แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษาISBN978-616-11-4614-6พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤษภาคม 2564จำานวน5,000 เล่มจัดพิมพ์และเรียบเรียงกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขที่ปรึกษาดร.สุภัทร จำาปาทอง ปลัดกระทรวงศึกษาธิการนายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัยบรรณาธิการ ดร.ศรีชัย พรประชาธรรม หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการดร.เกศทิพย์ ศุภวานิช ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการนายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข รองอธิบดีกรมอนามัยนายทวีสิทธิ์ ใจห้าว ผ้อานวยการสานักตรวจราชการและติดตามประเมินผลูำำสำานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการนายแพทย์เอกชัย เพียรศรีวัชรา ผูู้้อำานวยการสำานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัยนางปนัดดา จั่นผ่อง สำานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัยพิมพ์ที่โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำากัด ภาคีเครือข่าย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติประจำาประเทศไทย (UNICEF)
คำานำาแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยม่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษาัฉบับน จัดทำาข้นเป็นแนวทางการปฏิบัติสำาหรับสถานศึกษารองรับสถานการณ์ี ้ึการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ ท่เกิดข้นอีกต้งแต่ช่วงเดือนเมษายน 2564 ีึัจนถึงปัจจุบัน ทวีความรุนแรงขยายวงกว้าง เกิดการเจ็บป่วย และสูญเสียชีวิตจำานวนมาก ทำาให้ประชาชนทุกครอบครัวทุกชุมชนทุกองค์กรทุกหน่วยงานได้รับผลกระทบ ต่อวิถีการดำาเนินชีวิตความเป็นอยู่ยากลำาบาก ระมัดระวังความเส่ยง และป้องกันการติดเช้อโรค ีืดังน้น ในโอกาสเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา จึงเล็งเห็นถึงความสำาคัญอย่างย่งัิในการส่อสารประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงความจำาเป็นในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนืในการเฝ้าระวังด้วยการประเมินตนเองของสถานศึกษาและบุคลากรทั้งนักเรียน ครู และผู้ท่เข้ามาในสถานศึกษา อาท ประเมินความเส่ยง ผ่าน Thai Save Thai (TST) ีิีประเมินความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ผ่าน Thai Stop Covid (TSC) ยกระดับมาตรการความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัยไร้โควิด-19 และกำากับติดตามประเมินผล รวมถึงสื่อสารรอบรู้สุขภาพสู้โควิด-19 เป็นต้น ล้วนแต่เป็นประโยชน์สำาหรับสถานศึกษาจะต้องถือปฏิบัติตามอย่างเข้มข้น เข้มงวด และเข้มแข็งต่อเน่องจนกว่าสถานการณ์คล่คลายดีข้นกลับสู่ืีึสภาวะปกติหวังเป็นอย่างย่งว่า แนวปฏิบัติฉบับน จะเป็นประโยชน์สำาหรับสถานศึกษา คร ิี ู้บุคลากรสาธารณสุข และผู้เกี่ยวข้อง สามารถนำาไปใช้เป็นแนวปฏิบัติได้อย่างมีคุณค่าคณะผู้จัดทำาพฤษภาคม 2564
สารบัญค�ำน�ำ สำรบัญสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในเด็ก 7แนวปฏิบัติการเปิดเรียนในสถานการณ์โควิด-19 12 ในต่างประเทศแนวทางการใช้ ชุดตรวจ SARS-CoV-2 antigen detecting 15 rapid diagnostic tests (SARS-CoV-2 Ag-RDTs)แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย 16 ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา เตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน 1) การประเมินความเสี่ยง ผ่าน Thai Save Thai 18 2) การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน (Reopening) 20 3) การประเมินตนเองเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน 21 ผ่าน Thai Stop Covid 4) การยกระดับมาตรการความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 23 5) การกำากับติดตามประเมินผลร่วม ศธ.-สธ. 27สื่อรอบรู้สุขภาพสู้โควิด-19 28เอกสารอ้างอิง 37รายชื่อคณะทำางาน 38
สถานการณ์วัคซีนในกลุ่มผู้ที่มีอายุต�่ากว่า 20 ปีวัยเด็กเป็นช่วงท่เส่ยงต่อการเจ็บป่วยมากท่สุด และเป็นช่วงเวลาท่จำาเป็นต้องีีีีได้รับการป้องกันมากท่สุด เด็กท่อายุตากว่า 18 ปี คิดเป็น 32% ของประชากรท่วโลก ีีำ ่ัในขณะท่มีการควบคุมโรคระบาด การป้องกันในกลุ่มเด็กเป็นส่งท่จำาเป็นอย่างเร่งด่วนีิีเม่อความเส่ยงของโรคเพ่มสูงข้น เด็กมีความเส่ยงต่อการเกิดโรคโควิด-19 ค่อนข้างตา ืีิึีำ ่คิดเป็น 1 ใน 9 ของการติดเช้อ SARS-CoV-2 และมีเพียง 2% ท่ต้องได้รับการรักษาืีในโรงพยาบาล การตดเชอในเดกส่วนใหญ่ไม่รนแรงและฟื้นตวได้ แต่เป็นทร้กนว่าิื ้็ุัี ู่ัเด็กเป็นกลุ่มท่แพร่เช้อไวรัสไปยังผู้อ่น ส่วนมากได้รับเช้อแต่ไม่แสดงอาการ ีืืืการเปิดเรียนมีความสำาคัญต่อการศึกษาและพัฒนาการของเด็ก การมีเด็กกลุ่มใหญ่ทไม่ได้รบวคซีน จะมความเสยงต่อการตดเชอและการแพร่เช้อน้อยกว่า ซงมความสำาคญี ่ััีี ่ิื ้ืึ ่ีัหากมีการระบาดเพ่มข้นในชุมชน ดังน้น เด็กควรถูกรวมไว้ในกลุ่มท่ควรได้รับวัคซีนโควิด-19 ิึัีเพื่อให้ได้รับประโยชน์จากการฉีดวัคซีน ขณะเดียวกัน ควรต้องมีหลักฐานที่ชัดเจนเกี่ยวกับความปลอดภัยของการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในเด็ก ขณะน้ประเทศท่มีการฉีดวัคซีนในเด็ก ีีได้แก่ แคนาดา สหรัฐอเมริกา เป็นต้น แคนาดาเป็นประเทศแรกท่อนุมัติให้ใช้วัคซีน Pfizer ในผู้ท่อาย 12-15 ปี ีีุประกาศเมื่อ 5 พฤษภาคม 2564สหรัฐอเมริกา วัคซีนท FDA อนุมัติให้ใช้ในกลุ่มผู้อายุตำากว่า 20 ปี ม 3 ชนิด ได้แก่ี ่่ี Pfizer ใช้ในผู้ที่อายุ 16 ปี เป็นต้นไป ต่อมา US FDA อนุมัติให้ฉีด Pfizer ในเด็กอายุ 12-15 ปี ประกาศเมื่อ 10 พฤษภาคม 2564 Moderna ใช้ในผู้ที่อายุ 18 ปี เป็นต้นไปและอยู่ระหว่างการทดลองระยะ 2 และ 3 กลุ่มตัวอย่าง ในกลุ่มอายุ 12-17 ปี จำานวน 3,700 คน หลังฉีดวัคซีนครบ 2 โดส ไม่พบผู้ติดเช้อโควิด-19 เทียบกับกลุ่มท่ได้รับการหลอก พบผู้ติดเช้อ 4 ราย ืีืบริษัทจะย่นขออนุมัติวัคซีนให้ใช้ในกรณีฉุกเฉินกับกลุ่มวัยรุ่น ในช่วงต้นเดือนมิถุนายน 2564 ืประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ในคนกลุ่มอายุนี้ 100% Johnson & Johnson ใช้ในผู้ที่อายุ 18 ปี เป็นต้นไปสิงค์โปร์ อนุมัติให้ฉีด Pfizer ในเด็กอาย 12-15 ปี ประกาศเม่อ 18 พฤษภาคม 2564ุืแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ8
แนวปฏิบัติ Reopening โรงเรียน ปี 2563 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในต่างประเทศสภาวะจีนเดนมาร์คนอร์เวย์สิงคโปร์ไต้หวันบริบทเริ่มเปิดโรงเรียนตั้งแต่มีนาคม 2564เปิดโรงเรียน 15 เมษายน 2564ในเด็กอายุมากกว่า 12 ปีเปิดโรงเรียน 27 เมษายน 2564 สำาหรับเด็ก เกรด 1 - 4เปิดโรงเรียนจนถึง ไม่ปิดโรงเรียน 8 เมษายน 2564 แต่โรงเรียนและได้ปิดโรงเรียนเน่องจากสถานการณ์ืการแพร่ระบาดจะปิดชั่วคราวตามความจำาเป็นการคัดกรองสุขภาพคัดกรองอุณหภูมิ วัดอุณหภูมิตรวจสอบอาการ ตรวจสอบอาการ ตรวจสอบอาการ ตรวจสอบอาการ ตรวจสอบอาการอย่างน้อยวันละ 2 ครั้งเม่อมาถึงโรงเรียน เม่อมาถึงโรงเรียน วันละ 2 ครั้งืวัดอุณหภูมิืคัดกรองอุณหภูมิ วัดอุณหภูมิเม่อมาถึงโรงเรียนืนโยบาย หากพบเด็กการกักตัว มีอาการป่วยและการปิดโรงเรียนกักตัว จนกว่าจะหายเด็กที่ป่วยให้อยู่บ้าน 48 ชั่วโมงถ้าป่วยให้พักอยู่บ้านจนไม่มีอาการ 1 วันมีกฎหมายเมื่อเด็กมีการติดต่อใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยัน โรงเรียนจะปิดทำาความสะอาด จะปิด 14 วันกรณีพบผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย จะปิดชั้นเรียน 14 วันพบผปวยมากกวา ู้่่2 ราย โรงเรียนขนาดกลุ่ม ลดขนาดจำานวน ลดขนาดและพนักงาน จาก 50 คน นักเรียน เป็น 30 คนตามบริบทพื้นที่จำานวนนักเรียน นักเรียน เกรด 1-4 ให้เว้นระยะห่าง ที่มีจำานวนเด็กให้มีระยะห่างประมาณ 2 เมตร จำากัดจำานวนจำากัดจำานวนจำานวน 15 คน นักเรียน เกรด 5-7 จำานวน 20 คน ในห้องเรียน1-2 เมตร (3-6 ฟต)ุไม่มีห้องเรียนมากเกิน ไม่มีการเวียนเรียน ให้ครูเดินมาสอนพื้นที่ห้องเรียน ในชั้นเรียนการเว้นระยะห่างมีการแยกโต๊ะจัดระยะห่าง 2 เมตร ในห้องเรียนการใช้พ้นท่กลางแจ้ง ืีโรงยิม และในโรงเรียนเด็กปฐมมีการเว้นระยะห่างในห้องเรียน แนะนำาให้ใช้พ้นทืี ่ข้างนอกในการเรียนแยกโต๊ะเรียนตั้งแต่เกรด 3 และเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร (3-6 ฟุต)มีการแยกโต๊ะในชั้นเรียนขั้นตอนการเข้ามา ห้องเรียน เข้าได้กำาหนดทางเข้าหลายทางผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กไม่ให้เข้ามาในพ้นท ไม่ให้เข้ามาในพ้นท ไม่ให้เข้ามาในพ้นท ไม่ให้เข้ามาในพ้นทืี ่ืี ่ืี ่ืี ่แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ13
สภาวะจีนเดนมาร์คนอร์เวย์สิงคโปร์ไต้หวันมื้ออาหาร กินข้าวท่โต๊ะเรียน นั่งประจำาที่ ีกำาหนดที่นั่งในโรงอาหารไม่รับประทานอาหารร่วมกันกินข้าวที่โต๊ะเรียน หรือกำาหนดที่นั่ง โรงอาหารในโรงอาหารกำาหนดที่นั่งเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร (3-6 ฟุต)กินข้าวที่โต๊ะเรียน แบ่งช่วงเวลากินอาหารสันทนาการบางโรงเรียนยกเลิกวิชาพละศึกษาเด็กอยู่นอกห้องเรียน เด็กอยู่นอกห้องเรียนมากที่สุด ถ้าทำากิจกรรมในห้องเรียนให้จำากัดเวลาและจัดเป็นกลุ่มเล็กๆมากที่สุด แต่ถ้าทำากิจกรรม ในโรงเรียนในห้องเรียนจัดเป็นกลุ่มเล็กๆ จำากัดเวลางดกิจกรรมกีฬา ยกเลิกวิชาระหว่างโรงเรียน พละศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มเล็ก การขนส่ง รถโรงเรียนให้จัดเว้นระยะห่างในรถโรงเรียนให้จัดนักเรียน 1 คนต่อแถวขอความร่วมมือ รถเมล์รถขนส่งรถขนส่งเอกชน สาธารณะ จัดนักเรียน 1 คน ต่อแถวยังเปิดให้บริการปกติ ยังเปิดให้บริการปกติรถเมล์รถขนส่งสาธารณะ โดยให้ทำาความสะอาดทุก 8 ชั่วโมงสุขอนามัย ภาครัฐสนับสนุนให้สวม Maskและล้างมือบ่อยๆ และวีดีโอล้างมือบ่อยๆ จัดให้มีโปสเตอร์ บุคลากรเกี่ยวกับ จัดให้มีโปสเตอร์ให้คำาแนะนำาฝึกอบรมสุขอนามัย เน้นการล้างมือบ่อยๆ จัดให้มีโปสเตอร์และวีดีโอให้คำาแนะนำาล้างมือบ่อยๆ และวีดีโอให้คำาแนะนำาภาครัฐสนับสนุนให้สวม Maskและจัดให้มีการระบายอากาศที่ดีความสะอาดแนะนำาการทำาความสะอาด ทำาความสะอาด ทำาความสะอาด พื้นสัมผัสร่วม และฆ่าเชื้อแนะนำาการและฆ่าเชื้อ ภาครัฐสนับสนุน นักเรียนช่วยทำา และให้นักเรียน และฆ่าเชื้อเจ้าหน้าที่ทำาความสะอาดและเครื่องวัดอุณหภูมิแนะนำาให้บ่อยๆ และให้ความสะอาดทำาความสะอาด แนะนำาการทุก 2 ชั่วโมง ช่วยทำาความสะอาดทำาความสะอาดพื้นที่สัมผัสร่วมที่มา : https://learningpolicyinstitute.org/product/reopening-schools-covid-19-briefแนวปฏิบัติ Reopening โรงเรียน ปี 2563 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในต่างประเทศ (ต่อ)แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ14
2. การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน (Reopening) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ืทกประเทศทวโลกทวความรนแรงขยายวงกว้างต่อเนอง อตราป่วยและเสยชวตมากขนุั ่ีุื ่ัีีิึ ้ตามลำาดับ รวมถึงประเทศไทยมีการแพร่ระบาดของโรคขยายวงกว้างทุกจังหวัดทั่วประเทศตามสถานการณ์ความเส่ยงแต่ละพ้นท โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ีืี ่จะทวีความรุนแรงมากข้น ส่งผลให้ประชาชนทุกครอบครัวทุกชุมชนทุกองค์กรทุกหน่วยงานึได้รับผลกระทบต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่อย่างมาก บางส่วนมีอาการรุนแรงต่อชีวิต รวมถึงกิจกรรมทางการศึกษา กรณีเปิดทำาการเรียนการสอนสำาหรับนักเรียนนักศึกษา จึงต้องมีข้อกำาหนดให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน (Reopening) แบบเข้มข้น ตามกรอบแนวทาง 6 มิติ ประกอบด้วย 1) ความปลอดภยจากการลดัการแพร่เชื้อโรค 2) การเรียนรู้ 3) การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส 4) สวัสดิภาพและการคุ้มครอง 5) นโยบาย 6) การบริหารการเงิน (ที่มา : องค์การเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติและองค์กรภาคี) ตามคู่มือการปฏิบัติสำาหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19, 2563 กรมอนามัย1426356มิติเตรียมความพร้อม ก่อนเปิดภาคเรียน ของสถานศึกษา(Reopening)ความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชื้อโรคสวัสดิภาพ และ การคุ้มครองการครอบคลุมถึงเด็ก ด้อยโอกาสนโยบายการเรียนรู้การบริหาร การเงินแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ20
3. การประเมินตนเองเตรียมความพร้อม ก่อนเปิดภาคเรียน ผ่าน Thai Stop Covidสถานศึกษาทำาการประเมินตนเอง เพ่อเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ืผ่าน Thai Stop Covid กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข หรือ MOE (COVID-19) กระทรวงศึกษาธิการ ตามแบบประเมินตนเองของสถานศึกษา จำานวน 44 ข้อ ประกอบด้วย มิติที่ 1 ความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชื้อโรค จำานวน 20 ข้อ มิติที่ 2 การเรียนรู้ จำานวน 4 ข้อ มิติที่ 3 การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส จำานวน 6 ข้อ มิติที่ 4 สวัสดิภาพและการคุ้มครอง จำานวน 5 ข้อ มิติที่ 5 นโยบาย จำานวน 5 ข้อ มิติที่ 6 การบริหารการเงิน จำานวน 4 ข้อ ผลการประเมินRankingเกณฑ์ประเมินสีเขียวผ่านทั้งหมด 44 ข้อสีเหลืองผ่านข้อ 1 - 20 ทุกข้อแต่ไม่ผ่าน ข้อ 21 - 44 ข้อใดข้อหนึ่งสีแดงไม่ผ่านข้อ 1 - 20 ข้อใดข้อหนึ่งการแปลผล• สีเขียว หมายถึง โรงเรียนสามารถเปิดเรียนได้• สีเหลือง หมายถึง โรงเรียนสามารถเปิดเรียนได้ แต่ต้องดำาเนินการปรับปรุง ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำาหนด• สีแดง หมายถง โรงเรียนไม่สามารถเปิดเรียนได้ ต้องดำาเนินการปรับปรุงึให้เป็นไปตามมาตรฐานท่กำาหนด และ/หรือประเมินตนเองซา ีำ ้จนกว่าจะผ่านทั้งหมด โรงเรียนสามารถเปิดเรียนได้แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ21
4. ยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 6+ x6 มาตรการหลักมาตรการเสริม มาตรการเฉพาะ6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) +1. Distancing (D) เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1-2 เมตร2. Mask wearing (M) นักเรียนนักศึกษา (มัธยม-อุดมศึกษา) สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย 100% ตลอดเวลาท่อยู่ในสถานศึกษาี เมื่อออกจากเคหสถานหรืออยู่ในที่สาธารณะ3. Hand washing (H) ล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่และนา นาน 20 วินาที ำ ้ หรือใช้เจลแอลกอฮอล์4. Testing (T)คัดกรองวัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผู้สัมผัสเส่ยงทุกคนี ก่อนเข้าสถานศึกษา5. Reducing (R) ลดการแออัด ลดเข้าไปในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มคนจำานวนมาก กรณีพื้นที่สีแดงเข้ม ห้ามจัดกิจกรรมรวมคนมากกว่า 20 คน กรณีพื้นที่สีแดง สีส้มห้ามจัดกิจกรรมรวมคนมากกว่า 50 คน ทั้งนี้ ตามที่รัฐกำาหนด6. Cleaning (C) ทำาความสะอาดพื้นผิวสัมผัสร่วมแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ24
6 มาตรการเสริม (SSET-CQ)1. Self-care (S) ดูแลตนเอง ดูแลใส่ใจ ปฏิบัติตน มีวินัย รับผิดชอบตนเอง ปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด2. Spoon (S) ใช้ช้อนส่วนตัว กินอาหารทุกคร้ง กินแยก ไม่กินร่วมกัน ั ลดสัมผัสร่วมกับผู้อื่น3. Eating (E) กินอาหารปรุงสุกใหม่ร้อนๆ กรณีอาหารเก็บเกิน 2 ช่วโมง ั นำามาอุ่นให้ร้อนเดือดทั่วถึง ก่อนกินอีกครั้ง4. Thai chana (T) ลงทะเบียนไทยชนะตามที่รัฐกำาหนด ด้วย app ไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการเข้า-ออกอย่างชัดเจน5. Check (C) สำารวจตรวจสอบบุคคล นักเรยน หรือกลุ่มเส่ยงท่เดนทางีีีิ มาจากพื้นที่เสี่ยง เพื่อเข้าสู่กระบวนการคัดกรอง6. Quarantine (Q) กักกันตัวเอง 14 วัน เมื่อเข้าไปสัมผัสหรืออยู่ในพื้นที่เสี่ยง ที่มีการระบาดของโรคแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ25
มาตรการเฉพาะ1. รถรับ-สงนักเรียน่2. หอพกนักเรียนั3. สถำนที่ปฏิบัติศำสนกิจ4. กรณีเฉพำะควำมพกำริแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ26
2ส่งเสริมและสนับสนุนการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 สำาหรับครู เด็กอายุ 18 ปีข้นไป ึและ/หรือเด็กโต ตามที่รัฐกำาหนด2. สื่อภาพรอบรู้สุขภาพสู้โควิด-191นักเรียนนักศึกษา (มัธยม-อุดมศึกษา)สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย 100% ตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศึกษา เมื่อออกจากเคหสถานหรืออยู่ในที่สาธารณะแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ31
ห้องเรียนโรงยิม สนามกีฬาห้องพยาบาลสนามเด็กเล่นห้องสมุดโรงอาหารห้องส้วมห้องพักครูห้องนอนเด็กเล็กสถานที่แปรงฟันหอพักนักเรียนหอประชุม3แนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของสถานศกษา : ห้องเรียน ห้องพยาบาล ห้องสมุด ึห้องพักคร หอประชุม หอพักนักเรียน ห้องนอนเด็กเล็ก ูสถานท่แปรงฟัน โรงยิม สนามกีฬา สนามเด็กเล่น ีโรงอาหาร ห้องส้วมแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ32
4แนวปฏิบัติการคัดกรองสุขภาพนักเรียน5แนวปฏิบัติการคัดกรองสุขภาพครูและบุคลากร6แนวปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อโควิด-197แนวปฏิบัติเม่อพบผู้ป่วยติดเช้อืืทางเดินหายใจ เป็นกลุ่มก้อน (Cluster)แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ33
86 มาตรการป้องกันโควิด-19 ในสถานศึกษา9แนวปฏิบัติเมื่อพบผู้มีอาการป่วยอยู่ในสถานศึกษา10คำาแนะนำาสำาหรับผู้ทำาหน้าที่คัดกรอง12สุขอนามัย สุขลักษณะ13รถรับ-ส่งนักเรียน11คำาแนะนำาสำาหรับผู้ปกครองแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ34
14แนวปฏิบัติการป้องกันโควิด-19 สำาหรับโรงเรียนพระปริยัติธรรม6 มิติ เตรียมพร้อมเปิดภาคเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรมคู่มือสุขอนามัยสถานที่จ�าวัดสามเณรโรงเรียนพระปริยัติธรรม6 มาตรการหลัก แนวปฏิบัติการเปิดภาคเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรมสามเณร ล้างมือ 7 ขั้นตอนสุขอนามัย ล้างมือ 7 ขั้นตอนตรวจคัดกรองสุขภาพสามเณรวิธีการตรวจร่างกาย 10 ท่าแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ35
3. คู่มือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในสถานศึกษาแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19ระลอกใหม่ในสถานศกษาึISBN 978-616-11-4614-6Vu8p1คู่มือการปฏิบัติสำาหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาด ของโรคโควิด-192คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและ แผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19ในสถานศึกษา3แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัย มั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษาhttp://bit.do/schoolcovid-19-v3https://bit.do/schoolcovid-19http://bit.do/schoolcovid-19-v2riskแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ36
กรมควบคุมโรค. แนวปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเช้อไวรัสืโคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานศึกษา, มกราคม 2564.กรมอนามัย. คู่มือการปฏิบัติสำาหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19, พฤษภาคม 2563.กรมอนามัย. คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19, ตุลาคม, 2564.กระทรวงศึกษาธิการ, รายงานผลการกำากับติดตามประเมินผลการจัด การเรยนการสอนและการดาเนนงานตามมาตรการป้องกันในสถานการณ์ีำิการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อไวรัสโคโรนา 2019 (C0VID-19) ืภาคเรียนท ี ่2/2563 ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 18 มีนาคม- 9 เมษายน 2564), เมษายน 2564.https://learningpolicyinstitute.org/product/reopening-schools-covid-19-briefhttps://www.fda.gov/news-events/press-announcements/coronavirus-covid-19-update-fda-authorizes-pfizer-biontech-covid-19-vaccine-emergency-use#:~:text=Today%2C%20the%20U.S.%20Food%20and,through%2015%20years%20of%20age.https://www.canada.ca/en/health-canada/news/2021/05/health-canada-authorizes-use-of-the-pfizer-biontech-covid-19-vaccine-in-children-12-to-15-years-of-age.htmlhttps://www.straitstimes.com/singapore/health/singapore-approves-use-of-pfizer-covid-19-vaccine-for-those-aged-12-to-15World health organization. SARS-CoV-2 antigen-detecting rapid diagnostic tests: an implementation guide. 2020.เอกสารอ้างอิงแนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกษาึ38
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: