คาํ นํา สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เห็นชอบใหมีการจัดกจิ กรรม “การประชุมวิชาการนักเรียนหองเรียนพเิ ศษ วิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ครั้งท่ี11 เพื่อใหนักเรียนโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ชั้นมัธยมศึกษาปที่6 ประจําปการศึกษา 2562 ไดนําเสนอผลงานโครงงานทางดานวิทยาศาสตรและ คณิตศาสตร พรอมท้ังแลกเปลี่ยนองคความรูกับเพ่ือนๆ นักเรียนตางโรงเรียน จํานวน 32 แหง ไดแก โรงเรียนขอนแกนวิทยายน โ ร ง เ รี ย น กั ล ย า ณ วั ต ร โ ร ง เ รี ย น แ ก น น ค ร วิ ท ย า ลั ย โ ร ง เ รี ย น ชุ ม แ พ ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น ก า ฬ สิ น ธุ พิ ท ย า ส ร ร พ โรงเรียนอนุกูลนารี โรงเรียนสารคามพิทยาคม โรงเรียนผดุงนารี โรงเรียนบรบือวิทยาคาร โรงเรียนวาปปทุม โ ร ง เ รี ย น ป ย ะ ม ห า ร า ช า ลั ย โ ร ง เ รี ย น น ค ร พ น ม วิ ท ย า ค ม โ ร ง เ รี ย น ส ต รี ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น ร อ ย เ อ็ ด วิ ท ย า ลั ย โ ร ง เ รี ย น ส ก ล ร า ช วิ ท ย า นุ กู ล โ ร ง เ รี ย น ธ า ตุ น า ร า ย ณ วิ ท ย า โ ร ง เ รี ย น อุ ด ร พิ ชั ย รั ก ษ พิ ท ย า โ ร ง เ รี ย น เ ต รี ย ม อุ ด ม ศึ ก ษ า ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ โ ร ง เ รี ย น อุ ด ร พิ ท ย า นุ กู ล โ ร ง เ รี ย น ส ต รี ร า ชิ นู ทิ ศ โ ร ง เ รี ย น ป ร ะ จั ก ษ ศิ ล ป า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ห น อ ง บั ว พิ ท ย า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ศ รี บุ ญ เ รื อ ง วิ ท ย า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ป ทุ ม เ ท พ วิ ท ย า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ชุ ม พ ล โ พ น พิ สั ย โ ร ง เ รี ย น เ ล ย พิ ท ย า ค ม โ ร ง เ รี ย น เ ล ย อ นุ กู ล วิ ท ย า โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯหนองบัวลําภู โรงเรียนศึกษาสงเคราะหธวัชบุรี โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยกาฬสินธุ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ ร อ ย เ อ็ ด แ ล ะ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ ส ก ล น ค ร โ ด ย ก า ร แ บ ง รู ป แ บ บ การนําเสนอโครงงานออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมนําเสนอแบบปากเปลา (Oral Presentation) และกลุมนําเสนอแบบโปสเตอร (Poster Presentation) ซ่ึงจําแนกสาขาโครงงานท้ังสองกลุม ออกเปนการนําเสนอแบบปากเปลาจํานวน 7 สาขา ไดแก 1) สาขาวิชาฟสิกส 2) สาขาวิชาเคมี 3) สาขาวิชาชีววิทยา 4) สาขาวิชาคณิตศาสตร 5) สาขาเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร 6) สาขา วิทยาศาสตรโลกและส่ิงแวดลอม 7) ประเภทการนําเสนอเปนภาษาอังกฤษ การนําเสนอแบบโปสเตอรจํานวน 6 สาขา ไดแก 1) สาขาวิชาฟสิกส 2) สาขาวิชาเคมี 3) สาขาวิชาชีววิทยา 4) สาขาวิชาคณิตศาสตร 5) สาขาเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร 6) สาขา วิทยาศาสตรโลกและสิ่งแวดลอม สําหรับเอกสารเลมน้ีเปนการรวบรวมบทคัดยอของโครงงานทั้งหมดในกลุมนําเสนอ แบบปากเปลา (Oral Presentation) และกลุมนําเสนอโปสเตอร(Poster Presentation) และรายละเอียดของการจัด กิจกรรมฯ ในคร้ังน้ี คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารฉบับบน้ีจะเปนประโยชนตอนักเรียน ครู คณะกรรมการตัดสินและผูเขารวม กิจกรรม และขอขอบพระคุณผเู กี่ยวขอ งทุกทา นที่ไดใหความรวมมือสนบั สนนุ การจัดกิจกรรมในคร้ังน้ี คณะผูจดั ทาํ 7 สิงหาคม 2562
สารบัญ หนา 1 นำเสนอแบบปากเปลา 2 O_EVI 01 การศกึ ษาความสามารถในการดดู ซบั ความชน้ื 3 O_EVI 02 การพัฒนาการข้ึนรปู เช้ือเพลงิ ใบออยอดั แทง ความทนทานสงู ดว ยวิธี Piston Press 4 5 Densification 6 O_EVI 03 จานยอ ยสลายไดจากเยอื่ ใบโพธ์ิสำหรับใสอ าหารแหง 7 O_EVI 04 อปุ กรณเ พิม่ ประสทิ ธิภาพในการใหความรอ นและลดการใชเชอื้ เพลงิ ของเตาถาน 8 O_EVI 05 ความสัมพันธค ุณภาพของนำ้ กับแพลงกตอนพืชในแมนำ้ โขงบริเวณทา ยเมืองนครพนม 9 O_EVI 06 การศกึ ษาความสัมพนั ธร ะหวางคา BOD (Biochemical Oxygen Demand)กับ 10 11 ปรมิ าณสารอนิ ทรียในน้ำทีไ่ ดจ ากการวัดดวยวธิ ี Loss-on-ignition 12 O_EVI 07 การฟน ฟสู ภาพหนาดนิ ในสวนยางพาราดว ยสารสกัดชวี ภาพ 13 O_EVI 08 นวัตกรรมอนุบาลไมม ะคาสาหรบั ปา เบญจพรรณในเขตพืน้ ทแี่ หง แลง 14 O_EVI 09 การศึกษาเสน ใยจากใบธปู ษี 15 O_EVI 10 ปจจยั ท่มี ผี ลตอ การแพรก ระจายของดินเค็มบรเิ วณลานเกลอื บา นเกา นอ ย หมทู ่ี 6 16 17 ตำบลไพศาล อำเภอธวชั บุรี จงั หวดั รอ ยเอ็ด 18 O_EVI 11 การศกึ ษาการดดู ซับน้ำมนั ทอดซ้ำของชั้นกรองจากผักตบชวา ธปู ษี และใยบวบ 19 O_EVI 12 ประสิทธิภาพของสารเมือกจากเมล็ดสำรองในการดดู ซบั ไอออนโลหะหนกั 20 O_EVI 13 การบำบดั นำ้ เสยี ดวยน้ำหมักจากรกหมู 21 นำเสนอแบบโปสเตอร 22 P_EVI 01 เช้ือเพลงิ ชวี มวลอัดแทง จากมูลสุกร 23 P_EVI 02 ถา นไบโออดั แทง ไรควนั จากวสั ดเุ หลอื ใชท างการเกษตร 24 P_EVI 03 การพฒั นาแผน กันกระแทกจากแปง มันสำปะหลังผสมเสนใยมะพราว 25 P_EVI 04 การศกึ ษาความสามารถในการดูดซบั น้ำมนั ของดอกธปู ษีเพ่อื พัฒนาเปน ระบบบำบัด 26 27 นำ้ เสยี ในครวั เรือน P_EVI 05 การตรวจสอบสารเจือปนในลุมน้ำมอ อำเภอศรบี ญุ เรอื่ ง จงั หวัดหนองบัวลำภู P_EVI 06 วัสดทุ ดแทนไมจ ากกระดาษรไี ซเคลิ ผสมนำ้ ยางพาราสด P_EVI 07 การศึกษาประสทิ ธภิ าพการทำงานของโซลารเ ซลล P_EVI 08 การศกึ ษาการยดื อายดุ อกไมใหส ดนานดว ยวสั ดธุ รรมชาติ P_EVI 09 การเปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพการดูดซับโลหะหนักในน้ำดว ยแทนนินเจลของสาร สกัดเเทนนินทีไ่ ดจ ากพืชวงศ Myrtaceae P_EVI 10 ศกึ ษาการเพาะเห็ดนางฟาภฐู านจากขเ้ี ล่อื ยไมไผ P_EVI 11 การผลิตเชอื้ เพลิงชีวมวลอัดแทง จากมูลสกุ ร โดยใชแ ปงมันสำปะหลังเปน ตัวประสาน P_EVI 12 การศกึ ษาการผลิตกระแสไฟฟฟาจากนาขาว P_EVI 13 เตาเผาขยะมูลฝอยลดแกส คารบ อนไดออกไซด P_EVI 14 การศกึ ษาสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดินทม่ี ผี ลในการทำครกหนิ แกรง
หนา 1 แผ่นดูดซบั ความช้นื และดูดซบั กลนิ่ เฉลมิ รฐั ณรงค์กจิ พาณิช¹, ร่มฟ้า นามวงค์¹, รังษยิ า ธนแสงสวา่ ง¹, ทศพร สวนแกว้ ² ¹นักเรียนโรงเรยี นปยิ ะมหาราชาลยั , E-mail:[email protected] ²โรงเรียนปยิ ะมหาราชาลัย บทคัดยอ่ คณะผ้จู ดั ทำมคี วำมสนใจในกำรกำจัดกลิ่นและควำมชน้ื จำกถงั ขยะ เพรำะเป็นปญั หำที่สำมำรถรบกวนจติ ใจผคู้ นได้ คณะผจู้ ดั ทำไดค้ ดิ คน้ โครงงำนเพือ่ ลดปัญหำกำรสง่ กลิ่นเหม็นของถงั ขยะ โดยใช้วัสดุจำกธรรมชำติท่สี ำมำรถนำกลบั มำใชซ้ ำ้ ได้ โดยกำรศึกษำควำมสำมำรถในกำรดูดซับควำมช้ืนและกำรดูดซับกลิ่น ของกำกชำ กำกกำแฟ และถ่ำน ซึ่งเป็นวัสดุจำก ธรรมชำติท่ีหำได้ง่ำยและเป็นวัสดุท่ีมีรูพรุน โดยนำกำกชำ กำกกำแฟ และถ่ำนมำศึกษำควำมสำมำรถในกำรดูดซับควำมช้ืน วธิ ีกำรคือตรวจสอบวัดค่ำน้ำหนักท่ีเพิ่มข้ึนของวัสดุน้ันเป็นน้ำหนักของน้ำที่วัสดุได้ดูดซับเข้ำมำเก็บสะสมไว้ท่ีรูพรุนของวัสดุ และตรวจสอบควำมสำมำรถในกำรดูดซับกล่ินดว้ ยวธิ ีกำรวิเครำะห์ขอ้ มูล โดยนำคะแนนทไ่ี ดจ้ ำกกลมุ่ ผู้ทดสอบท่ีได้มำทำกำร พสิ ูจน์ควำมเข้มขน้ ของกลน่ิ และกลุ่มผทู้ ดลองใช้แผน่ ดูดซับมำหำค่ำเฉลยี่ เลขคณติ (������) จำกกำรศึกษำแผน่ ดดู ซบั มปี ระสิทธใิ น กำรดูดซับควำมช้ืนและกลิ่นได้ดี ควำมชื้นและกลิ่นที่ดูดซับเข้ำไปนั้นจะสะสมอยู่ในรูพรุนของกำกชำ กำกกำแฟและถ่ำน ทำใหเ้ มื่อเวลำผำ่ นไปกำรดูดซับจงึ มแี นวโนม้ ลดลงและเมอื่ แผน่ ดดู ซับหมดประสทิ ธิภำพ สำมำรถนำแผ่นดูดซับกลับมำใช้ซ้ำได้ โดยกำรนำแผน่ ดูดซับไปตำกแดดหรอื ขจดั ควำมชื้นทีส่ ะสมอยูใ่ นรูพรนุ นัน้ ออกกอ่ น และเมอื่ แผ่นดดู ซับหมดอำยกุ ำรใชง้ ำนเรำ สำมำรถนำไปใสต่ น้ ไม้ได้เพรำะมนั สำมำรถย่อยสลำยตำมธรรมชำติและเป็นปุ๋ยสำหรบั ต้นไม้ คาสาคญั : แผน่ ดดู ซบั , ควำมชนื้ และกลิ่น
หนา 2 การพฒั นาการข้นึ รูปเชอ้ื เพลิงใบออ้ ยอดั แท่งความทนทานสงู ด้วยวธิ ี Piston Press Densification. ณัฐฑรกิ า พลหัวโทน1 และ อรศิ รา สงิ ห์ทอง1 ปองดี ไชยจนั ดา2 1 นกั เรียน โรงเรียนบรบือวิทยาคาร E-mail: [email protected] 2 โรงเรยี นบรบือวทิ ยาคาร บทคัดยอ่ โครงงานนศ้ี กึ ษาการขึ้นรปู วสั ดขุ ยะจากการเกษตรเปน็ เชือ้ เพลิงอดั แท่ง โดยเน้นศึกษาความทนทานสูงสุดของ เช้อื เพลงิ ใบออ้ ยอัดแทง่ ตัวแปรที่เลอื กเพือ่ นามาใชใ้ นการผลิตประกอบดว้ ย ค่าความชืน้ ตามมาตรฐาน ASTM E 871 (%), อัตราส่วนระหว่างตัวอยา่ งใบออ้ ยกับตัวประสาน, และ แรงอดั ของเคร่อื งอัดแทง่ . มขี อบเขตของแต่ละตัวแปรดังนี้ ค่าความชน้ื ตามมาตรฐาน ASTM E 871 ระยะเวลาตากแห้ง 1 สัปดาห์ และ 2 สัปดาห,์ อตั ราส่วนใบอ้อยต่อแป้งมนั สาปะหลงั 50:50, 60:40, 70:30, 80:20, 90:10, และ 100:0 (%wt), และ แรงอดั 10 kg/cm2 และ 40 kg/cm2. ดาเนนิ การทดลอง 1) คา่ ความชื้นตามมาตรฐาน ASTM E 871 (%) โดยนาเช้อื เพลิงไปตากแหง้ เป็นระยะเวลา 1 สปั ดาห์ และ 2 สัปดาห์ นาเชอื้ เพลิงทแ่ี หง้ ทง้ั 2 ระยะเวลา ไปบดแบบหยาบ และแบบละเอียด โดยเครอื่ งบดพืชอเนกประสงค์ นาเชือ้ เพลิงท่บี ดแล้ว ผสมกบั ตวั ประสานที่เตรยี มไวไ้ ปขน้ึ รูปด้วยเคร่อื งอัดไฮดรอลิคตามอตั ราส่วนท่กี าหนด, 2) อตั ราสว่ นระหวา่ งตวั อยา่ งใบออ้ ย กับตวั ประสาน โดยช่ังน้าหนกั แปง้ ตามอัตราสว่ น 50: 50, 60: 40, 70: 30, 80: 20, 90: 10, และ 100: 0 %wt ละลายแป้ง ในน้าเปล่า นาแปง้ ไปต้มจนเป็นเจลใส นาเจลใสทไี่ ด้ผสมกับใบอ้อยตามอัตราสว่ นทกี่ าหนด, และ 3) แรงอัดของเครื่องอัดแทง่ โดยนาใบออ้ ยทีผ่ สมกบั แปง้ มันสาปะหลงั แลว้ นามาชง่ั ตามอัตราส่วน 50: 50, 60: 40, 70: 30, 80: 20, 90: 10, และ 100: 0 %wt นาส่วนท่ชี ่ังใสล่ งไปในแมพ่ มิ พแ์ ทง่ อดั เพ่อื นาไปอดั ขนึ้ รปู ด้วยเครอ่ื งอดั ไฮดรอลคิ แล้วนาไปตากแดด 24 ชั่วโมง จากผลการทดลองพบว่า คา่ ความช้ืนตามมาตรฐาน ASTM E 871 คือ 2 สัปดาห,์ อตั ราส่วนทเี่ หมาะสม คอื 80:20, 90:10, และ 100:0 %wt ตามลาดับ, และ แรงอัดทีเ่ หมาะสม คือ 40 kg/cm2. นอกจากนี้ เชอ้ื เพลงิ ใบออ้ ยอัดแทง่ สามารถเกบ็ คงรูปไดน้ านโดยท่สี มบัติทางเช้อื เพลิงไม่เปลย่ี นแปลง จงึ เหมาะแก่ การขนสง่ ระยะไกลท่ตี ้องใชเ้ วลาหลายเดอื น คาสาคญั : ใบอ้อย, เชือ้ เพลงิ อดั แท่ง, การขึ้นรูปวสั ดุ
หนา 3 จานย่อยสลายได้จากเยื่อใบโพธ์ิสาหรับใสอ่ าหารแห้ง (Biodegradable Plates from Leaves Tissue for Dried Foods) กรี ตกิ า ทองสุขแกง้ 1, เกวลิน ศาสตราวาหะ1, ฉัตริยาพร สุนทรพิทกั ษ์1 วิชดา หงษจ์ ้อย2 1นักเรยี นโรงเรียนแก่นนครวทิ ยาลยั , E-mail : [email protected], 2โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย บทคัดย่อ ในปัจจุบัน มนุษย์โลกได้เผชิญกับปัญหาภาวะโลกร้อน ท่ีเกิดข้ึนจากพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ในชีวิตประจาวัน โดยปัญหาใหญ่ปัญหาหนึ่งคือการใช้ภาชนะที่ทาจากวัสดุท่ีไม่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ เช่น พลาสติกและโฟม ซ่ึง เป็นวัสดุที่ใช้เวลาย่อยสลายนานมากจนแทบจะพูดได้ว่าไม่สามารถยอ่ ยสลายได้ตามธรรมชาติ เม่อื วัสดุเหลา่ น้เี กิดการทับถม กันจนเกิดเป็นขยะพิษที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ หรือมีการกาจัดท่ีไม่ถูกวิธี ก็จะเป็นการเพ่ิมความรุนแรงของภาวะโลกร้อน ยงิ่ ข้ึน ดงั นั้น ทางคณะผจู้ ัดทาจงึ ได้เล็งเห็นถงึ ปญั หาของภาวะโลกร้อนและคณุ ประโยชนข์ องใบไม้ที่รว่ งลงจากตน้ โดยแทนที่ จะปล่อยให้กลายเป็นใบไม้แห้งและย่อยสลายไปเองตามธรรมชาติ ก็ได้นามาประยุกต์ให้เป็นจานใช้แล้วทิ้งจากเย่ือใบไม้ ซ่ึง สามารถใช้ใส่อาหารแห้งเพื่อรับประทานได้ ท้ังยังย่อยสลายได้เองในธรรมชาติและเป็นปุ๋ยให้กับดิน โดยทางคณะผู้จัดทาได้ เลือกใช้ใบโพธ์ิซ่ึงมีพ้นื ที่ใบมาก เป็นพืชใบเล้ียงคู่และหาได้ง่ายในชุมชน นามาทาใหเ้ ปน็ เยอ่ื เพ่ือใหย้ อ่ ยสลายได้ง่ายข้ึน และใช้ แป้งเปยี กทเ่ี ป็นวัสดุจากธรรมชาตใิ นการเป็นตวั ผสานระหว่างเย่อื ของใบโพธ์ิ โดยวิธกี ารเรมิ่ จาก นาใบโพธิ์มาทาความสะอาด นาไปต้มกับโซเดยี มไบคารบ์ อเนตใหเ้ ดอื ด แล้วนาใบโพธิ์มาขูดเน้ือออกให้เหลือแต่เยื่อบางๆ จากนนั้ นาไปตากให้แห้ง และนา เย่ือใบโพธ์ิวางลงบนถาดเปล่าให้เป็นแผ่น โดยเชื่อมกันด้วยกาวแป้งเปียก และนาไปอัดข้ึนรูปกับตัวแม่พิมพ์จาน และอบใน ตู้อบลมร้อนท่ีอุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส จากน้ันนาทดสอบประสิทธภิ าพโดยการนาไปวัดระยะเวลาในการย่อยสลายโดย การฝังกลบดิน และความสามารถในการรองรับน้าหนัก โดยพบว่า จานจากเย่ือใบโพธิ์สามารถย่อยสลายได้เองภายใน ระยะเวลา 45 วัน และสามารถรองรับน้าหนักได้สงู สดุ 500 กรัม จานจากเยอ่ื ใบโพธ์ิจงึ เป็นอีกทางเลอื กที่ดีอกี ทางหนึง่ ในการ เลือกใชบ้ รรจภุ ณั ฑใ์ นการลดการใช้พลาสติก เพื่อเปน็ การช่วยลดภาวะโลกรอ้ นและรักษาสิ่งแวดล้อม คาสาคญั : ภาวะโลกร้อน, วัสดทุ ไ่ี มส่ ามารถยอ่ ยสลายได,้ จานใช้แลว้ ทิง้ , แปง้ เปียก, เย่ือใบโพธิ์
หนา 4 อุปกรณ์เพ่ิมประสิทธภิ าพในการใหค้ วามรอ้ นและลดการใชเ้ ชื้อเพลงิ ของเตาถา่ น อภิสิทธ์ิ อดุ านนท¹์ , พัสกร จอมพรรษา¹, วรรณพร บญุ มาก¹, ศลิ ปกรณ์ จันทไชย² และ ทศพร สวนแกว้ ² ¹นกั เรยี นโรงเรียนปิยะมหาราชาลัย, E-mail:[email protected] ²โรงเรียนปยิ ะมหาราชาลยั บทคดั ยอ่ โครงงานวิทยาศาสตร์เร่ือง อุปกรณ์เพิ่มประสิทธิภาพในการให้ความร้อนและลดการใช้เชื้อเพลิงของเตาถ่าน มีวัตถุประสงค์เพ่ือออกแบบและสร้างอุปกรณ์เพ่ิมประสิทธิภาพในการให้ความร้อน และลดการใช้เชื้อเพลิงของเตาถ่านให้ เหมาะแก่การใช้งานไดจ้ รงิ และเพ่ือเปรียบเทยี บประสิทธิภาพในการให้ความร้อนของเตาชุด ก(เตาถ่านที่ติดตั้งอปุ กรณ์เพิ่ม ประสิทธิภาพ) เตาชุด ข(เตาถ่านธรรมดา) เพื่อเปรียบเทียบการใช้เชื้อเพลิงของ เตาชุด ก เตาชุด ข มีการทดลองโดย การต้มน้า เตาชุด ก ปริมาตรอากาศผ่านปากเตาน้อย เตาชุด ข ที่เป็นเตาถ่านธรรมดาอยู่ 0.001 - 0.008 m3/s อุณหภูมิ เหนือห้องเผาไหมข้ องเตาชุด