Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SMTE Bio Abstract 2562

SMTE Bio Abstract 2562

Published by kwstme, 2019-08-06 10:57:43

Description: SMTE Bio Abstract 2562

Keywords: SMTE 11

Search

Read the Text Version

หนา 44 ศึกษาผลของนา้ หมักชวี ภาพตอ่ การงอกของถ่วั เขียว สพุ ัตรา บปุ ผา, นนั ทดิ า จ้าปาตา , กลั ยา รัตนะ จรี ะศกั ด์ิ เหมบุรุษ และ จรญู มัง่ มลู นกั เรยี นโรงเรยี นเลยอนุกลู วิทยา E-mail.nukul.ac.th โรงเรยี นเลยอนกุ ูลวิทยา บทคดั ยอ่ การจัดทา้ โครงงานครั้งนีม้ ีวัตถุประสงคเ์ พ่อื ศกึ ษาน้าหมักชีวภาพต่อการงอกของถวั่ เขยี วโดยใชส้ ตู รนา้ หมักท่ดี ีที่สุดมี ส่วนประกอบและอัตราส่วนดังนี้ กล้วยน้าว้า ในอัตราส่วน 3:1 สูตรสับประรด ในอัตราส่วน 3:1 ท้าการติดตามการ เปลี่ยนแปลงน้าหมักชีวภาพ ได้แก่ pH อุณหภูมิ และปริมาณกรดระยะเวลา 30 โดยท้าการศึกษาสูตรน้าหมักชีวภาพ และ ความเขม้ ข้นท่เี หมาะสมต่ออัตราการงอกของถ่ัวเขียว แบ่งออกเปน็ 2 การทดลองคือการทดลองท่ี 1 ศึกษาน้าหมักชีวภาพท่ีมี ผลตอ่ อัตราการงอกและการทดลองที่ 2 ศึกษาความเขม้ ขน้ ของนา้ หมักชีวภาพทม่ี ีผลต่ออตั ราการงอกของถวั งอกโดยมนี ้าหมัก กลว้ ยและสับปะรดตอ่ น้าตาลทราย เป็น อัตราสว่ น 3:1 ท้าการแชถ่ วั่ เขยี วจ้านวน 20 เมลด็ ในน้ากลั่น และ แช่ถ่ัวเขียวจ้านวน 20 เมล็ดในน้าหมัก เพื่อศึกษาการงอกของถ่ัวเขียวโดยวัดความยาวของราก 0.5 มิลลิเมตร และศึกษาหาความเข้มข้นท่ี เหมาะสมของน้าหมักชีวภาพต่ออตั ราการงอกและการงอกของถวั่ เขียวโดยน้าน้าหมักชีวภาพมาไทเทรตกับสารละลายฟีนอล์ฟ ทาลนี เพ่ือดคู วามเข้มข้นของนา้ หมักแลว้ น้านา้ หมกั ไปเจือจางเพอ่ื ดูความเหมาะสมตอ่ การแชถ่ ่วั งอกและสังเกตการเจริญเติบโต ของราก ผลการศึกษาพบว่าน้าหมกั ชีวภาพทุกสูตรมีคณุ สมบัติเป็นกรด (pH เท่ากับ 2) โดยพบว่าเม่อื เวลาในการหมักเพมิ่ ขนึ้ ความเป็นกรดของน้าหมักจะเพิ่มขึ้น (pH อยู่ ในช่วง 2.7– 3) เมื่อท้าการศึกษาปริมาณความเข้มข้นของกรดที่เกิดข้ึนจาก กระบวนการหมักพบว่าน้าหมักชีวภาพทุกสูตรมีปริมาณความเข้มข้นของกรดเพิ่มขึ้นน้าหมักชีวภาพท่ีเจือจาง 100 เท่าในน้า หมักสูตรตา่ งๆ สามารถท้าใหเ้ มล็ดถ่ัวเขียวงอกครบทุกเมลด็ ภายในเวลา 3 วัน และ เม่ือศึกษาการเจรญิ ของเมล็ดถัว่ เขียวเป็น เวลา 5 วนั พบว่า น้าหมกั ชวี ภาพกลว้ ยช่วยใหเ้ มลด็ ถ่ัวเขียวมีการงอกดีทสี่ ดุ พบวา่ ถัว่ เขียวสามารถงอกได้ดีในน้าหมกั ชวี ภาพที่ เจอื จาง 1,000 และ 100 เท่า และไมส่ ามารถงอกได้ในน้าหมกั ชวี ภาพเขม้ ข้น โดยถ่วั เขยี วสามารงอกในนา้ หมักชีวภาพเจือจาง 1,000 เท่า ได้ดีที่สุด และไม่สามารถเจริญได้ ในน้าหมักชีวภาพเข้มข้น ท้ังน้ีอาจเป็นเพราะสภาพความเป็นกรดของน้าหมัก ชวี ภาพท่เี ขม้ ขน้ ไป ยบั ยัง้ กระบวนการเจริญเตบิ โตท้าให้ต้นถ่วั เขียวไม่สามารถเจรญิ เตบิ โตได้

หนา 45 การศึกษาประสทิ ธภิ าพของน้าํ ค้นั สดจากใบยูคาลิปตัส (Eucalyptus camaldulensis Dehnh.) ท่ีมผี ลตอ) การงอกของเมลด็ หญ-ารังนก (Chlorisbarbata Sw.) นางสาวณชนก จันทะเรงิ 1, นางสาวณฐั กมล คา- มีผล1 นางสาวพรสวรรค% โคตะมะ2 1นักเรียนโรงเรียนแกนนครวทิ ยาลยั , E-mail [email protected], 2 โรงเรยี นแกนนครวิทยาลัย บทคดั ย)อ เน่ืองดวยมีการแพรระบาดของหญารังนก (Chlorisbarbata Sw.) เป3นจํานวนมากในพ้ืนที่ของผูจัดทํา สงผล กระทบตอการใชชีวิตประจาํ วนั ทําใหพ้นื ทีใ่ ชสอยนอยลงและสตั ว%มพี ิษมาอาศัย ซ่ึงหากกําจัดดวยการร้ือถอนหรือไถปรับหนา ดนิ กส็ งผลเสียดานทนุ ทรพั ย%และการใชแรงงานคน ดังน้ัน ทางคณะผูจัดทําจึงไดทําการศึกษาเก่ียวกับประสิทธิภาพของน้ําคั้น สดจากใบยคู าลิปตสั คามาลดูเลนซิสซ่งึ เปน3 พชื ทีม่ ีจํานวนมากในทองถิน่ โดยนํามาทดสอบวามีผลอยางไรตอการงอกของเมล็ด หญารงั นก (Chlorisbarbata Sw.) โดยการทดลองไดนําใบของตนยคู าลิปตัสคามาลดเู ลนซิสมาปAน@ ผสมกบั นํา้ ในเคร่อื งปน@A ดวย ความเร็วรอบ17,200 รอบ/นาที เป3นเวลา 1 นาที กรองดวยผาขาวบางเพื่อเอาเพียงแคน้ําค้ัน จากนั้นนําไปใชรดเมล็ดหญารัง นก (Chlorisbarbata Sw.) ในถาดเพาะทุกวนั เทียบกับฝ@งA ทร่ี ดดวยนา้ํ ในปริมาณทีเ่ ทากัน เมอื่ เวลาผานไป 18 วนั ถาดเพาะที่ ถูกรดดวยน้ําคนั้ จากใบยูคาลปิ ตสั คามาลดเู ลนซสิ มีจาํ นวนการงอกของเมล็ดหญารังนก (Chlorisbarbata Sw.) ทน่ี อยกวาถาด เพาะท่ถี ูกรดดวยนา้ํ จากผลการทดลองพบวา นํ้าค้นั จากใบยูคาลิปตัสคามาลดเู ลนซิสมีผลตอจํานวนการงอกของเมล็ดหญารัง นก (Chlorisbarbata Sw.) คาํ สาํ คัญ : หญารังนก (Chlorisbarbata Sw.), น้าํ คั้นจากใบยูคาลปิ ตสั คามาลดูเลนซสิ , การขนึ้ ของเมล็ดหญารังนก (Chlorisbarbata Sw.)

หนา 46 การศกึ ษาเปรยี บเทียบประสิทธิภาพในการกาจัดเพลย้ี แปง้ (Pseudococcidae) ของสารสกัดจากใบสะเดาและสารสกดั จากใบกระทอ้ น อารยี า ตาลจรสั 1, กญั จพร สสี า1, ภรณกนก ภูผาธรรม1 อารวี รรณ ธาตุดี2 และ พรทิพย์ ปดั ตาเคนงั 2 1 นกั เรียนโรงเรียนโรงเรยี นสารคามพทิ ยาคม, E-mail: [email protected] 2 โรงเรยี นสารคามพิทยาคม บทคดั ย่อ โครงงานเรื่องการศกึ ษาเปรยี บเทยี บประสิทธิภาพในการกาจัดเพล้ียแป้ง (Pseudococcidae) ของสารสกัดจากใบ สะเดาและสารสกดั จากใบกระท้อนมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1.) ศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการกาจัดเพล้ียแป้งด้วยสาร สกัดใบสะเดาและใบกระท้อน 2.) ศึกษาความเข้มข้นท่ีน้อยที่สุดในการกาจัดเพลี้ยแป้งด้วยสารสกัดจากใบสะเดากับสาร มาตรฐานและเพ่ือศึกษากระบวนการในการสกัดสารโดยใช้เอทานอลเป็นตัวทาละลาย จากการศึกษาเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพในการกาจัดเพล้ียแป้ง(Pseudococidae) ของสารสกัดจากใบสะเดาและสารสกัดจากใบกระท้อน พบว่า สาร สกัดใบสะเดามีประสิทธิภาพในการกาจัดเพล้ียแป้งมากท่ีสุดโดยมีค่าเฉล่ียการตายของเพล้ียแป้งเท่ากับ 9 ตัว รองลงมาคือ สารสกัดใบกระท้อนมีประสิทธิภาพในการกาจัดเพลี้ยแป้งโดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.33 ตัว และจากการเปรียบเทียบความ เข้มข้นที่น้อยที่สุดท่ีมีประสิทธิภาพในการกาจัดเพล้ียแป้งของสารสกัดใบสะเดาที่ความเข้มข้น 30% 50% และ 70% เม่ือ เปรยี บเทยี บกับสารมาตรฐาน พบวา่ สารสกัดใบสะเดาทีค่ วามเขม้ ขน้ 50% มปี ระสิทธภิ าพในการกาจดั เพลี้ยแปง้ ได้มากที่สุด โดยมีอตั ราการตาย 8.33 ตัว มคี ่าใกลเ้ คียงกบั สารมาตรฐานมากท่สี ุดซง่ึ มคี า่ เฉลย่ี อตั ราการตายเทา่ กบั 10 ตวั คาสาคญั : ใบสะเดา, ใบกระท้อน, azadirachtin

หนา 47 ผลของพืชผลทางการเกษตรตอ่ การเจริญเตบิ โตของเสน้ ใยเหด็ นางรมสีเทา The effect of agricultural droplets on the growth of cellulose of pleurotus ostreatus (Fr.) kummer ชลนิ ดา แสนปัดสี1 , สโรชา พรมคา1 , ศริยากร อว้ นแก้ว1 , นชุ จเรตร์ ศรีนา2,สุวภา ยศตะโคตร3,อรณุ วงศ์จริ ฐั ติ ิ3 1นกั เรียนโรงเรยี นธาตุนารายณ์วิทยา, E-mail:[email protected] โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา, 3มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร บทคดั ยอ่ โครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง ผลของพืชผลทางการเกษตรต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางรมสีเทา เพื่อศึกษา เปรียบเทียบปจั จัยชนิดของพชื มนั ฝรงั่ ,มนั เทศ,ขา้ วโพดหวาน และข้าวเหนียวที่มีต่อผลการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางรมสี เทา และเพ่ือศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยความเข้มข้นของมันเทศและข้าวโพดหวานท่ีมีต่อผลการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ด นางรมสีเทา โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ขั้นตอนดังน้ี ตอนท่ี 1 ศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยชนิดของพืชมันฝรั่ง,มันเทศ, ข้าวโพดหวานและข้าวเหนียวที่มีต่อผลการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางรม สีเทา โดยมีมันฝร่ัง,มันเทศ,ข้าวเหนียว และ ข้าวโพดหวาน เป็นพืชทางการเกษตรที่ใช้ในการศึกษา บ่มเช้ือไว้ที่อุณหภูมิห้อง เป็นระยะเวลา 7 วัน ตอนท่ี 2 ศึกษา เปรียบเทียบปัจจัยความเข้มข้นของมันเทศและข้าวโพดหวานท่ีมีต่อผลการเจริญเติบโตของ เส้นใยเห็ดนางรมสีเทา โดยใช้ท่ี 0,5,10,15,20,25 และ 30 เปอร์เซ็นต์ โดยมีอาหารสตู รมาตรฐาน (PDA) เปน็ ชุดเปรยี บเทียบบ่มเช้อื ไวท้ ีอ่ ุณหภมู ิห้อง เป็นระยะเวลา 7 วนั ผลปรากฏว่าชนิดของพืชทางการเกษตรทใ่ี ห้ผลต่อการเจรญิ เติบโตของเสน้ ใยเห็ดนางรมสเี ทา ดีท่ีสุด คือ ข้าวโพดหวาน รองลงมาคืออาหารสาเร็จรูป,ข้าวเหนียว,มันเทศ และมันฝรั่งตามลาดับ และ พบว่า ความเข้มข้นของ ข้าวโพดหวานทีเ่ สน้ ใยเห็ดนางรมสีเทาสามารถเจริญเตบิ โตไดด้ ีท่ีสุด คอื 20 เปอร์เซน็ ต์ รองลงมาคอื 30,25,10,15 และ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์ ตามลาดับ และความเข้มข้นของมนั ฝรัง่ ที่เสน้ ใยเหด็ นางรมสเี ทาสามารถเจรญิ เติบโตไดด้ ที ่สี ุด คือ 20 เปอร์เซน็ ต์ รองลงมาคือ 10,15,25,30 และ 5 เปอร์เซ็นต์ คาสาคญั : มนั ฝรง่ั , ขา้ วโพดหวาน , ขา้ วเหนียว , ความเข้มข้นที่ใชใ้ นการเพาะเล้ียง , เห็ดนางรมสีเทา

หนา 48 ปืนลมผสมเกสรเมล่อน ธมลวรรณ สรุ เสียง1 , นารีรัตน์ หงษแ์ พงจิตร1 , ปาลิตา วิชยั 1 , กัลยารัตน์ นาคีย์2 1นกั เรยี นโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื , E-mail:[email protected] 2โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ บทคดั ย่อ ในปัจจุบันปัญหาทเ่ี กษตรกรมักพบจากการผสมเกสรของเมลอ่ นน้ันเกดิ จากดอกเมลอ่ น เป็นดอกไมส่ มบูรณ์เพศ ดอกตัว เมยี และตัวผอู้ ยแู่ ยกดอก จาเป็นต้องใชแ้ รงงานคนในการผสม จึงทาให้มคี ่าใชจ้ ่ายในการจา้ งแรงงานคนทสี่ งู เพื่อใหส้ ามารถผสมได้ ตามเวลาทต่ี ้องการ และการตดิ ผลทีไ่ มแ่ น่นอนหรือการไดผ้ ลทไ่ี ม่มีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการของตลาด ปืนลมผสมเกสร เมล่อน มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1. ดัดแปลงหัวฉีดพ่นละอองเรณขู องปืนลมผสมเกสรเมล่อน ให้มี 2 รูปแบบ คือ 1) หัวฉีดแบบ 1 รู เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 มิลลิเมตร 2) หัวฉีดแบบ 4 รู โดยแต่ละรูมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.1 มิลลิเมตร 2. ทดสอบความมีชีวิตของ ละอองเรณูเมล่อนใน 3 ช่วงเวลาที่เก็บ ได้แก่ ช่วงเวลา 06.00 น. , 12.00 น., 17.00 น. 3. เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผสม เกสรเมล่อนโดยใชป้ ืนลมผสมกับใช้มอื ผสม โดยแบ่งเป็น ใช้หัวปนื ลมแบบ 1 รู ผสม 5 ต้น ใช้หัวปนื ลมแบบ 4 รู ผสม 5 ต้น ใช้มือ ผสม 5 ตน้ รวมเป็น 15 ตน้ ทาการทดลองซ้า 3 ซ้าการทดลอง มีวธิ ีการในการดาเนินงาน ดังน้ี ศึกษาข้อมูลเก่ยี วกับการดดั แปลงหัวฉีดพ่นของปืนลมผสมเกสรแล้วจัดทาหวั ฉดี พ่นให้ได้ 2 รปู แบบ ปรับปรงุ กระบอกเกบ็ ละอองเรณใู หม้ ีหลายกระบอก และศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกับเมล่อนจากเอกสารอ้างอิงและเกษตรกร ผู้เชี่ยวชาญ ทาการทดสอบความมีชีวิตของละอองเรณูเมล่อน โดยวิธีการย้อมสีละอองเรณูด้วยสารละลาย acetocamine 1% ผลการทดลองพบว่า ละอองเรณูย้อมติดสีในช่วงเวลาเก็บ 06.00 น. มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 92.31 รองลงมาเป็นช่วงเวลาเก็บ 17.00 น. ตดิ สยี อ้ มคดิ เป็นร้อยละ 83.43 และชว่ งเวลาเก็บ 12.00 น. ติดสีย้อมน้อยที่สดุ คิดเป็นร้อยละ 79.81 ตามลาดับ ดังนั้น ละอองเรณูท่เี ก็บช่วงเวลา 06.00 น. จึงมีความมีชวี ิตมากที่สดุ รองลงมาคอื 17.00 น. และ 12.00 น. ตามลาดับ จากนนั้ เกบ็ เกสร ตัวผู้ในชว่ งเวลา 06.00 น. นามาผงึ่ ลมให้แห้งประมาณ 30 นาที แล้วใชเ้ ข็มเขี่ยละอองเรณูจากเกสรตัวผู้มาบรรจุในกระบอกเก็บ ละอองเรณู ประกอบเข้ากบั ปืนและนาปืนไปยิงผสมกับเกสรตัวเมียเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของหัวปืนทั้งสองแบบและการผสม เกสรโดยใชม้ อื ผสม ติดตามการติดผลของเมล่อนเป็นเวลา 1 สัปดาห์ จากผลการทดลองพบว่า การผสมโดยปนื ลมผสมเกสร หวั ฉดี แบบ 1 รู สามารถผสมเกสรเมล่อนเกดิ การติดผลได้มากท่ีสุดคดิ เป็นร้อยละ 86.67 รองลงมาเป็นแบบ 4 รู คดิ เปน็ ร้อยละ 60.00 และการผสมมือคดิ เป็นร้อยละ 53.33 ตามลาดบั ดงั นนั้ ปนื ลมผสมเกสรเมล่อนจึงมีประสทิ ธภิ าพในการผสมเกสรเกดิ การตดิ ผลได้ มากและแน่นอนกวา่ การผสมด้วยมอื คาสาคัญ : ปนื ลมผสมเกสร , เมลอ่ น , ละอองเรณู

หนา 49 การควบคุมเช้อื ราปนเปอ้ื นในกระเทยี มด้วยสารสกดั จากเมลด็ กาแฟและข่า ในสภาพหอ้ งทดลอง ณัฏฐมน ยายืน1, วจิ ติ ตรา ชัยจันทร์1, สิรนิ ยากร สทิ ธมิ งคล1, ธนากร กองกลู 2 1นักเรยี นโรงเรยี นเลยพิทยาคม, Email :[email protected] 2ครูโรงเรียนเลยพิทยาคม, Email :[email protected] บทคัดย่อ การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการควบคุมเช้ือราโดยการใช้สารเคมีที่มีในพืชและศึกษาประสทิ ธิภาพของ สารสกัดจากเมล็ดกาแฟและข่าในการควบคุมเช้ือราที่แยกได้จากกระเทียมด้วยวิธี Poisoned Food Technique ท่ีระดับ ความเข้มข้นของสารสกัดร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรใน3 ระดับ ได้แก่ ร้อยละ 90 ร้อยละ 70 และ ร้อยละ 50 และวัดความ ยาวเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนีเช้ือราท่ีเจริญบนอาหารเล้ียงเช้ือเป็นเวลา 3 วัน จากการทดลองวัดผลพบว่าสารสกัดจาก กาแฟและข่าสามารถควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อราได้ ซึ่งสารสกัดจากข่าท่ีความเข้มข้นร้อยละ 90,70 และ 50เช้ือรา สามารถเจริญเติบโตมีความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยได้แก่ 1.29 ± 0.13, 2.14 ± 0.53 และ 2.51 ± 0.21 เซนติเมตร ตามลาดับ และสารสกัดจากเมล็ดกาแฟที่ความเข้มข้นที่ร้อยละ 90, 70 และ50เช้ือราสามารถเจริญเติบโตได้มีความยาวเส้น ผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยได้แก่ 3.66 ± 0.51, 3.69 ± 0.34 และ 3.93 ± 0.50เซนติเมตรตามลาดับเมื่อคานวณหาร้อยละการ ควบคุมพบว่าสารสกัดจากข่าที่ความเข้มข้นร้อยละ 90 มีประสิทธิภาพในการควบคุมเช้ือราสูงท่ีสุด โดยมีร้อยละการควบคุม การเจริญของเชอ้ื ราคือ ร้อยละ 73.29 รองลงมาคอื สารสกดั จากขา่ ทค่ี วามเข้มขน้ ร้อยละ 70 ควบคุมเชอื้ ราได้ร้อยละ 55.69 คาสาคญั : การควบคุมเชอื้ รา, เชื้อราจากกระเทียม, สารสกดั จากกาแฟและขา่

หนา 50 การพัฒนาฟลิ ม์ แปง้ มนั สาปะหลงั ผสมสารสกัดจากพชื วงศข์ ิง เพื่อยับยง้ั เชอื้ รา Aspergillus flavus ในบรรจุภัณฑถ์ ว่ั ลิสง เรณณุ ญั ช์ นันทพฤกษา1 , ชญาดา เขียวอมิ่ 1 , วทญั ญู สมวงษา 1 กลุ ธิดา ทนี อ้ ย 2 และ อาริศรา อรรคษร2 1นักเรยี นโรงเรยี นขอนแก่นวิทยายน, Email: [email protected] 2โรงเรียนขอนแกน่ วทิ ยายน บทคัดย่อ เชื้อรา Aspergillus flavus เป็นสาเหตุก่อให้เกิดสารพิษอะฟลาทอกซิน ( Alfatoxin) ซึ่งเป็นสารพิษ ที่มีความเป็นพิษร้ายแรงต่อสุขภาพและชีวิตของผู้บริโภคท้ังมนุษย์และสัตว์อย่างเฉียบพลัน จึงค้นหาแนวทางจากการสกัด ฟีนอลิกท้ังหมดในสารสกัดจากพืชวงศ์ Zingiberraceae มี 3 ชนิด ได้แก่ ขิง,ข่า,ขม้ิน เพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการยับยัง้ การเจริญเติบโตของเช้ือรา Aspergillus flavus ท่ีพบในถ่ัว และนาไปพัฒนาเป็นฟิล์มแป้งมันสาปะหลังผสมสารสกัด ฟีนอลิกจากพืชสาหรับยับยั้งเช้ือราในบรรจุภัณฑ์ถั่วลิสง พบว่าสารสกัดฟินอลิกจากขม้ิน 2.83f (mg of gallic acid) มีปริมาณมากท่ีสุด รองลงมาคือขิงและขมิ้นตามลาดับ การทดลองพบว่าสารสกัดสกัดฟีนอลิกท่ียับยั้งเช้ือราได้ดีท่ีสุดคือ ข่า จากนั้นนาสารสกัดท้ังหมดมาผสมกับฟิล์มแป้งมันสาปะหลัง(Edible film)และนามาทดลอง พบว่า สารสกัดฟีนอลกิ ทผ่ี สมกบั ฟิล์มแล้วใหผ้ ลในการยบั ยัง้ ได้ดีทส่ี ดุ คอื ข่า คาสาคัญ : เช้ือรา Aspergillus flavus , พืชวงศ์ Zingiberraceae , ฟิล์มแป้งมนั สาปะหลัง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook