Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

Published by samzii182, 2021-09-07 02:14:27

Description: กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

Search

Read the Text Version

กาพยเ หช มเครื่องคาวหวาน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย

ที่มาของเรือ่ ง รชั กาลที่ ๒ ทรงพระราชนิพนธกาพยเ หน เี้ พอื่ เปนการชมฝพ ระ หัตถในการแตง เครื่องเสวยของสมเดจ็ พระสุรเิ ยนทราบรมราชนิ ี (เจา ฟาหญงิ บญุ รอด) เมอ่ื คร้งั ยังทรงเปนสมเด็จพระเจา หลานเธอ ในรชั กาลท่ี ๑

จุดประสงคในการแตง เพ่อื ใชเหเ รอื เวลาเสด็จประพาสทางชลมารคเปน การสว นพระองค

รูปแบบคําประพนั ธ โคลงผสมกาพย  โคลงสีส่ ภุ าพ ๑ บท  กาพยย านี ๑๑ ไมจาํ กัดจาํ นวนขยายความตอ จากโคลงบทนั้น

โคลงสี่สภุ าพ ลักษณะบังคับ ๑. บท บทหนึ่งมี ๔ บาท แตล ะบาทแยกเปน ๒ วรรค เรยี กวรรคหนากับวรรคหลัง ๒. คําสรอย เฉพาะบาท ๑ กบั บาท ๓ ๓. เอก – โท คําเอก คอื คาํ ท่ีกาํ กบั ดว ยรปู วรรคยุกตเอก คําโท คอื คาํ ทก่ี ํากบั ดวยรปู วรรณยุกตโ ท กรณีทไี่ ม สามารถหาพยางคทีม่ รี ปู วรรณยกุ ตตามตองการไดใ หใ ชเ อกโทษ และโทโทษ

กลอนแมบ ท เสียงลือเสยี งเลา อา ง อันใด พี่เอย เสยี งยอ มยอยศใคร ทั่วหลา สองเขือพห่ี ลับใหล ลืมตืน่ ฤาพ่ี สองพ่ีคิดเองอา อยา ไดถามเผอื ฯ



เนอื้ เร่ืองยอ กาพยเหชมเครือ่ งคาวหวานพระราชนพิ นธใ นรัชกาลที่ ๒ มีเนอ้ื ความพรรณนาอาหารคาวหวานและผกั ผลไมแตล ะชนดิ ดงั ตอ ไปน้ี โดยมีทัง้ เหชมเครือ่ งคาว เหชมผลไม เหช มเครือ่ งหวาน

เน้อื เร่อื ง

คาํ ศพั ท ภญุ ช = รบั ประทาน ขอน = ทบุ , ตี

ความรเู พม่ิ เติม ใบยี่หรา หรือ โหระพาชาง กะเพราควาย กะเพราญวน และหอมปอ ม ลกั ษณะคลา ยโหระพา แตใบมีขนาด ใหญกวา แผนใบสาก สีเขยี วเข็ม ปลายใบแหลม ขอบ ใบจัก มกี ลิ่นหอมฉนุ และรสเผด็ รอนเปนเอกลกั ษณ นิยมนําไปผัดกับเนอ้ื สตั วเ พ่ือดบั กล่ินคาว รวมถงึ ใสใน แกงตา ง ๆ เชน แกงคัว่ หรือแกงปา

กาพยยานี ๑๑ หอมยห่ี รารสรอนแรง แรงอยากใหใ ฝฝ นหา มัสม่ันแกงแกวตา ชายใดไดก ลืนแกง ถอดคําประพนั ธ แกงมสั ม่ันไก ฝม อื ของนางมกี ลน่ิ หอมยหี่ รา มาก ชายใดไดลมิ้ รสแลวก็อยากจะรับประทานอกี

ยาํ ใหญใ สส ารพดั วางจานจัดหลายเหลือตรา รสดีดว ยนํ้าปลา ญี่ปนุ ล้ํายา้ํ ยวนใจ ถอดคําประพนั ธ ยาํ ใหญ ใสเครอ่ื งปรุงหลายอยาง นางนํามาจดั ใสจ าน อยางสวยงาม รสชาตดิ เี พราะปรุงดว ยนาํ้ ปลาญ่ปี นุ

ตับเหลก็ ลวกหลอนตม เจือนํา้ สมโรยพรกิ ไทย โอชาจะหาไหน ไมมเี ทียบเปรียบมอื นาง ถอดคําประพนั ธ ตับเหล็กลวก นางลวกแลว ใสน าํ้ สม และโรยพริกไทย อรอยมาก ไมมใี ครทําไดอ รอ ยเทากบั นางอกี แลว ตบั เหลก็ = มา มของหมู โอชา = อรอ ย

หมแู นมแหลมเลศิ รส พรอ มพริกสดใบทองหลาง พศิ หอ เหน็ รางชาง หางหอหวนปว นใจโหย ถอดคําประพนั ธ หมูแนม (อาหารวา ง)รสชาตดิ ี กนิ กบั พรกิ สดและใบทองหลาง นางหอ มาเปน คาํ ๆ สวยงามมาก ทาํ ใหคิดถงึ นางย่งิ ขึ้น คําศัพท รางชาง = สวยงาม

ความรเู พมิ่ เติม ใบทองหลาง = ไมย นื ตน ผลดั ใบสงู ๑๐ – ๑๕ เมตร มใี บยอย ๓ ใบเรียงสลับ ใบยอ ยรปู ไข ดอกชอ ออก ท่ีปลายกิง่ กลีบดอกสีสม หรอื แดง

กอ ยกุง ปรุงประท่นิ วางถึงล้นิ ดน้ิ แดโดย รสทิพยหยบิ มาโปรย ฤๅจะเปรยี บเทยี บทันขวญั ถอดคาํ ประพนั ธ กอยกงุ ปรุงกลนิ่ จนหอมเม่อื รบั ประทานเขา ไป แลว ราวกับอาหารทพิ ยใครกท็ าํ ไดไ มเ ทา ฝม อื นาง (อาหารประเภทเครื่องจิ้ม) คาํ ศัพท ประท่ิน = เครอื่ งหอม

เทโพพืน้ เน้อื ทอ ง เปน มนั ยองลอ งลอยมัน นาซดรสครามครนั ของสวรรคเ สวยรมย ถอดคําประพนั ธ แกงปลาเทโพ จะเหน็ เนอื้ ปลาเปน มันลอยขน้ึ มานารบั ประทาน เม่ือล้ิมรสชาตแิ ลวมีความสขุ เหมอื นอาหารสวรรค

ความรักยกั เปลี่ยนทา ทํานา้ํ ยาอยางแกงขม กลออ มกลอ มเกล้ียงกลม ชมไมว ายคลบั คลายเห็น ถอดคําประพันธ ดวยความรกั ที่นางมตี อกวี นางจึงทาํ นํ้ายาและเครอื่ งเคยี งท่ีกนิ กบั ขนมจนี น้ํายา ซ่ึงเรยี กวา แกงขม แกงออ ม คือ แกงมะระใสปลาดุกที่ นางทาํ รสชาติกลมกลอ มดี เมื่อไดก นิ แกงแลว อยากเห็นหนา คนทาํ

ขา วหงุ ปรุงอยา งเทศ รสพเิ ศษใสลกู เอน็ ใครหงุ ปรงุ ไมเ ปน เชน เชิงมิตรประดษิ ฐทํา ถอดคําประพนั ธ ขาวหุงแบบแขก ทาํ แบบพเิ ศษรสอรอ ยใสล กู กระวานดว ย ไมมีใครหงุ ไดอรอยเทา กบั นางอกี แลว คําศัพท ลูกเอ็น = ลกู กระวาน

สมนุ ไพรกระวาน มีชื่อทอ งถิ่นอ่นื ๆ วา ปลา กอ (ปตตานี), กระวานขาว (ภาคกลาง, ภาคตะวนั ออก) มะอ้ี (ภาคเหนอื ), ขา โคก ขา โคม หมากเนง้ิ (ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ), กระวานไทย, กระวานดาํ กระวานแดง, กระวานจนั ทร, กระวานโพธสิ ตั ว เปน ตน กระวานจดั เปนเครอ่ื งเทศทม่ี ีราคาแพง มีอยดู ว ยกนั 2 ชนิด คอื ๑. กระวานไทย หรือ กระวาน ผลจะมีลักษณะคอ นขางกลม ๒. กระวานเทศ หรอื กระวานแท ผลมลี ักษณะแบนรี สรรพคุณของกระวาน •ชว ยบาํ รุงธาตใุ นรา งกาย (ผลแก, ใบ, เปลอื ก, เมล็ด) • ชว ยแกธ าตุพิการ (เมลด็ ) แกธาตไุ มป กติ (ผลแก) •ชว ยบาํ รุงกาํ ลัง (ผลแก, ใบ) •ชว ยทําใหเ จรญิ อาหาร (ผลแก)แกอาการเบ่ืออาหาร (ผลแก) •ชว ยขบั โลหิต (ผลแก)ชวยฟอกโลหิต แกโลหติ เนา เสยี (ราก) ชวยรักษาโรคโลหติ เปน พษิ (แกน )

เหลือรูหมปู าตม แกงคัว่ สม ใสร ะกาํ รอยแจงแหง ความขาํ ช้ําทรวงเศรา เจาตรากตรอม ถอดคําประพันธ แกงควั่ สมหมปู า นางใสร ะกําเพอ่ื ใหม ีรสเปรยี้ ว แฝงไวซ ึง่ ความ ในใจวา นางมคี วามทกุ ขร ะทมอยใู นขณะน้ี คําศัพท ความขาํ = ความลับระหวางกวีกบั นาง

ความรู ระกาํ เพม่ิ เติม ระกาํ (ช่ือวทิ ยาศาสตร: Salacca wallichiana) เปน พืชตระกูลปาลม ซง่ึ มตี นหรอื เหงา เตยี้ ยอดแตกเปนกอ ใบมีลกั ษณะยาวเปนทาง ยาวประมาณ 2-3 เมตร ลาํ ตนมหี นามแหลมยาวประมาณ 1 น้วิ ออกผลเปน ทะลาย ทะลายหนง่ึ มตี ้ังแต 2-5 กระปุก เปลอื กผลมีหนามแขง็ เลก็ ๆ อมุ ไปทางทา ยผล ผลหนงึ่ ๆ มี 2-3 กลีบ เปน สว นมากเมอื่ ดิบมีรสฝาดและเปรย้ี ว เมื่อสกุ จะมรี สหวานอมเปรย้ี ว เนอื้ ออน บาง กล่ินหอม ฉ่าํ น้าํ ลกั ษณะใกลเคียงกับสละ แตผลปอมกวา เมล็ดใหญกวา สีจางกวา เนื้อจะออกสอี มสม มากกวา

ชาชาพลาเนื้อสด ฟงุ ปรากฏรสหืน่ หอม คิดความยามถนอม สนทิ เนื้อเจือเสาวคนธ ถอดคําประพนั ธ พลา เนื้อ มีกล่ินหอมนารับประทาน ทาํ ใหก วีนึก ไปถงึ กลิน่ ตวั ของนางยามท่อี ยูใกลช ิดกนั

ลาเตยี งคดิ เตียงนอ ง นอนเตียงทองทําเมอื งบน ลดหล่นั ช้ันชอบกล ยลอยากนิทรคิดแนบนอน ถอดคําประพนั ธ เมือ่ เห็น ลาเตยี ง ทําใหก วีนึกถงึ เตียงที่นางนอน ทาํ ใหอ ยากนอน รวมเตียงกับนางอกี ครั้ง(อาหารวา ง) คาํ ศัพท เมอื งบน = เมืองฟา เมอื งสวรรค

เห็นหรุมรมุ ทรวงเศรา รุมรมุ เราคือไฟฟอน เจบ็ ไกลใจอาวรณ รอ นรมุ รมุ กลมุ กลางทรวง ถอดคาํ ประพันธ เมอ่ื เห็น หรุม ทําใหกวตี อ งเศรา โศกและรอ นใจเหมอื นไฟสมุ ใจ เพราะอยไู กลกันทาํ ใหค ดิ ถึงนางมากจงึ รสู ึกรอนรุมอยใู นอก(อาหารวาง) คําศพั ท ไฟฟอน = กองไฟท่ีดับแลวแตยงั มคี วามรอ นระออุ ยู

รงั นกนึง่ นาซด โอชารสกวาทั้งปวง นกพรากจากรังรวง เหมอื นเรียมรางหางหองหวน ถอดคาํ ประพันธ รังนกนงึ่ นา ซด รสชาตอิ รอยกวา อาหารใดๆ ทาํ ใหค ดิ ถึงนกทพี่ รากจากรงั เหมอื นพี่(กวี) ทีต่ อ ง จากนางมา คําศพั ท เรยี ม = พี่

รงั นก รังนก ทํามาจากนาํ้ ลายในดานเศรษฐกิจ ความรู รังนกแอนกนิ รังถือเปน สนิ คา ที่ราคาแพงมากและหาไดยาก เพิ่มเติม สําหรบั ในเมืองไทยนน้ั มีนกนางแอน สามชนิด คอื นกแอนกินรงั นกแอน กินรงั ตะโพกขาว และนกแอน หางสี่เหลยี่ ม หรอื นกแอนรังดํา โดยรงั ของนกนางแอน ทง้ั สามชนดิ น้นั สามารถใชร บั ประทานได

ไตปลาเสแสรง วา ดจุ วาจากระบิดกระบวน ใบโศกบอกโศกครวญ ใหพ่ีเครา เศรา ดวงใจ ถอดคาํ ประพันธ พอเหน็ อาหารไตปลาและแสรง วา ทาํ ใหน กึ ถึงคําพดู ของนาง ทม่ี ีชัน้ เชิงฉลาด แตพ อเหน็ ใบโศกราวกบั จะบอกถงึ ความเศรา โศก ของกวีที่รอคอยนางตลอดเวลา คาํ ศัพท แสรงวา = อาหารจําพวกเครอื่ งจ้มิ เครา = คอย

ไตปลา ไตปลา (ภาคกลาง) หรือ พุงปลา (ภาคใต) เปน การถนอม อาหารแบบหมกั ดองชนดิ หน่ึง โดยใชกระเพาะของปลา เชน ปลาทู ปลาลัง ปลาดกุ ปลาชอ น หรอื ปลาอนื่ ๆมาหมกั กบั เกลอื โดยนําขแี้ ละดอี อกจากกระเพาะกอ น หมักไว 10 -30 วันก็ใชได ไตปลาท่ีหมกั ไดท่จี ะเหลวและมมี นั ไหลออกมา นําไปทาํ เปน อาหารไดหลายชนิด ไตปลาท่ีเปน เครื่องจ้มิ น้เี ปนทีม่ าของอาหารชาววังท่ีเรียกวา แสรง วาหรือแสรง วา ไตปลา ซึ่งเปนการปรงุ แบบเดยี วกบั นา้ํ พรกิ ไต ปลาเพียงแตต ัดไตปลาที่มีกลนิ่ เหม็นคาวออกไป ใสเ ครอื่ งปรงุ อ่ืน ลงไปแทน เชน กงุ แสรง วานี้ เปน อาหารทม่ี ใี นกาพยเ หชมเครอื่ ง คาวหวานของรชั กาลที่

โสก จดั อยูในวงศถว่ั และอยใู นวงศยอ ย ราชพฤกษ มชี อ่ื ทองถ่ินอน่ื ๆ วา โสกนาํ้ ,ชุมแสง นํ้า, สม สุก ,ตะโคลเี ตาะ , กาแปะหไอย , อโศก, โศก, อโศกน้าํ , อโศกวัด เปน ตน ตนโสก หรอื ตนโศก มีถ่ินกําเนิดดัง้ เดมิ อยใู นประเทศอินเดีย จดั เปน ไมย ืนตน ไมผ ลัดใบขนาดเลก็ ถึงขนาดกลาง ท่มี ีความสงู ของตน ไดประมาณ ๕-๑๕ เมตร

แสรงวา กุง เปน อาหารไทยโบราณที่ทาํ ไดงา ยๆ ใชกงุ สกุ มาคลกุ เคลากบั ผักและสมนุ ไพรตา งๆ ปรงุ รสเปรี้ยว เค็ม หวาน คลายกับยําแตไมม รี สเผด็

ผกั โฉมชอ่ื เพราะพรอง เปนโฉมนองฤๅโฉมไหน ผกั หวานซานทรวงใน ใครค รวญรักผกั หวานนาง ถอดคาํ ประพันธ ผกั โฉมช่ือเพราะเปนโฉมงามของนอ งหรอื ของใคร ผักหวานกนิ แลว รสู กึ ชืน่ ใจ ทาํ ใหคดิ ถงึ ความรกั และความหวานของนาง

ผกั หวาน เปน ผัก ที่ใชปรงุ เปนอาหารไดหลายชนดิ และยงั เปน พืชสมนุ ไพร มีคุณคา ทางโภชนาการสงู เปนแหลงของ โปรตนี วติ ามินซี (vitamin C) บีตา-แคโรทีนซ่งึ ชว ย ในการมองเหน็ บาํ รุงสายตา และมสี รรพคุณเปนสารตาน อนุมลู อิสระ (antioxidant) มีแคลเซยี มและฟอสฟอรสั สงู ชวยบํารุงกระดกู และฟนใหแ ขง็ แรงและ มีเสนใยอาหาร ชวยในการขบั ถา ย





บทวเิ คราะห

คณุ คา ดานเน้ือหา กาพยเ หช มเครือ่ งคาวหวานกลาวถงึ อาหารไทยหลายชนดิ บางชนดิ กร็ จู กั กนั ดีในปจจุบนั เชน แกงมสั ม่ัน เทโพ กอ ยกงุ บางชนดิ ก็ เปน อาหารไทยโบราณที่แมจะไมรูจกั และหารบั ประทานไดยากในปจ จุบัน เชน แสรงวา กงุ แตว รรณคดเี รือ่ งน้ีทําใหผูอานไดร จู กั ชื่ออาหารเหลานน้ั

คุณคา ดานวรรณศิลป ๑.ความไพเราะของถอ ยคําเกิดจากการสรรคําที่มีเสยี งไพเราะ การเลนเสียงวรรณยกุ ต เสยี งพยญั ชนะและสัมผสั ใน เชน เหน็ หรมุ /รุมทรวงเศรา รุมรมุ เรา/คอื ไฟฟอน เจบ็ ไกล/ใจอาวรณ รอ นรุมรมุ /กลมุ กลางทรวง

๒. ใชสํานวนความเปรยี บตางๆ บง บอกความพเิ ศษของอาหารไดอยา ง ชดั เจน โดยมีนัยประหวัดถึงนางที่รกั ตามขนบของวรรณคดไี ทยดว ย เชน โอชารสกวาทัง้ ปวง รงั นกนึ่งนา ซด เหมือนเรียมรางหา งหอ งหวน นกพรากจากรังรวง

๓. ใชโวหารภาพพจนบงบอกความรูส ึกเกนิ พรรณนา เชน กอ ยกงุ ทง้ั หอมท้งั เลศิ รสราวกับอาหารทพิ ยเม่อื สมั ผสั ลิน้ กร็ ูสกึ อรอยมาก จนแทบจะขาดใจ กอยกุงปรุงประทน่ิ วางถงึ ล้ินดนิ้ แดโดย รสทิพยหยิบมาโปรย ฤๅจะเปรียบเทียบทันขวัญ

คณุ คาดานสังคม ๑. เปน ภาพสะทอนวัฒนธรรมดา นอาหารการกนิ วธิ ีปรงุ อาหาร เคลด็ ลบั การจดั วางตกแตงใหส วยงามเปนทัง้ ประณีตศลิ ปและวิจิตรศลิ ป เชน ยําใหญใ สส ารพัด วางจานจดั หลายเหลอื ตรา รสดดี วยนาํ้ ปลา ญี่ปุนลํา้ ยํ้ายวนใจ

๒. ไดร ถู งึ ความเปน กลุ สตรีของหญงิ ไทยสมยั กอ นในเรอื่ งฝมือการ ปรงุ อาหาร

๓. ไดร ถู ึงความสมั พันธก ับตางประเทศในสมัยรัชกาลท่ี ๒ ทีม่ กี ลา วถงึ คอื ญี่ปุนและอินเดยี ยําใหญใสสารพดั วางจานจัดหลายเหลอื ตรา รสดดี ว ยนํา้ ปลา ญปี่ ุนลา้ํ ย้าํ ยวนใจ ขา วหุงปรงุ อยางเทศ รสพิเศษใสล กู เอน็ ใครหงุ ปรงุ ไมเปน เชนเชิงมิตรประดษิ ฐท าํ

๔. อาหารเปน เครอ่ื งหมายแทนความรกั ความผกู พนั และความเอ้ืออาทรทค่ี นในครอบครวั มตี อ กัน

๕. การปรุงอาหารไทยเปนงานศลิ ปะทตี่ องใชฝ มือ ความประณตี และ ความตง้ั ใจประดิษฐอ อกมาใหงดงามและโอชารส

จบบทเรยี น

ใบงานแบบฝก หัดทายบท ใหน กั เรียนทําใบงาน เรอื่ งอาหารในวรรณคดี กาํ หนดสงวันศุกรที่ 19 ก.พ.63


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook