46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
3.1 การขนึ้ ทะเบียน บทท่ี 3 ประกาศรบั สมัคร นกั ศึกษา ยืน่ ใบสมคั ร/ตรวจสอบเอกสาร ประกอบการสมคั ร ปฐมนิเทศนักศกึ ษาใหม่ เปิดภาคเรยี น/ลงทะเบยี นเรียน จัดทาบตั รนกั ศกึ ษา
92 3.2 ขั้นตอนการลงทะเบยี น - เปดิ ภาคเรียนจ่ายค่าระดมทรพั ยากร - ลงทะเบยี นเรียน /แบ่งจา่ ยลงทะเบยี น ครง้ั ที่ 1 ไมเ่ กดิ สปั ดาห์ท่ี 7 หลงั จาก เปดิ ภาคเรียน ลงทะเบยี นล่าชา้ โดยตอ้ งชาระ ค่าลงทะเบียนล่าชา้ 100 บาท/คน จา่ ย ค่าลงทะเบียนไมเ่ กนิ สปั ดาหท์ ี่ 7 ไมล่ งทะเบยี นหรือติดต่อขอผอ่ นผนั ภายใน 15 วัน ประกาศพน้ สภาพการเปน็ นักศึกษา RTY ออกจากระบบ แบ่งจ่ายค่าลงทะเบียนครัง้ ท่ี 2 พรอ้ ม คา่ ปรับลา่ ชา้ 100 บาท/คน สปั ดาหท์ ี่ 14 ลงทะเบยี นลา่ ช้า + คืนสภาพ (100+100) บาท หลังประกาศพ้นสภาพการเปน็ นักศกึ ษา RTY
93 3.3 การจัดการเรียนการสอน 3.3.1 หลักสูตรการอาชวี ศกึ ษา การพัฒนาหลักสูตรการอาชวี ศกึ ษา หลักสูตรการอาชีวศึกษาเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ เพ่ือผลิตและพัฒนากำลังคนแต่ละระดับ ให้มีสมรรถนะ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถประกอบอาชีพได้ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ และการประกอบอาชีพอิสระ เป็นหลักสูตรท่ีมีความยืดหยุ่นมุ่งเน้นสมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพและความชำนาญ เฉพาะดา้ นของสถานประกอบการ โดยเปิดโอกาสใหส้ ถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชนและท้องถิ่น มีส่วนรว่ มใน การพัฒนาหลักสูตรให้ตรงตามความต้องการและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของภูมิภาค เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถใน การแขง่ ขนั ของประเทศ การจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง แบง่ เป็น9 ประเภทวชิ า คือ ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม ประเภทวิชาพาณิชยกรรม/บริหารธรุ กิจ ประเภทวชิ าศลิ ปกรรม ประเภทวิชาคหกรรม ประเภทวิชาเกษตรกรรม ประเภทวชิ าประมง ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว ประเภทวชิ า อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ และประเภทวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร แตล่ ะประเภทวิชายงั แบ่งเปน็ สาขาวิชาและ สาขางานตา่ งๆ ที่สอดคล้องตามความต้องการของงานอาชีพ ทั้งนี้ โครงสรา้ งของหลักสูตร ประกอบด้วย 3 หมวดวิชา และกิจกรรมเสริมหลกั สตู ร ดังน้ี 1. หมวดวชิ าทักษะชวี ิต เป็นกลุ่มวิชาเพื่อพัฒนาผเู้ รียนให้มที ักษะในการปรบั ตัวและดำเนินชีวิตในสังคม สมยั ใหม่ เห็นคณุ คา่ ของตนและการพัฒนาตน มคี วามใฝ่รู้ และแสวงหาและพัฒนาความรใู้ หมม่ คี วามสามารถในการใช้ เหตุผล การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและการจัดการ มีทักษะในการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ทำงานร่วมกับผ้อู ่ืน มีคุณธรรม จริยธรรม มีมนษุ ยสัมพันธ์ รวมถึงความรับผดิ ชอบต่อตนเองและสังคม ประกอบด้วย กลุ่มวิชาดงั น้ี 1.1 กลมุ่ วิชาภาษาไทย 1.2 กลมุ่ วชิ าภาษาต่างประเทศ 1.3 กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์ 1.4 กลมุ่ วิชาคณิตศาสตร์ 1.5 กล่มุ วิชาสงั คมศาสตร์ 1.6 กลุ่มวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (ในระดับ ปวช.) หรือกลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์ (ในระดบั ปวส.) 2. หมวดวิชาทักษะวชิ าชีพ เป็นกลมุ่ วิชาทพี่ ัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะวชิ าชพี มีความสามารถในการ คิด วเิ คราะห์ วางแผน จัดการ ประเมนิ ผล แกป้ ญั หา ควบคมุ และสอนงาน บูรณาการความรแู้ ละทักษะในการ ปฏบิ ตั ิงาน ประกอบดว้ ย 5 กลุม่ ดงั น้ี 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชพี เฉพาะ 2.3 กลุ่มทกั ษะวชิ าชีพเลอื ก
94 2.4 ฝกึ ประสบการณ์ทกั ษะวิชาชีพ 2.5 โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี 3. หมวดวิชาเลือกเสรี เป็นวิชาทเ่ี กี่ยวกบั ทักษะชีวิต และหรือทกั ษะวชิ าชีพ เพือ่ เปดิ โอกาสให้ผู้เรียน เลอื กเรียนตามความถนัดและความสนใจ เพื่อการประกอบอาชพี หรอื การศึกษาต่อ 4. กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร เป็นส่วนทส่ี ง่ เสริมการพัฒนาทักษะชวี ิต และหรอื ทกั ษะวิชาชีพ ผู้เรยี นทุกคน ตอ้ งเขา้ รว่ มกิจกรรมอยา่ งนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 2 ชวั่ โมงทุกภาคเรยี น กจิ กรรมเสริมหลกั สตู รน้ีไม่นบั หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิตของแต่ละหมวดวิชา ให้เป็นไปตามท่ีกำหนดไว้ในโครงสรา้ งของแต่ละประเภทวิชาและ สาขาวิชา โดยจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ อยู่ระหว่าง 103-120 หน่วยกิต และระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสงู อยู่ระหว่าง 83-90 หนว่ ยกติ 3.3.2 การจัดการศึกษาตามหลักสูตร การจัดการศึกษาตามหลักสตู รการอาชีวศึกษา เน้นการเรียนรู้และฝึกปฏบิ ัติจริงด้วยตนเองเพ่ือให้ผู้เรยี น สามารถประยุกตใ์ ช้ความร้แู ละทักษะในวิชาการทีส่ ัมพันธ์กับวิชาชีพในการวางแผน แก้ปัญหาและดำเนนิ งานไดอ้ ย่าง เหมาะสม ผู้เรยี นสามารถเลือกเรยี นในประเภทวชิ า สาขาวิชาและสาขางานตา่ ง ๆ ได้อยา่ งกว้างขวาง รวมท้ังสามารถ เลือกวิธีการเรียนได้อย่างหลากหลายตามศักยภาพและโอกาสของผู้เรียน ทั้งรูปแบบในระบบ นอกระบบ และหรือ ระบบทวิภาคี ทั้งนี้ จะเน้นการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นสำคัญ โดยนำผลการเรียนแต่ละวิธีมาประเมินผลร่ว มกัน ตลอดจนสามารถเทียบโอนผลการเรียนและขอเทียบความรู้และประสบการณ์ เพ่ือนับเป็นส่วนหน่ึงของผลการเรียน รายวิชาตามหลักสตู รที่เรยี นไดด้ ้วย ทำให้ใชร้ ะยะเวลาในการเรยี นน้อยกว่าการเรยี นในระบบเพียงอยา่ งเดียว ซึ่งปกติ ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพจะต้องใช้ระยะเวลาเรียน 3 ปีการศึกษา และผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพช้ันสูง ต้องใช้เวลาเรียน 2 ปีการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชา หรือสาขาวิชาอื่น หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าจะต้องใช้เวลาเรียนประมาณ 3 ปี การศึกษา โดยทแ่ี ต่ละปกี ารศึกษาจะแบ่งออกเป็น 2 ภาคเรียนปกตหิ รือระบบทวภิ าค ภาคเรียนละ 18 สัปดาห์ โดยมี เวลาเรียนและจำนวนหน่วยกิตตามทก่ี ำหนด และอาจเปดิ สอนภาคเรยี นฤดูร้อนได้อีกตามทเ่ี ห็นสมควร ท้ังนี้ การเรยี น ในระบบช้ันเรยี นปกติกำหนดให้สถานศึกษาเปิดทำการสอนสัปดาห์ละไม่น้อยกว่า 5 วัน วันละไม่เกิน 7 ช่ัวโมงและ กำหนดเวลาในการจัดการเรยี นการสอนคาบละ 60 นาที 3.3.3 การจัดแผนการเรียนตามหลักสตู ร การจัดแผนการเรยี นเพ่ือกำหนดรายวิชาตามโครงสร้างหลักสตู รท่ีจะดำเนนิ การสอนในแต่ละภาคเรียน นั้น ขึ้นอยู่กับลักษณะหรือกระบวนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสาขาวิชา โดยพิจารณาจัดอัตราส่วนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎีต่อภาคปฏิบัติในหมวดทักษะวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประมาณ 40:80 และระดับ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชัน้ สงู ประมาณ 40:60 ทง้ั น้ี มขี ้อเสนอแนะทีส่ ำคญั ในการจดั รายวิชาแต่ละภาคเรียน ดังนี้ 1. คำนึงถึงรายวิชาท่ีต้องเรียนตามลำดับก่อน-หลัง ความง่าย-ยากของรายวิชา ความต่อเนื่องและ เชื่อมโยงสมั พันธก์ ันของรายวชิ า รวมท้ังรายวิชาท่ีสามารถบูรณาการจัดการศึกษาร่วมกันเพื่อเรียนเป็นงาน และหรือ ชน้ิ งานในแตล่ ะภาคเรยี น
95 2. รายวิชาทวิภาคี หรือการนำรายวิชาไปเรียนและฝึกในสถานประกอบการ/แหล่งวิทยาการให้มีการ ประสานงานร่วมกันเพื่อพิจารณากำหนดรายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่ตรงกับลักษณะงานของสถานประกอบก าร/แหล่ง วิทยาการนนั้ ๆ 3. รายวชิ าฝกึ งานและรายวชิ าโครงการ สามารถจัดคร้ังเดยี วจำนวน 4 หนว่ ยกิต หรอื จัดใหล้ งทะเบียน เรยี นเปน็ 2 คร้ัง ๆ ละ 2 หน่วยกติ รวม 4 หน่วยกิต ตามเงอ่ื นไขของหลกั สตู รนนั้ ๆ ได้ 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร ใหก้ ำหนดไว้ในแต่ละภาคเรยี น สัปดาห์ละไม่น้อยกวา่ 2 ช่ัวโมง 5. จำนวนหน่วยกิตในแต่ละภาคเรียนปกติ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต ส่วนภาคฤดูร้อนไม่เกนิ 12 หนว่ ยกติ ทั้งน้ี เวลาในการจดั การเรียนการสอนโดยเฉลี่ย ไม่ควรเกนิ 35 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ 3.3.4 การจัดการศกึ ษาและประเมินผลการเรียน การจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการอาชีวศึกษาให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับมาตรฐานคณุ วุฒอิ าชีวศึกษาแต่ละระดับนั้น กระทรวงศึกษาธิการไดอ้ อกระเบียบเพ่ือ เป็นแนวทางในการดำเนินงานของสถานศึกษา ได้แก่ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ยการจัดการศึกษาและการ ประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษา และการประเมินผลการเรยี นตามหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้นั สูง ซึง่ มีสาระสำคญั ประกอบดว้ ย 1. สาระที่เกี่ยวข้องกับการเป็นนักเรียน นักศึกษา ได้แก่ การกำหนดพื้นความรู้และคุณสมบัติของผู้เข้า เรียน การรับผเู้ ข้าเรยี น การเป็นนกั เรียน การพ้นสภาพและคืนสภาพนักเรยี น การพักการเรียนและการลาออก 2. สาระทีเ่ กยี่ วกับการจัดการเรียน ได้แก่ การเปิดเรยี น การลงทะเบยี นรายวิชา การเปลีย่ นการเพ่ิมและ การถอนรายวิชา การเรียนโดยไม่นับจำนวนหน่วยกิตมารวมเพ่ือการสำเรจ็ การศึกษาตามหลักสูตร การนับเวลาเรียน เพอื่ สิทธิในการประเมินสรปุ ผลการเรียน และการขออนญุ าตเลื่อนการประเมนิ 3. สาระที่เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน ได้แก่ หลักการในการประเมินผลการเรียนวิธีการ ประเมินผลการเรียน การตัดสินผลการเรียน และการเทียบโอนผลการเรียนรู้ สำหรับระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันสูง จะกำหนดสาระท่ีเก่ียวข้องกับรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ เอกสารการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา และการประเมินผลการเรียนตามระเบียบ ดงั กลา่ ว ประกอบด้วย ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ได้แก่ 1) ระเบียนแสดงผลการเรยี นประจำตัวนักเรยี น (รบ. 1 ปวช. 56 ) 2) แบบรายงานผลการเรยี นฉบับภาษาองั กฤษ (Transcript 1 Cert.13) 3) แบบรายงานผลการเรียนของผทู้ ีส่ ำเร็จการศกึ ษา (รบ.2 ปวช. 56 ) 4) ประกาศนยี บัตร และวุฒบิ ัตร 5) ใบรบั รองสภาพการเป็นนกั เรยี นและใบรับรองผลการเรยี น 6) สมดุ ประเมินผลรายวชิ า และหลกั ฐานเก่ียวกบั การประเมินผลการเรียนในแบบอน่ื ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชัน้ สงู ไดแ้ ก่ 1) ระเบียนแสดงผลการเรียนประจำตวั นักศกึ ษา (รบ. 1 ปวส. 57 ) 2) แบบรายงานผลการเรียนฉบบั ภาษาองั กฤษ (Transcript 1 Dip.14)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138