บทท่ี 3 การใช้ PHP เบื้องตน้
การเขยี นภาษา PHP สาหรับการเขยี นก็จะอาศยั โปรแกรมประเภท text editor ทว่ั ไป เช่น ใช้ โปรแกรม NotePad ในระบบ windows เป็นต้น แต่ทนี่ ี้จะใช้โปรแกรม EditPlus โครงสรา้ งพ้ืนฐาน ทกี่ ลา่ วไปแล้วว่า PHP สามารถใช้ร่วมกับ HTML ไดท้ ันทีนัน้ เราจะมี สัญลักษณพ์ ิเศษทีแ่ ยก PHP ออกจาก HTML แบบท่ี 1 เปดิ ด้วยแทก็ <? และ ปิดดว้ ย ?> ภายใตแ้ ท็ก <?…?> นั้นจะ เป็น PHP ท้งั หมด ตวั อยา่ งเช่น
แบบที่ 2 เปิดด้วยแทก็ <?php และ ปดิ ดว้ ย ?> ภายใต้แทก็ <?…?> นัน้ จะเปน็ PHP ท้ังหมด ตวั อย่างเชน่ แบบที่ 3 เปิดดว้ ยแทก็ <script language=”php”> และ ปดิ ดว้ ย </script> ภายใต้สคริปต์น้นั จะเปน็ PHP ทัง้ หมด ตัวอย่างเชน่ แบบท่ี 4 เปดิ ด้วยแทก็ <% และ ปดิ ด้วย %> ภายใต้สครปิ ต์นนั้ จะเป็น PHP ทง้ั หมด ตัวอยา่ งเช่น
การเขยี น Comment ในการเขยี นโปรแกรมใดๆ กต็ ามโดยเฉพาะระบบโปรแกรมใหญๆ่ ส่วนจะ หลงลืม หรือจาไมไ่ ดว้ ่า แตล่ ะสว่ นเขียนไปเพ่อื อะไร จงึ ควรใสห่ มายเหตุ ของโปรแกรมลงไปดว้ ย สาหรับ PHP นัน้ ใช้สญั ลักษณ์ // และ # เพอื่ บอก โปรแกรมวา่ ไมต่ อ้ งประมวลผล ในสว่ นนน้ั ๆ ตัวอยา่ ง
การแสดงข้อความออกทาง Browser ในการแสดงผลได้ 2 คาส่งั คือ echo และ print ซึ่งสามารถใช้แทนกนั ได้ ทนั ที โดยไมต่ ้องเปลยี่ น syntax ใดๆอีก ผลทไ่ี ด้ :
การใชต้ ัวแปรในภาษา PHP สาหรับการเขยี นโปรแกรมสาหรับภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสงู ส่งิ ทจ่ี ะ ขาดเสยี มิไดค้ อื การกาหนดและใช้ตัวแปร (variable) ตวั แปรในภาษา PHP จะเหมือนกบั ในภาษา Perl คือเรมิ่ ต้นด้วยเคร่อื งหมาย dollar ($) โดยเราไม่จาเปน็ ต้องกาหนดแบบของขอ้ มลู (data type) อย่างเจาะจง เหมือนในภาษาซี เพราะว่า ตวั แปลภาษาจะจาแนกเองโดยอตั โนมตั วิ า่ ตัวแปรดงั กลา่ ว ใชข้ อ้ มลู แบบใด ในชว่ งเวลานน้ั ๆ เช่น ขอ้ ความ จานวน เต็ม จานวนท่ีมเี ลขจดุ ทศนิยมตรรก เปน็ ต้น ตัวอยา่ งการใชง้ าน เชน่
ถ้าเราต้องการจะแสดงค่าของตัวแปร กอ็ าจจะใชค้ าสง่ั echo ได้ ตัวอย่างเช่น
คาส่ังใสร่ ปู ภาพลงเว็บเพจ เราสามารถใชค้ าส่ังแสดงรปู ภาพท่เี ราต้องใหป้ รากฏบนเว็บเพจเราได้ ดว้ ยการใช้คาสัง่ <IMG SRC=\\"ชื่อไฟล์.gif หรือ.jpg\\"> โดยจะต้องมี การใช้ \ ดว้ ย เช่น
โดยมีคาสงั่ ในเพม่ิ เตมิ ในการแสดงภาพ ดงั นี้ การกาหนดขนาดรูปภาพ ให้ตรงกับความตอ้ งการ WIDTH หมายถงึ ความกว้างของรปู ภาพ และHEIGHT หมายถึง ความสูงของรปู ภาพ <IMG SRC= \“picture.gif\” WIDTH=number% | HEIGHT=number%> การกาหนดกรอบใหก้ บั รูปภาพ <BORDER=n> การวางตาแหน่งรปู ภาพ แบบแนวนอน ประกอบดว้ ย LEFT | RIGHT แบบแนวตั้ง ประกอบดว้ ย เสมอบน มี 2 คาส่ัง คอื TOP | TEXTTOP กึง่ กลาง มี 2 คาสัง่ คือ MIDDLE | ABSMIDDLE เสมอลา่ ง มี 3 คาสั่ง คือ BASELINE | BOTTOM | ABSBOTTOM
ชนดิ ของข้อมลู Integers ใช้สาหรบั เกบ็ ขอ้ มูลจานวนเตม็ ทงั้ จานวนเต็มบวกและจานวน เตม็ ลบ รวมท้งั แสดงคา่ เป็น เลขฐานสบิ (0-9) ฐานแปด (0-7) และ เลขฐานสิบหก (0-9, A-F หรอื a-f) โดยทเ่ี ลขฐานแปดจะข้ึนต้นดว้ ย 0 และเลขฐานสบิ หกจะขน้ึ ต้นดว้ ย 0x หรอื 0X มคี ่าได้ทง้ั บวกและลบ
Floating point ใช้สาหรับเก็บขอ้ มูลจานวนจริงบวกและลบ จะมที ศนยิ ม หรือไม่มีกไ็ ด้และรปู แบบยกกาลงั String ใช้เก็บข้อมลู ทเ่ี ปน็ ขอ้ ความ รวมท้ังตวั เลข (ไมส่ ามารถนาไป คานวณได้) รหสั ควบคุมพิเศษต่างๆ
Array ขอ้ มูลแบบนี้เป็นการเก็บขอ้ มูลเปน็ ชดุ ๆ แตล่ ะชุดมสี มาชิกเปน็ ของตวั เองจะมมี ากนอ้ ยแค่ไหนกไ็ ด้ ทาใหม้ ีความคลอ่ งตัวในการใช้งาน มากขน้ึ การสร้างตวั แปรอาเรย์จะใช้ฟังก์ชนั array() Object เป็นการเขยี นชุดคาส่งั เพอ่ื เกบ็ ข้อมลู ในลักษณะออปเจกต์ เพื่อ การเรียกใช้ Class Object หรอื Function ผลลพั ธท์ ไี่ ดค้ ือข้อความว่า Hello World ในการเรียกใชฟ้ ังกช์ นั ท่อี ยู่ภายใน Class จะใช้เครือ่ งหมาย -> เปน็ การอ้างอิง
ตวั ดาเนนิ การ หรือ Operator ในภาษา PHP มี Operator ตา่ งๆ ให้ใช้ ไมว่ ่าจะเป็นโอเปอเรเตอรท์ าง คณติ ศาสตร์ โอเปอเรเตอร์เชิงตรรกะ เชน่ เดยี วดบั ภาษาอน่ื ดงั น้ี
การใช้เงอื่ นไข(condition) เพื่อการตดั สนิ ใจ การใช้ IF...ELSE Condition เป็นการกาหนดเงอื่ นไขที่ธรรมดาทีส่ ุด คอื กาหนดเงอื่ นไข แลว้ โปรแกรมตรวจสอบเงอื่ นไขน้ัน ถ้าเงอ่ื นไขน้ันเป็นจริง ก็จะทาตามคาสงั่ ทกี่ าหนด ถา้ เปน็ เทจ็ ก็จะไม่ทา ผลที่ได้ : Summation = 10
การใช้ Switch…Case ในบางครัง้ ในการกาหนดทางเลือกของโปรแกรม โดยการใช้ If…Else อาจจะทาใหเ้ ขยี นโปรแกรมยาวและทาความเขา้ ใจ ยาก ดังนั้นเราอาจใช้ Switch แทนซง่ึ เขยี นโปรแกรมงา่ ยกวา่ และมีความ กระชบั มากกวา่ ผลที่ได้ : i equals 2
การวนลปู การใช้ While Loop คาสงั่ while จะทางานโดยการตรวจสอบเงื่อนไข กอ่ น ถ้าเงอื่ นไขเปน็ จริงกจ็ ะทาตามคาส่งั ผลที่ได้ : 12345
Do while เป็นคาส่ังทค่ี ลา้ ยกบั While Loop แต่ตา่ งกนั ท่ี Do while น้ันจะ ทางานโดยการตรวจสอบเงอ่ื นไขภายหลงั จากการทางานไปแล้วแต่ While น้นั จะตรวจสอบเงือ่ นไขก่อนการทางาน ผลทีไ่ ด้ : 5 กรณที ใ่ี ช้ While...Loop จะทาการตรวจสอบเง่อื นไขก่อน แล้วจึงค่อยทาใน ลูป กรณที ี่ใช้ Do...Loop จะทาคาส่งั ในลูปกอ่ น แลว้ จึงคอ่ ยตรวจสอบเง่อื นไข
For Loop คาสั่งนจ้ี ะทาหน้าทสี่ งั่ ใหโ้ ปรแกรมทางานวนรอบตามตอ้ งการ ซึ่งกาหนดเปน็ เงือ่ นไข โดยจะทาเมื่อเงอ่ื นไขเปน็ จรงิ และจะมีลักษณะ การวนรอบทร่ี จู้ านวนรอบท่ีแน่นอน ผลทีไ่ ด้ : 12345
Foreach เปน็ การทางานในลักษณะวนรอบทท่ี างานกบั ตวั แปรอาร์เรย์ โดยสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มูลทว่ั ไป โดย $Value เปน็ ตัวกาหนดคา่ ใหก้ ับ array expression โดยพอยน์เตอร์จะเล่ือนไปตามสมาชดิ ถดั ไปของ อารเ์ รย์ตามการเปลย่ี นแปลงรอบทีเ่ ปลี่ยนไป
การใช้ break และ continue ภายในลูป คาสง่ั break เป็นคาสัง่ จะใชเ้ พ่ือใหห้ ยุดการทางาน จากการใช้คาสั่งเพอื่ วนรอบที่ผา่ นมาจะเห็นว่าจะออกจากการวนรอบเม่อื สิ้นสดุ การทางาน แลว้ เทา่ นน้ั แตถ่ า้ ต้องการให้หยุดทางานกะทนั หัน สามารถใช้คาส่งั break ก็ได้ คาสงั่ continue เปน็ คาสัง่ ทท่ี างานตรงข้ามกับคาสง่ั break คือ จะสง่ั ให้ โปรแกรมทางานต่อไป ถ้าใชค้ าสง่ั Continue กับ For เมอ่ื พบคาสง่ั นจี้ ะ เป็นการส่ังใหก้ ลบั ไปเพมิ่ ค่าให้กบั ตัวแปรทันที หรอื ถา้ ใช้กับคาสงั่ While เมือ่ พบคาสั่งน้จี ะเป็นการสง่ั ใหก้ ลับไปทดสอบเงือ่ นไขใหม่ทันที
ผลทไี่ ด้ :Blue คาสง่ั continue บังคบั ใหไ้ ปเร่ิมต้นทาขน้ั ตอนในการวนลูปคร้งั ตอ่ ไป สว่ น break นัน้ สง่ ผลใหห้ ยดุ การทางานของลูป
การใชค้ าสั่ง include และ require คาสง่ั ทัง้ สองเอาไว้แทรกเน้ือหาจากไฟล์อื่นทตี่ อ้ งการ ขอ้ แตกตา่ ง ระหวา่ ง include และ require อย่ตู รงทว่ี า่ ในกรณขี องการแทรกไฟลใ์ ช้ ช่อื ต่างๆ กันมากกวา่ หน่งึ ครง้ั โดยใช้ลูป คาสงั่ require จะอา่ นเพยี งแค่ ครง้ั เดยี ว คอื ไฟลแ์ รก และจะแทรกไฟล์นเี้ ทา่ นัน้ ไปตามจานวนครัง้ ทีว่ น ลปู ในขณะที่ include สามารถอา่ นได้ไฟล์ต่างๆ กันตามจานวนครงั้ ที่ ต้องการ
การใช้งาน MySQL การสรา้ งฐานขอ้ มูล ในการสรา้ งฐานขอ้ มูลของ MySQL สามารถสร้างผ่าน phpMyAdmin ได้เลย โดยการเลือก Internet Explorer ขึ้นมาพิมพ์ 127.0.0.1 ท่ี address bar จะได้หนา้ ต่างดังนี้
ชนิดของข้อมลู ใน MySQL ชนดิ ของขอ้ มลู พ้ืนฐาน มี 3 ชนดิ คอื ตวั เลข, วันท่ีเวลา และตวั อักษร แตล่ ะชนิดจะมีขนาดไม่เทา่ กัน ดงั น้นั เมอ่ื กาหนดคอลัมน์หรอื ฟิลด์ ข้อมูลในตารางบนฐานข้อมลู จะตอ้ งคานงึ ถึงชนิดของขอ้ มูลด้วย เพ่อื ความเหมาะสมของขอ้ มูล โดยขอ้ มลู แต่ละชนดิ มรี ายละเอียดดงั น้ี ชนดิ ตวั เลข แบ่งไดเ้ ป็น เลขจานวนเต็มและเลขจานวนจริง ตารางแสดงชนิดของตวั เลขจานวนเต็ม
ตารางแสดงชนิดของเลขจานวนจรงิ ชนดิ วนั ทแ่ี ละวนั เวลา ตารางแสดงชนิดวนั ท่ีและเวลา
ชนดิ ตวั อกั ษร ตารางแสดงชนดิ ของสตรงิ
ฟังกช์ ันในการจดั การฐานข้อมูลใน MySQL การเช่อื มตอ่ กบั ฐานขอ้ มูล ในการตดิ ต่อกับฐานข้อมูลจะต้องทาหารเปดิ การติดต่อดาต้าเบส เซิรฟ์ เวอรก์ อ่ น โดยมรี ูปแบบการใชง้ านดงั นี้ mysql_connect(hostname, username, password); hostname คอื ช่อื ของดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ ในการท่ตี ดิ ตั้ง MySQL ไวใ้ น เครอ่ื งเดียวกบั เว็บเซริ เ์ วอร์ ก็สามารถระบเุ ปน็ localhost แทนชือ่ จรงิ ได้ เลย username คือ ชอ่ื ผู้ใช้ท่ถี ูกกาหนดใหส้ ามารถทางานกับ MySQL ได้ password คอื รหสั ผ่านของผใู้ ช้ หรือจะระบุหรือไมก่ ็ได้
ค่าท่คี ืนออกมาจากการเรียกใชฟ้ ังกช์ นั น้จี ะได้คา่ เป็นจริงหากสามารถ ติดต่อกับ MySQL ได้สาเร็จแต่ถา้ ไม่สามารถติดต่อได้หรือติดต่อไม่ สาเรจ็ จะมคี า่ เป็นเท็จ เช่น
การยกเลิกการเช่ือมตอ่ ฟังก์ชนั ที่ใช้ในการยกเลกิ หรอื ปิดการติดตอ่ ดาต้าเบสเซิรฟ์ เวอร์ mysql_close(database_connect); โดยผลลัพธท์ ่คี นื ออกมาจากฟังกช์ นั น้ี ถา้ ปิดการติดตอ่ กับ MySQL ได้ สาเรจ็ ก็จะมีคา่ เป็นจริง ถ้าไมส่ าเร็จจะมคี า่ เปน็ เทจ็ เช่น
การเรยี กใช้ฐานข้อมูลผ่านเวบ็ กอ่ นการเรยี กใชฟ้ ังกช์ นั นี้ จะต้องมกี ารเรยี กใชฟ้ งั ก์ชนั mysql_connect เพ่ือกาหนดฐานข้อมลู ที่จะเชอ่ื มต่อเสยี กอ่ น mysql_select_db(string databasename); Databasename คอื ช่ือของฐานขอ้ มลู เชน่
การนาภาษา SQL มาใช้ในฐานขอ้ มลู MySQL ฟงั กช์ นั mysql_query() เป็นฟังก์ชันสาหรับสัง่ งาน MySQL ดว้ ยภาษา SQL เพ่อื จัดการกบั ขอ้ มลู ในฐานข้อมลู เชน่ การเพิ่ม การลบ เป็นต้น ต้องใชก้ ับฟงั ก์ชนั mysql_select_db() mysql_query(string query, [database_connect]); query หมายถึง คิวรีท่เี รียกใชฐ้ านขอ้ มลู database_connect หมายถงึ ตวั แปรท่ใี ช้เชือ่ มต่อกบั ฐานขอ้ มลู จะ กาหนดหรอื ไม่กไ็ ด้ เช่น
ฟังก์ชนั mysql_db_query() เปน็ ฟงั ก์ชนั สาหรับสั่งงาน MySQL ด้วยภาษา SQL เพอื่ จัดการกับ ขอ้ มูลในฐานขอ้ มลู เหมอื นกับฟงั ก์ชนั mysql_query แตไ่ ม่ต้องใชร้ ว่ มกบั ฟังก์ชนั mysql_select_db()เพราะสามารถกาหนดชื่อฐานข้อมลู ไวใ้ น ฟังกช์ ันไดเ้ ลย mysql_db_query(string databasename, string query); เช่น
ฟังก์ชนั mysql_free_result() เปน็ ฟงั กช์ ันสาหรบั คืนหนว่ ยความจาใหก้ บั ระบบ เพอ่ื ใชห้ นว่ ยความจา ใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากที่สดุ ถ้ามกี ารใชต้ วั แปรมากๆ แลว้ ไม่มกี ารคนื หน่วยความจาจะสง่ ผลใหห้ น่วยความจาเตม็ และมีผลต่อการทางาน ของระบบได้ mysql_free_result(int result); result หมายถงึ ค่าท่ีไดจ้ ากการใชค้ าสงั่ ควิ รี เชน่
ฟงั กช์ ัน mysql_create_db() เป็นฟังกช์ ันสาหรับสรา้ งฐานข้อมลู ใหม่ mysql_create_db(string databasename, [int database_connect]); databasename คือ ชือ่ ฐานขอ้ มลู ทตี่ ้องการสรา้ งใหม่ database_connect คอื ตัวแปรท่ใี ช้เชือ่ มตอ่ กบั ฐานขอ้ มลู จะกาหนด หรอื ไมก่ ็ได้
ฟงั ก์ชัน mysql_fetch_array() เปน็ ฟงั กช์ นั ท่ีใชส้ าหรับดึงคา่ ผลลพั ธ์ของฐานข้อมลู เก็บไว้ในอาร์เรย์ ผลลพั ธท์ คี่ ืนออกมาจากฟงั กช์ นั นี้ จะเปน็ ข้อมูลอารเ์ รย์ทม่ี สี มาชกิ เท่ากับจานวนคอลัมน์ของตาราง mysql_fetch_array(int result); จากการใชฟ้ ังก์ชนั น้ี จะเปน็ การอา่ นค่าและถา่ ยค่าลงตวั แปรอาร์เรย์ที ละ 1 รายการ หากเราต้องการแสดงค่าของขอ้ มลู ไปเรอ่ื ยๆ จนกว่าจะ ครบทุกรายการทม่ี ใี นตารางผลลัพธ์ กจ็ ะตอ้ งกาหนดคาสัง่ ให้วนรอบ การทางานของฟังกช์ ัน เชน่
ฟังก์ชัน mysql_fetch_row() เป็นฟังก์ชันทใี่ ชส้ าหรับเล่อื นตาแหนง่ ของตวั ชขี้ อ้ มลู ไปยังเรคอร์ดถดั ไป mysql_fetch_row(int result); ฟังก์ชัน mysql_num_fields() เปน็ ฟังก์ชันที่ใช้ในการหาจานวนคอลมั น์ทม่ี ีทัง้ หมด mysql_num_fields(int result); ผลลัพธ์ที่คนื ออกมากจากฟงั กช์ นั น้ี เป็นชนดิ ตัวเลข ได้แก่ จานวน คอลัมนท์ ้ังหมดของตาราง เชน่
ฟงั กช์ ัน mysql_num_rows() เปน็ ฟงั ก์ชนั ที่ใช้สาหรับคานวณหาจานวนแถวหรอื จานวนรายการ ทัง้ หมด mysql_num_rows(int result); ผลลพั ธ์ท่คี ืนออกมาจากฟงั ก์ชันน้ี เปน็ ข้อมลู ชนดิ ตัวเลข ไดแ้ ก่ จานวน รายการทั้งหมดของตารางผลลัพธ์
การอปั โหลดเว็บเพจเขา้ ส่รู ะบบอนิ เตอร์เนต็ วธิ ีการคอื เมือ่ สรา้ งเว็บเพจสาเรจ็ แลว้ กถ็ งึ ขั้นตอนของการนาเว็บเพจไป ฝังหรือฝากไวท้ คี่ อมพวิ เตอร์แม่ขา่ ยหรือเวบ็ เซิร์ฟเวอร์ของ ISP ทเี่ ราเป็น สมาชิกอยู่ หรอื อาจจะมี Server เปน็ ของตวั เองเพอ่ื ให้ทกุ คนทเ่ี ปน็ สมาชกิ อนิ เตอร์เนต็ มองเห็นเวบ็ เพจของเรา ดว้ ยวิธกี าร Upload หรอื ทาการ Transfer File ซึ่งการอัปโหลด (Upload) คอื การก๊อปปีไ้ ฟลจ์ ากเครื่องพซี ี ของเราไปไว้ทเ่ี คร่ือง Host โดยใช้ FTP (File Transfer Protocal) เป็น โปรโตคอลที่ใชใ้ นการถา่ ยโอนข้อมลู ระหว่างเครื่องพซี แี ละเคร่อื ง คอมพิวเตอร์ท่ีเปน็ Host สาหรบั เคร่ืองพซี ีจะตอ้ งตดิ ตงั้ ซอฟแวร์ในการ อัปโหลดไฟล์ จากนน้ั กท็ าการอัปโหลดไฟลไ์ ปไว้ในไดเร็กทอรีของตัวเอง
ท่ีหนา้ จอดา้ นขวาจะเป็นส่วนของเซิร์ฟเวอร์ และทางซ้ายคือฝ่งั พีซี การ อัปโหลดไฟล์ทาได้โดยการเลือกไฟลท์ ่ีต้องการอปั โหลด แล้วคลกิ ทีร่ ูป ลูกศรชข้ี ้ึนทีอ่ ยูบ่ นแถบเมนบู าร์หรอื ดบั เบล้ิ คลิกไฟล์ท่ฝี ่ังพซี หี รอื คลกิ ท่ี ไฟล์ แลว้ ลากเมาส์ไปยงั ดา้ นเซริ ์ฟเวอร์ โปรแกรมจะรายงานผลการ อัปโหลดในทุกระยะ จนกระทง่ั การอัปโหลดเสรจ็ สมบูรณ์ และหากเรา ต้องการสร้างไดเรก็ ทอรี ก็สามารถทาไดโ้ ดยคลกิ เมาสข์ วาทฝ่ี งั่ เซิร์ฟเวอร์ แล้วเลื่อนเมาส์ไปที่ Make new directory จะปรากฏหนา้ จอ Create new dir ใหใ้ ส่ช่ือไดเรก็ ทอรีใหม่ แลว้ คลิก OK หากต้องการ อัปโหลดไฟล์ไปไว้ในไดเร็กทอรใี หม่ ก็ดบั เบล้ิ คลกิ ทช่ี อ่ื ไดเร็กทอรีทสี่ ร้าง ไว้ แลว้ อปั โหลดไฟลด์ ว้ ยวิธเี ดิม
การจัดสรา้ งไดเรก็ ทอรีเป็นเว็บเพจยอ่ ย จากหลกั การขา้ งต้นน้ี เราสามารถจัดสร้างไดเร็กทอรยี อ่ ย เพ่ือจดั สร้าง เปน็ URL ยอ่ ยสาหรบั การเรยี กเข้าถงึ โดยตรง เพ่อื ใช้ประโยชน์ในการ จดั สรา้ งรา้ นคา้ ยอ่ ยหรือสร้างเวบ็ เพจยอ่ ย โดยไมต่ อ้ งคียช์ ื่อไฟล์ ก็ สามารถทาได้โดยกาหนดชือ่ ไฟล์ ไฟลแ์ รก ชอ่ื index.html การต้งั ชอื่ เรยี กอยภู่ ายใต้ไดเร็กทอรี มีข้อดใี นการนามาใชเ้ รียกชอื่ รา้ นค้า ยอ่ ยทรี่ ว่ มอยใู่ นหา้ งออนไลนเ์ ดยี วกนั ทาใหเ้ กิดภาพลักษณ์ท่ีดีเพราะช่ือ ที่เรยี กไม่ยาวจนเกนิ ไป และเป็นการใชช้ อ่ื ร่วมกนั อนั ทาให้เกิดความ มนั่ ใจตอ่ ผูซ้ ือ้ อยา่ งไรก็ตาม หากจะให้มชี ่ือเรยี กเปน็ ของตนเอง โดยสว่ น ใหญก่ ็มกั จะไปจดชื่อโดเมนเปน็ ของตนเอง ซ่ึงชอ่ื เหลา่ นถ้ี ือเปน็ ตรายหี่ อ้ สินคา้ อย่างหนงึ่ ทาใหก้ ลมุ่ เป้าหมายจดจาได้ง่าย และเมือ่ มีชื่อเสยี งก็ สามารถกลายเปน็ ทรพั ยส์ ินทางปญั ญาอยา่ งหนึ่งด้วย
Read the Text Version
- 1 - 41