ก ตลอดการทดลองเฉลี่ยแล้วมากกว่าเตาชุด ข อยู่ 139.22 - 198.87 องศาเซลเซียส จึงท้าให้ อุณหภูมิน้าโดยเฉลี่ยตลอดการทดลองของเตาชุด ก มากกว่า เตาชุด ข อยู่ 3.94 - 7.27 องศาเซลเซียส เม่ือพิจารณาความ ร้อนป้อนจากเช้ือเพลิงและความร้อนใช้งาน เพื่อหาประสทิ ธิภาพการให้ความร้อนของเตาแต่ละชุดออกมาจึงท้าให้ เตาชุด ก มีประสิทธภิ าพในการใหค้ วามร้อนมากกว่าเตาชุด ข อย่รู ้อยละ 0.7 - 6.4 หลังการทดลองในเวลาเท่ากัน เตาชดุ ก ใชถ้ า่ นใน การทดลองน้อยกว่าเตาชดุ ข อยู่ 0.018 - 0.042 กโิ ลกรัม อย่างไรกต็ ามจากการทดลองพบว่าอุณหภมู ิเหนือหอ้ งเผาไหม้ของ เตาชุด ก มากกว่าเตาชุด ข ร้อยละ 50.10 - 80.50 ซ่ึงเป็นส่วนส้าคัญที่ท้าให้เตาชุด ก มีการดึงความร้อนจากส่วนนี้ไปเป็น ความร้อนใช้งาน แต่ประสิทธิภาพของเตาชุด ก ดีกว่าเตาชุด ข ไม่มาก เพราะการที่ห้องเผาไหม้มีอุณหภูมิสูงท้าให้มีการ สญู เสยี ความรอ้ นออกไปนอกระบบมากกวา่ เตาชดุ ข คาสาคญั : เตาถ่าน, อุปกรณเ์ พม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
หนา 5 ความสมั พนั ธค์ ณุ ภาพของน้ากบั แพลงก์ตอนพชื ในแม่น้าโขงบริเวณทา้ ยเมืองนครพนม ธติ สิ ุดา พมิ ทอง1, ประภาศิริ ใจกลา้ 1, รงั สมิ า ทิพยส์ น1 ยทุ ธนา คะสุดใจ2และใยฟ้า หาญมนตรี2 1นกั เรียนโรงเรยี นนครพนมวิทยาคม,E-mail : [email protected] 2โรงเรยี นนครพนมวิทยาคม บทคัดย่อ โครงงาน เร่ือง ความสัมพันธ์คุณภาพของน้ากับแพลงก์ตอนพืชในแม่น้าโขงบริเวณท้ายเมืองนครพนม มีจุดประสงค์ เพ่ือศึกษาความสมั พันธร์ ะหว่างคุณภาพของนา้ ทิงกับคณุ ภาพของน้าโขงบรเิ วณทา้ ยเมืองนครพนมและชนิดของแพลงกต์ อนพืช ที่เหมาะสมต่อการเลียงสัตว์น้าในช่วงเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์การศึกษาคุณภาพของน้ามีความกระด้างของน้าทิงมีค่า อยู่ในช่วง 200.0 – 220.0 มิลลิกรัมต่อลิตรและความกระด้างของน้าในแม่น้าโขงบริเวณท้ายเมืองนครพนมมีค่าอยู่ในช่วง 150.0 – 200.0 มิลลิกรัมต่อลิตรอุณหภูมิของน้าทิงมีค่าที่อยใู่ นชว่ ง 27.1 – 29.3 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิของน้าในแม่น้า โขงบริเวณท้ายเมืองนครพนมมีค่าอยู่ในช่วง27.2 – 29.5 องศาเซลเซียสความเป็นกรด-ด่างของน้าทิงมีค่าอยู่ในช่วง 7.1-7.8 และความเป็นกรด-ด่างของน้าในแม่น้าโขงบรเิ วณท้ายเมืองนครพนมมีคา่ อย่ใู นช่วง 6.8 – 8.1 คา่ ออกซเิ จนท่ีละลายในน้าของ น้าทงิ มีคา่ อยู่ในช่วง 6.0 – 10.0 มิลลิกรัมต่อลติ รและค่าออกซเิ จนท่ลี ะลายในน้าของน้าในแม่น้าโขงบริเวณทา้ ยเมืองนครพนม มีค่าอยู่ในช่วง 7.3 – 10.1 มิลลิกรัมต่อลิตร ความเค็มของน้าทิงมีคา่ ร้อยละ 0.0 และความเค็มของน้าในแมน่ ้าโขงบริเวณท้าย เมืองนครพนมมีค่าร้อยละ 0.0 ปริมาณของแข็งทังหมดท่ีละลายน้าของน้าทิงมีค่าอยู่ในช่วง 228.0–249.0 มิลลิกรัมต่อลิตร และปรมิ าณของแขง็ ทังหมดทีล่ ะลายน้าของน้าในแม่น้าโขงบรเิ วณท้ายเมืองนครพนมมคี ่าอยู่ในชว่ ง 137.0 – 172.0 มิลลิกรัม ต่อลิตร ค่าความโปร่งแสงของน้าทิงมีค่าอยู่ในช่วง 12.0 – 13.0 เซนติเมตรและค่าความโปร่งแสงของน้าในแม่น้าโขงบริเวณ ท้ายเมืองนครพนมมีค่าอยู่ในช่วง 17.5 – 21.0 เซนติเมตรค่าการน้าไฟฟ้าของน้าทิงมีค่าอยู่ในช่วง 230.0 – 280.0 โมโครซี เมนส์ต่อเซนติเมตรและค่าการน้าไฟฟ้าของน้าในแม่น้าโขงบริเวณท้ายเมืองนครพนมมีค่าอยู่ในช่วง 140.0 – 240.0 โมโครซี เมนส์ต่อเซนติเมตรซ่ึงจากผลการทดลองพบว่าคุณภาพของน้าทิงมีความสอดคล้องกบั คุณภาพของน้าในแม่นา้ โขงบริเวณท้าย เมอื งนครพนม โดยมีการเปล่ียนแปลงตอ่ คา่ คุณภาพของน้าเพียงเลก็ น้อย เนือ่ งจากแมน่ ้าโขงไม่ได้เป็นน้านง่ิ มีการไหลเวียนของ นา้ อยตู่ ลอดเวลา โดยจัดเปน็ แหลง่ น้าประเภทที่ 2 ตามมาตรฐานคุณภาพในแหล่งน้าผวิ ดิน แสดงวา่ น้ามคี ุณภาพในระดับปาน กล าง ท้ าให้ ส าม ารถพ บ แพ ล งก์ต อน พื ช 8 ส กุล คื อ Aulacoseira sp. Actinastrum sp. Pediastrum sp. Peridinium sp. Pandorina sp. Coelastrum sp. Chaetoceros sp.และ Staurastrum sp.ซ่ึงเหมาะสมกับ การเพาะเลยี งสตั ว์นา้ เชน่ ปลาบึก ปลานลิ ปลาตะเพยี น เปน็ ต้น ค้าส้าคัญ : คณุ ภาพของน้า , แพลงก์ตอนพืช
หนา 6 การศกึ ษาความสมั พนั ธ/ระหวา2 งคา2 BOD (Biochemical Oxygen Demand) กบั ปริมาณสารอนิ ทรยี /ในนำ้ ทไ่ี ดUจากการวดั ดวU ยวิธี Loss-on-ignition นายภาณุ ทรงเลก็ สิงห/1 นางสาวภัทรศยา ทพิ วงศษ/ า1 เมฆา ดีสงคราม2 และ สกุ ัญญา วราพุฒ2 1 นกั เรียนโรงเรียนสกลราชวทิ ยานุกลู , E-mail : [email protected] 2 โรงเรยี นสกลราชวิทยานุกูล บทคดั ยอ2 ปRญหานำ้ เสยี เปVนหนึง่ ปRญหาตอZ ทรพั ยากรทใ่ี หญZของสง่ิ แวดล^อมและทส่ี ำคญั ทส่ี ุดของประเทศ การทจี่ ะบZงบอก คณุ ภาพของนำ้ เนZาเสียหรือไมZ มตี ัวแปรมากมายท่ใี ชว^ ดั บโี อดี (BOD) คอื ปรมิ าณออกซิเจนทจ่ี ลุ ินทรยี ใl ชใ^ นการยอZ ยสลาย สารอนิ ทรยี ใl นน้ำ คาZ บโี อดีจะบอกถงึ คณุ ลักษณะของนำ้ วZามีสารอินทรยี lปนอยูมZ ากนอ^ ย สามารถวัดได^โดยวธิ ี BOD5 ซึง่ เปVน วิธมี าตรฐาน เปนV การหาปริมาณสารอินทรยี lโดยทางออ^ ม ปรมิ าณสารอนิ ทรยี สl มารถบZงบอกถึงคณุ ภาพน้ำได^ วิธี BOD5 ใช^ เวลานานถงึ 5 วนั ดังน้ัน โครงงานนจี้ ึงตอ^ งการหาความสัมพันธขl องคาZ BOD กับวิธที างเลือกอ่ืนที่สามารถเกย่ี วข^องกันได^ วิธีใหมทZ สี่ ามารถใช^แทนวธิ ี BOD5 ได^ และใชเ^ วลาทนี่ อ^ ยกวZา ทางผ^พู ัฒนาโครงงานจึงนำวิธี Loss on ignition (LOI) มาหาคZา BOD โดยนำตัวอยZางนำ้ ระเหยเอานำ้ ออกจนเหลอื แตZของแขง็ และเผาที่อณุ หภมู ิสงู 360 องศาเซลเซยี ส ซ่ึงมวลท่หี ายไปคอื ปรมิ าณสารอินทรยี ใl นตัวอยZางทหี่ ายไปเปVนก{าซคารlบอนไดออกไซดl วธิ นี ใ้ี ช^เวลาแคปZ ระมาณ 10 ช่วั โมง และใช^เวลานอ^ ยกวZา วิธี BOD5 10 เทZา แลว^ นำคZาปรมิ าณสารอินทรยี ทl ไี่ ด^จากวธิ ี Loss on ignition กบั คZา BOD จากตวั อยาZ งเดยี วกันซงึ่ นำมาจาก น้ำเสียจากบอZ น้ำหลังโรงเรียนสกลราชวทิ ยานุกลู 7 ตัวอยZางมาเปรียบเทียบและสร^างความสัมพันธทl างคณติ ศาสตรl ผลปรากฎ วาZ ไดก^ ราฟตามสมการy= 0.3049x + 0.1611 เมื่อ x คอื คาZ BOD5 และ y คอื ปรมิ าณสารอนิ ทรยี l และ R2 = 0.8997 และสมการจะเปล่ยี นเปVน y = 0.4311x + 0.0463 เม่ือ x คือคาZ BOD5 และเมอ่ื คZา BOD และ LOI เพ่มิ ขึน้ จะเรม่ิ มีความ คลาดเคลอ่ื นเกดิ ขึน้ คำสำคญั : คาZ BOD , สารอินทรียใl นนำ้ , วิธกี าร Loss-on-ignition
หนา 7 การฟน้ื ฟูสภาพหน้าดนิ ในสวนยางพาราด้วยสารสกดั ชีวภาพ พันมณี ศรีภกั ดี1, วลิ าสินี ชินรกั ชาติ1, สภุ ัชชา แสงฤทธ์ิ1 กาญจนา ทองจบ2 และ เกศรนิ ทร์ ดแี สน2 1นกั เรียนโรงเรียนชมุ พลโพนพิสยั , E-mail [email protected] 2โรงเรียนชมุ พลโพนพสิ ยั บทคดั ยอ่ พชื จาพวก ย่านาง รางจดื เปลอื กมังคุด ซ่ึงเป็นพชื ที่มอี ยู่จานวนมาก และเปลือกไขไ่ ก่ ซ่ึงหาไดง้ ่ายตามท้องถ่ิน และยังมคี ณุ สมบตั ใิ นการดดู ซบั สารปนเป้ือน ซ่ึงอาจนามาแปรรูปและใชป้ ระโยชน์กับดนิ ในบริเวณสวนยางพาราท่มี สี ภาพ หน้าดนิ ท่ีมีความเปน็ กรดสูง จึงได้มีการจดั ทาโครงงานเรือ่ ง การฟน้ื ฟูสภาพหนา้ ดินในสวนยางพาราด้วยสารสกดั ชีวภาพ ซ่งึ มี วัตถุประสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาผลการเตมิ สารสกดั ชีวภาพต่อประสิทธิภาพการฟนื้ ฟูดนิ ปนเป้อื นกรดในสวนยางพาราและเพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ของลักษณะสมบัติจลุ ชวี วทิ ยาบางประการกับประสิทธิภาพการฟื้นฟูดนิ ปนเป้ือนนากรด ซึง่ ไดม้ กี ารแบง่ ออกเปน็ 3 ขันตอนการศกึ ษาคือ การเกบ็ รวบรวมดินจากสวนยางพาราแหลง่ ต่างๆ ในบรเิ วณอาเภอโพนพิสยั ทร่ี ะยะห่างจาก โคนตน้ ออกมา 20 และ 40 เซนติเมตร เพื่อนามาทดสอบหาคา่ pH และนาเอาสารสกัดชวี ภาพไปทดลองใช้กบั ดนิ ในบริเวณ นนั และการเปรยี บเทียบระหวา่ งสารสกัดชีวภาพกับปูนขาวทใ่ี ช้กันท่ัวไป โดยมีการทดสอบสภาพหน้าดนิ ด้วยค่า pH ผลทีไ่ ด้ จากการทดลอง พบวา่ ดินที่เก็บรวบรวมมาจากสวนยางพาราแหล่งท่ี 1 มีค่า pH เฉลีย่ อยู่ท่ี 3.75 และสวนยางพาราแหลง่ ท่ี 2 มีคา่ pH เฉลี่ยอยู่ท่ี 3.55 ซึง่ มคี วามเป็นกรดสูง โดยสารสกัดชีวภาพสามารถฟื้นฟสู ภาพหนา้ ดินบรเิ วณสวนยางพารานันได้ และสารสกัดชีวภาพมีคุณสมบัตคิ ล้ายคลึงกับปูนขาวที่ใช้กนั โดยท่ัวไปแตส่ ารสกดั จากชีวภาพสามารถฟ้ืนฟูสภาพหน้าดินหรือ ลดความเป็นกรดของดินใหเ้ หมาะสมแกย่ างพาราได้ดีกว่าปูนขาวโดยใช้ระเวลาที่สันกวา่ การใชป้ ูนขาวทใ่ี ช้กนั โดยท่วั ไปร้อยละ 72.83 ไปกบั สารลดปริมาณสารปนเป้ื อนในดินแบบน้าสามารถลดสารปนเป้ื อนในดินหรือความเป็ นกรดในบริเวณสวนยางไดม้ ากกว่าการใชป้ ูนขาว
หนา 8 นวัตกรรมอนุบาลไม้มะค่าสาหรับป่าเบญจพรรณในเขตพืน้ ที่แหง้ แล้ง จิราพร ขุมดินพิทกั ษ์1 ,วีรยทุ ธ ทองแดง2 1นักเรียนโรงเรยี นกลั ยาณวัตร, E-mail: [email protected] 2.1โรงเรยี นกลั ยาณวัตร บทคัดย่อ การศึกษาครงั้ นม้ี ีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื สรา้ งนวตั กรรมอนุบาลต้นมะคา่ สาหรบั ป่าเบญจพรรณในเขตพื้นทแ่ี ห้งแล้ง โดย 1) ศึกษาการงอกและการเร่งการงอก เพอื่ หาวิธีการท่จี ะทาให้เมลด็ มะค่างอกได้เร็วขนึ้ 2)ศกึ ษาวสั ดทุ ี่ใช้ทาฝาปิด เพ่ือหารปู ร่างที่ เหมาะสมของฝาปิดในการป้องกันการระเหยของน้าและน้าสามารถซึมผ่านเข้ามาได้ง่าย 3)ศึกษาวัสดุปลูกที่มีผลต่อการ เจริญเติบโต เพ่ือหาดินท่ีสามารถเพิ่มอัตราการงอก และการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะค่า 4) ศึกษาวัสดุดูดซับและกักเก็บ ความชื้น เพอ่ื หาวสั ดทุ ก่ี กั เก็บความช้ืนได้มากและคายนา้ นอ้ ยอีกท้ังสามารถย่อยสลายไดเ้ องตามธรรมชาติ เพอื่ นาวิธกี ารและ วัสดุต่างๆที่มีประสิทธิภาพมากท่ีสุดในแต่ละตอนมาเป็นส่วนประกอบของ นวัตกรรมจากนั้นหาประสิทธิภาพของนวัตก รรม อนุบาลต้นมะค่าโดยการปลูกเมล็ดมะค่าลงในนวัตกรรมเทียบกับการปลูกเมล็ดมะค่าลงในดินปนทรายเพื่อเปรียบเทียบกับ พืน้ ทแี่ หง้ แลง้ จากการศึกษาพบวา่ การเร่งการงอกโดยทาใหเ้ มล็ดเป็นแผล แช่นา้ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซยี ส ทง้ิ ไวจ้ นกระทงั่ เย็นลง เทา่ อุณหภูมหิ ้องมกี ารงอกสูงสุดคือ 100% และมีระยะเวลาเฉลยี่ ในการงอกคอื 3.4 วนั ฝาปิดแบบครึ่งวงกลมคว่าปอ้ งกันการ ระเหยของนา้ ไดส้ ูงสุดคอื 91.66% วสั ดุปลูกทม่ี อี ัตราส่วนของดินรว่ น : ดินทราย : แกลบเผา (1:1:1) เป็นอัตราส่วนที่สามารถ เพม่ิ การเจรญิ เติบโตของต้นมะคา่ ได้สูงสดุ วสั ดดุ ูดซับและกกั เกบ็ ความชื้นท่มี ีอตั ราสว่ นของผกั ตบชวา:ข้ีเถ้าแกลบ(1:1) ผสมกับ ดนิ เหนยี วมกี ารดูดซบั น้าได้สูงสุด 33.82% และมอี ตั ราการคายน้าต่าสุดคอื 93.03% และยอ่ ยสลายเพียง1.85% เมอ่ื ทดสอบ ประสทิ ธภิ าพนวัตกรรมอนุบาลต้นมะคา่ พบว่าตน้ กลา้ ท่ีปลูกโดยนวัตกรรมอนุบาลต้นมะค่ามอี ัตราการงอก อตั ราการรอดชีวิต และมกี ารเจรญิ เตบิ โตสูงกว่าต้นกลา้ ที่ไม่ไดใ้ ชน้ วัตกรรมในการเพาะปลูก คาสาคัญ: นวัตกรรมอนบุ าลไมม้ ะค่า, การงอก, อตั ราการรอดชีวิต, การเจรญิ เติบโต
หนา 9 การศกึ ษาเส้นใยจากใบธูปฤาษี นฐั วุฒิ แสนลาด1 , ชวาลโชติ สงิ หเ์ คา้ 1 , ปนัดดา ภูเฮอื งแก้ว1 อารีวรรณ ขตั ตยิ ะวงศ2์ , วีรานุช สายจนั ทร2์ 1นกั เรยี นโรงเรียนบรบือวทิ ยาคาร , E-mail [email protected] 2โรงเรียนบรบือวิทยาคาร บทคัดยอ่ ตน้ ธปู ฤาษเี ป็นวชั พชื ทีพ่ บมากในลุ่มแม่น้าสามารถพบได้ท่ัวภมู ิภาคของประเทศไทย การก้าจัดท้าไดโ้ ดยการ เผาและการใช้สารเคมซี ง่ึ กอ่ ให้เกดิ ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม เช่น การเกดิ ปฏกิ ิริยาแกส๊ เรอื นกระจก ดงั นนั โครงงานนีมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื การศึกษาคุณสมบตั ิทางกายภาพของใบธูปฤาษี ซง่ึ พบวา่ เส้นใยมคี ณุ ประโยชน์ สามารถนา้ ไปแปรรปู เป็นผลิตภณั ฑไ์ ด้ ซ่ึงแบ่งการทดลองได้ 3 ขนั ตอน คือ ขันตอนการผลติ เส้นใย ขนั ตอน การยอ้ มสี และขันตอนการทดสอบเสน้ ใยจากใบธูปฤาษี โดยมกี ารทดสอบแรงต้าน การย้อมติดสี และการดูด ซับนา้ ของเส้นใย ผลท่ไี ดจ้ ากการทดสอบพบว่าเสน้ ใยมีความทนทานตอ่ แรงตา้ นคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 0.4138% ผล ทไ่ี ด้จากการดดู ซบั น้ามีคา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 0.00236% ผลทไี่ ดจ้ ากการย้อมติดสขี องเสน้ ใยในการลา้ งดว้ ยน้าเปลา่ และผงซักฟอก พบว่าสที ยี่ ้อมตดิ มกี ารจางลงเพยี งแค่ครังแรกท่ซี ัก หลังจากนนั มีความสมดุลของสที ีต่ ดิ กับเสน้ ใย Keyword: แรงตา้ น , การย้อมตดิ สี , การดูดซับนา้
หนา 10
หนา 11 การศกึ ษาการดูดซับนา้ มันทอดซ้าของชันกรองจากผกั ตบชวา ธปู ฤาษี และใยบวบ ธิดารกั ษ์ วิแสง¹ , พนัสวรรณ บตุ ตะคาม¹ , อรณุ รตั น์ แห้วจนั ทา¹ วภิ าวรรณ ศรลี ะคร² ¹นกั เรียนโรงเรยี นบรบือวิทยาคาร, E-mail : [email protected] ²โรงเรียนบรบือวทิ ยาคาร บทคัดย่อ การกรองน้ามันทอดซา้ โดยทวั่ ไปจะใช้วธิ ีการปล่อยทิ้งไว้ใหเ้ ศษอาหารตกตะกอนแลว้ นา้ นา้ มนั ท่ีอยดู่ า้ นบนมาทอดซ้า แตว่ ธิ กี ารน้ยี งั ไมส่ ามารถกรองสารทเี่ ป็นอนั ตรายท่ีอยูใ่ นน้ามันทอดซา้ ได้ ดังน้นั โครงงานนจี้ งึ มวี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ ศกึ ษาอัตราสว่ นท่ี เหมาะสมในการดูดซับนา้ มนั ทอดซ้าและศึกษาเปรียบเทยี บประสทิ ธิภาพในการดดู ซับน้ามนั ทอดซ้าของชัน้ กรองจากผักตบชวา ธปู ฤาษี และใยบวบ มขี อบเขตแตล่ ะตัวแปร ดงั น้ี ระยะเวลาตากแหง้ 1 วนั ระยะเวลาอบแห้ง 5 ชว่ั โมง และ 1 ชวั่ โมง 30 นาที ทอี่ ุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส ส้าลมี วล 1.4 กรัม น้ามนั ทอดซ้าปรมิ าตร 100 mL แปง้ มนั ส้าปะหลัง 0.3 กรัม นา้ ปรมิ าตร 5 mL และ 10 mL มวลผักตบชวา ธูปฤาษี และใยบวบ 3 กรัม 4 กรัม และ 5 กรมั ดา้ เนินการทดลอง น้าผกั ตบชวา ธปู ฤาษี และใยบวบ มาฝานเปลือกออกและห่ันเป็นชิน้ เล็กๆ แลว้ ปนั่ ใหล้ ะเอียด นา้ ไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน จากนัน้ น้าไปอบแหง้ ทีค่ วามรอ้ น 150 องศาเซลเซียส เปน็ เวลา 5 ชัว่ โมง และป่นั ใหล้ ะเอยี ดอกี คร้ัง นา้ ผักตบชวา ธูปฤาษี และใยบวบไปผสมกบั ตวั ประสานท่ีเตรยี มไว้ ไปขึ้นรปู ท่อี ัตราสว่ น ดงั นี้ แป้งมนั สา้ ปะหลงั 0.3 กรัม น้าปรมิ าตร 5 mL อตั ราส่วนผกั ตบชวา ธูปฤาษี และใยบวบ 5:5:3, 3:4:5, 4:3:4 ตามล้าดบั แป้งมันสา้ ปะหลงั 0.3 กรมั นา้ ปริมาตร 10 mL อตั ราส่วนผกั ตบชวา ธูปฤาษี และใยบวบ 3:3:5, 4:4:3, 5:5:4 ตามลา้ ดบั นา้ ไปอบแหง้ เป็นเวลา 1 ช่ัวโมง 30 นาที ทอี่ ุณหภมู ิ 150 องศาเซลเซยี ส จากน้นั จึงทดสอบคุณสมบตั ิของน้ามนั ทอดซ้า ท่ีผา่ นการกรองจากชั้นกรอง จากการทดลองพบวา่ อตั ราส่วนทเี่ หมาะสมในการดดู ซับนา้ มันทอดซ้าไดด้ ีท่สี ดุ คอื 5:5:4 ซ่งึ มีปรมิ าณสารโพลารน์ ้อยกวา่ ร้อยละ 25 Keywords: นา้ มนั ทอดซ้า, ช้ันกรอง
