ์ท่คี ำดว่ำจะไดร้ ับ หน่วยงำนที่ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ (KPI) เปำ้ หมำย รบั ผดิ ชอบ อ นุ รั ก ษ์ วั ฒ น ธ ร ร ม ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ ค ว า ม พึ งพ อ ใจ ไม่นอ้ ยกวา่ ประเพณีท้องถ่ินให้คงอยู่ กองการศึกษาฯ ข อ ง ผู้ เข้ า ร่ ว ม รอ้ ยละ ๘๐ สบื ไป โครงการ ๓๐๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐ ค ว า ม พึ งพ อ ใจ ไมน่ ้อยกวา่ อ นุ รั ก ษ์ วั ฒ น ธ ร ร ม กองการศึกษาฯ ๑๐๐,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ ข อ ง ผู้ เข้ า ร่ ว ม ร้อยละ ๘๐ ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่ กองการศกึ ษาฯ โครงการ สบื ไป ไม่นอ้ ยกวา่ ค ว า ม พึ งพ อ ใจ ร้อยละ ๘๐ ๑. ประชาชนได้แสดงออก ข อ ง ผู้ เข้ า ร่ ว ม ถึงความ จงรัก ภั ก ดีต่อ โครงการ สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ๒ . อ นุ รัก ษ์ วัฒ น ธรรม ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่ สืบไป
ยุทธศำสตร์ท่ี ๓ : กำรอนุรักษ์และฟืน้ ฟูสง่ิ แวดล้อม แนวทำงกำรพฒั นำที่ ๑ : สง่ เสรมิ สนบั สนุนควำมร่วมมอื ในกำรรกั ษำสภำพแวดล้อม ทง้ั ทำงธรรมช ลำดับที่ โครงกำร วตั ถุประสงค์ เปำ้ หมำย ๒๕๖๒ ๑. กาจัดวัชพชื ในแม่น้าทา่ (ผลผลิตของโครงกำร) ๓,๐๐๐,๐๐๐ ๒. จนี และลาคลอง เพื่อลดปรมิ าณวชั พืช ๕,๐๐๐,๐๐๐ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา ในแมน่ า้ ท่าจนี และ จั ด เก็ บ วั ช พื ช ใน แ ม่ น้ า ๓. น้าทะเลกัดเซาะชายฝัง่ คลองต่าง ๆ ท่ า จี น ค ล อ งต่ า ง ๆ ๕๐๐,๐๐๐ ๑. เพ่ือลดแรงคล่นื ในจังหวัดสมทุ รสาคร การจดั การขยะมูลฝอย และรักษาพนื้ ท่ี และของเสียอันตราย ชายฝ่งั ๑. เรยี งหิน ชุมชน ๒. เพื่อฟ้ืนฟรู ะบบ ๒. สร้างแนวชะลอคลื่น นเิ วศนป์ ่าชายเลน และดินเลน ๓. กอ่ สร้างเขอื่ น เพ่ือลดปริมาณขยะ ๔ . ฟ้ื น ฟู ท รั พ ย า ก ร มลู ฝอยและของเสยี ปา่ ชายเลน อนั ตรายชุมชน ฯลฯ ๑. ส่งเสริมการคัดแยก ขยะมูลฝอยและของเสีย อันตรายชุมชน ๒. อบรมให้ความรู้ด้าน ขยะมูลฝอยและของเสีย อนั ตรายชมุ ชน ๓. สร้างความร่วมมือ ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ินและประชาชนใน การจัดการขยะมูลฝอย แ ล ะ ข อ ง เสี ย อั น ต ร า ย ชุมชน ฯลฯ
ชำติและประวัตศิ ำสตร์ งบประมำณที่แล้วมำ ตวั ชว้ี ัด ค่ำ ผลลพั ธท์ ี่คำดว่ำจะได้รับ หนว่ ยงำนที่ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ (KPI) เป้ำหมำย รับผดิ ชอบ แ ม่ น้ า ท่ า จี น แ ล ะ ค ล อ ง ๐ ๓,๐๐๐,๐๐๐ ๓,๐๐๐,๐๐๐ ปริมาณการ ๒๐๐ ตนั สาธารณะมีความสะอาด กองชา่ ง จดั เก็บต่อวัน ๐ ๕,๐๐๐,๐๐๐ ๕,๐๐๐,๐๐๐ จานวนกจิ กรรม ๒ กิจกรรม การกัดเซาะชายฝั่งลดลง กองช่าง/ ทดี่ าเนินการ ต่อปี และเพ่มิ พ้ืนทปี่ ่าชายเลน กองแผนฯ ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ จานวน ๓๐๐ คน ขยะมูลฝอยและของเสยี กองแผนฯ ผู้เขา้ ร่วม อันตรายชมุ ชนไดร้ บั การ โครงการ จัดการอย่างถกู วธิ ี ไม่ก่อใหเ้ กิดมลพิษ
Search