หนา 12 ประสทิ ธิภาพของสารเมือกจากเมลด็ สำรองในการดดู ซบั ไอออนโลหะหนัก พฒั น์ยศ คำเจรญิ 1 , พัทธธ์ ีรา ศริ วิ งศไ์ พศาล1 , รสา แสงสายณั ห์1 กุลธิดา ทีนอ้ ย2 และ มิยาวดี หาโกสยี 2์ 1นักเรียนโรงเรยี นขอนแก่นวทิ ยายน, E-mail: [email protected] 2โรงเรียนขอนแกน่ วิทยายน บทคัดย่อ โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพสารเมือกจากเมล็ดสำรองในการดูดซับโลหะหนักและปรับปรุง โครงสร้างของสารเมือกจากเมล็ดสำรองโดยใช้กรดไฮโดรคลอริกและโซเดียมไฮดรอกไซด์เพื่อนำไปใช้ในการดูดซับโลหะหนัก ทั้งศึกษาสภาวะที่ดีที่สุดในการดูดซับโลหะหนัก ได้แก่ ค่าความเป็นกรด-เบสของสารละลาย และระยะเวลาที่สารเมือกสัมผัส สารละลาย จากการศึกษาเปอร์เซ็นต์การพองตัวของเมล็ดสำรอง ซึ่งได้จำแนกตามขนาด น้อยกว่า 17 มิลลิเมตร, ระหว่าง 17- 21 มิลลิเมตรและ มากกว่า 21 มิลลิเมตร พบว่า ทุกขนาดมีผลการพองตัวแตกต่างกันไป โดยขนาดเล็กจะพองตัวได้มากกว่า ขนาดอื่นในช่วงช่ัวโมงที่ 2 แล้วคงที่ในชั่วโมงที่ 3 ส่วนขนาดกลางจะพองตัวได้มากที่สุดตั้งแต่ชั่วโมงแรก และ มีแนวโน้มคงที่ในระยะต่อมา ส่วนขนาดใหญ่จะมีการพองตัวอย่างคงที่ในชั่วโมงแรกและชั่วโมงที่ 2 และพองตัวมากที่สุด ในชั่วโมงที่ 3 เมล็ดสำรองทุกขนาดจะสามารถพองตัวได้ถึง 1,000-1,500 เท่าจากน้ำหนักเดิม จากการศึกษาเปอร์เซ็นต์ การดูดซับน้ำของสารเมือกจากเมล็ดสำรอง พบว่าเมล็ดสำรองมีการดูดซับน้ำเพื่อพองตัว และจะมีเปอร์เซ็นต์เพิ่มขึ้นอย่าง แปรผันตรงกับเวลาที่แช่น้ำ ในการทดลองการดูดซับไอออนโลหะหนัก เจลของสารเมือกจากเมล็ดสำรองจะมีประสิทธิภาพ ในการดูดซับไอออนโลหะหนักแตกต่างกันไปตามตัวแปรที่กำหนด พบว่า สารละลายที่มีไอออน Cu2+ จะถูกดูดซับได้มากกว่า ไอออน Pb2+ การใช้วิธีกรองเป็นวิธีที่มีเปอร์เซ็นต์การดูดซับโลหะหนักสูงที่สุด และมีค่าแปรผันตรงตามน้ำหนักเจลที่ใช้ โดยจะมีค่าดูดซับไอออน Cu2+ และ Pb2+ ได้สูงสุดอยู่ที่เวลาการแช่เจลชั่วโมงที่ 3 และ 2 มีค่าเปอร์เซ็นต์การดูดซับเท่ากับ 42.3 ± 0.53 % และ 25.04 ± 0.36 % ตามลำดับ สามารถดูดซับได้ดีที่สุดในสภาวะสารละลายเป็นกลาง ซึ่งวิธีการกรอง จะมีประสิทธิภาพมากกว่าการใช้วิธีปั่นกวน วิธีนี้จะมีค่าเปอร์เซ็นต์การดูดซับโลหะหนักสูงสุด ณ ค่าเวลาปั่นกวนเวลาหนึ่ง โดย Cu2+ และ Pb2+ จะดูดซับได้สูงสุดอยู่ที่เวลาปั่นกวน 10 นาที และ 20 นาที มีค่าร้อยละการดูดซับเท่ากับ 41.32 ± 0.75 และ ร้อยละ 21.52 ± 1.7 ตามลำดับ เมื่อทำการปรับสภาพด้วย NaOH มีผลให้ประสิทธิภาพในการดูดซับดียิ่งขึ้น ส่วนการปรับสภาพด้วย HCl จะมีประสิทธิภาพค่อนข้างลดลงจากเดิม และรูปแบบการกรองจะมีค่าเปอร์เซ็นต์การดูดซับ สูงที่สุด โดยมีค่าเปอร์เซ็นต์การดูดซับสูงสุดคือการดูดซับไอออน Cu2+ ในสภาวะสารละลายที่เป็นกลางด้วยวิธีการกรอง โดยเจลทป่ี รับสภาพด้วย NaOH คำสำคญั : เมลด็ สำรอง, เปอรเ์ ซน็ ต์การพองตวั , เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารดูดซับโลหะหนกั
หนา 13 การบำบัดน้ำเสียด้วยน้ำหมกั จากรกหมู นางสาวพชั ราภา จำปาหอม!, นางสาวอริสรา บญุ ส่ง\", นางสาวพชั ราภา จนั ทะรตั น์# นางสาวสริ ิพร โสมา! 1นกั เรียนโรงเรียนอุดรพิชยั รักษ์พทิ ยา, E-mail : [email protected] 2โรงเรยี นอุดรพชิ ัยรักษ์พิทยา บทคัดยอ่ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของน้ำหมักที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียและเพื่อศึกษา คุณภาพของน้ำก่อนและหลังการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งแบ่งชุดการทดลองออกเป็น 4 ชุดการทดลอง โดยเก็บตัวอย่างน้ำจากคลอง หน้าโรงเรียนอุดรพิชัยรักษ์พิทยา จากนั้นนำน้ำหมักรกหมูเจือจาง 50% ที่เตรียมไว้ใส่ลงในน้ำตัวอย่าง ดังนี้ การทดลองที่ 1 เป็นชุดควบคุมไม่เติมน้ำหมักรกหมูเจือจาง 50% การทดลองที่ 2 เติมน้ำหมักรกหมูเจือจาง 50% 1 ml การทดลองที่ 3 เติม น้ำหมักรกหมูเจือจาง 50% 2 ml ท่ี 4 เตมิ นำ้ หมกั รกหมเู จอื จาง 50% 3 ml ทง้ิ ไวเ้ ปน็ ระยะเวลา 7 วันแต่ละชุดการทดลองจะ ถูกนำมาวิเคราะห์คุณภาพน้ำ โดยพารามิเตอร์ของคุณภาพน้ำที่ทำการศึกษา ได้แก่ ความเป็นกรด-ด่าง(pH) , ปริมาณ ออกซเิ จนทล่ี ะลายอยใู่ นน้ำ(DO) , คา่ ความโปร่งใสของนำ้ (Transparency) , ความต้องการออกซิเจนทางชีววทิ ยา(BOD) ผลการทดลองพบว่าสามารถใช้น้ำหมักรกหมูเจือจาง 50% ในการบำบัดน้ำเสียได้ดี ชุดการทดลองที่ 2 (น้ำหมักรก หมูเจือจาง 50% 1 ml) สามารถบำบดั นำ้ ได้ดที สี่ ดุ
หนา 14 เช้อื เพลิงชีวมวลอัดแท่งจากมลู สุกร อทิ ธพิ ล ประทุมชยั 1, สหภาพ เนื่องแก้ว1, สทิ ธิกร พมิ มะหา1, สกุ ัญญา แสนทวสี ุข2 1นกั เรียนโรงเรียนกลั ยาณวตั ร, E-mail: [email protected] 2โรงเรยี นกลั ยาณวตั ร บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยน้ีเป็นการศึกษาความเหมาะสมในการนำมูลสุกรมาผลิตเป็นเช้ือเพลิงชีวมวลด้วยการอัด ที่ไม่ผ่านกระบวนการเผา เพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน มีวิธีดำเนินการแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็น การศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อเพลิงชีวมวลอัดแท่งจากมูลสุกร 3 สูตร คือ มูลสุกรผสมแกลบอัตราส่วน 1:0, 1:0.4 และ 1:1 ตอนท่ี 2 เป็นการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเช้ือเพลิงชีวมวลอัดแท่งจากมูลสุกร ร่วมกับตัวประสานที่ต่างชนิดกัน โดยคัดเลือกจากชุดการทดลองในตอนที่ 1 จำนวน 1 ชุดท่ีมีความเหมาะสม เพื่อนำมาศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อเพลิงร่วมกับตัวประสาน 2 ชนิดคือ กากน้ำตาลและแป้งมันสำหลังใน อัตราส่วนที่แตกต่างกัน ผลการทดลองพบว่าเชื้อเพลิงชีวมวลจากมูลสุกรท่ีไม่ผสมแกลบ ให้ปริมาณความร้อน มากกว่ามูลสุกรผสมแกลบอัตราส่วน 1 : 0.4 แต่มีปริมาณความช้ืนมากกว่า ใช้ระยะเวลาในการจุดติดไฟนาน กว่า และมีระยะเวลาท่ีติดไฟน้อยกว่า ส่วนมูลสุกรผสมแกลบอัตราส่วน 1 : 1 ไม่สามารถขึ้นรูปได้ คณะผู้จัดทำ จึงเลือกใช้มูลสุกรผสมแกลบอัตราส่วน 1:0.4 มาผสมกับตัวประสาน แป้งมันและกากน้ำตาลในอัตราส่วน 1 : 0.25, 1 : 0.5, 1 : 0.75 และ 1 : 1 และนำมาศึกษาประสิทธิภาพโดยศึกษาจากค่าปริมาณความร้อน ค่า ปริมาณความชื้น ระยะเวลาที่ใช้ในการจุดติดไฟ และระยะเวลาท่ีติดไฟ พบว่าส่วนผสมระหว่าง มูลสุกรรวมกับ แกลบต่อกากน้ำตาล ในอัตราส่วน 1:1 ให้ปริมาณความร้อนสูงที่สุดคือ 128.72 กิโลจูล มีค่าปริมาณความชื้น 2.13% มีระยะเวลาที่ใช้ในการจุดติดไฟ 5 นาที และมีระยะเวลาที่ติดไฟนาน 25 นาที ดังน้ันส่วนผสมระหว่าง มูลสุกรรวมกับแกลบอัตราส่วน 1:0.4 ต่อกากน้ำตาล ในอัตราส่วน 1:1 จึงมีความเหมาะสมในการเป็นเชื้อเพลิง ชวี มวล
หนา 15 ถ่านไบโออัดแท่งไรค้ วันจากวสั ดุเหลอื ใช้ทางการเกษตร กันตภณ สสี า1, นิภาภรณ์ วงศ์อะคะ1, จิรชยา จาปาออ่ น1 ปิยะดา วังวร2, ฉลอง มหิวรรณ2 1นกั เรียนโรงเรยี นนครพนมวทิ ยาคม, E-mail:[email protected] 2โรงเรยี นนครพนมวทิ ยาคม บทคัดยอ่ โครงงานเร่ืองถ่านไบโออัดแท่งไร้ควันจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตถ่านไบโออัดแท่งไร้ควัน จากเปลือกข้าวโพด แกลบ และขี้เลื่อย พร้อมทั้งศึกษาผลของอัตราส่วนผสมในปริมาณที่แตกต่างกันและเปรียบเทียบ พลังงานความร้อนและระยะเวลาในการใชง้ านของถ่านไบโออัดแทง่ ไรค้ วันกับถา่ นไม้ท่วั ไป โดยการนาเปลือกขา้ วโพด แกลบ และ ขี้เล่ือย ไปตากให้แห้งสนิท จากนั้นนาไปเผาที่อุณหภูมิ 300–400 องศาเซลเซียส จะได้ข้ีเถ้าสีดา จากน้ัน การขึ้นรูป ถ่านไบโออัดแทง่ ไร้ควันที่มีอตั ราส่วนของสว่ นผสมแตกตา่ งกัน โดยการใชแ้ ปง้ ขา้ วโพดท่ีมีอตั ราส่วนต่างกัน คอื ร้อยละ 8 10 และ 12 โดยมวลต่อปริมาตรของน้า มีขัน้ ตอน โดยนาขี้เถ้าจากเปลือกข้าวโพด 500 กรัม ผสมกับน้า 500 มิลลิลิตร ท่ีมีแป้ง ผสมอยู่ปริมาณร้อยละ 8 10 และ 12 โดยมวลต่อปริมาตร คนให้ส่วนผสมทั้งหมดเข้ากันและนาไปขึ้นรูป โดยการอัดเป็น แท่งทรงกระบอกตันที่มีพ้ืนท่ีหน้าตัด 9.62 ตารางเซนติเมตร และสูง 6 เซนติเมตร นาถ่านไบโออัดแท่งไร้ควันจาก เปลือกข้าวโพด แกลบ และขี้เลื่อยไปทดสอบหาพลังงานความร้อนโดยใช้เครื่อง Data logger และหัววัดอุณหภูมิ และหา ระยะเวลาการใช้งานเปรียบเทียบกับถ่านไม้ท่ัวไป พบว่าถ่านไบโออัดแท่งไร้ควันจากแกลบ ท่ีมีอัตราส่วนของ แป้งข้าวโพด ร้อยละ 8 10 และ 12 โดยมวลปริมาตร ให้พลังงานความร้อนมากกว่าถ่านไบโออัดแท่งไร้ควันจากเปลือกข้าวโพด ขี้เลื่อย และถา่ นไมท้ ัว่ ไปตามลาดบั และยังมีระยะเวลาการใชง้ านท่ีนานทสี่ ุด คาสาคญั : ถา่ นไบโออดั แท่งไรค้ วัน, วสั ดุเหลือใช้ทางการเกษตร
หนา 16 การพฒั นาแผ่นกนั กระแทกจากแปง้ มันสาปะหลงั ผสมเส้นใยมะพร้าว สุธาสินี กาศลนุ ¹, ศุภสิ รา วาสสี¹, พงศธร รุ่งโรจนท์ วกี ุล¹, ศลิ ปกรณ์ จันทไชย² ¹นกั เรียนโรงเรียนปิยะมหาราชาลยั , E-mail:[email protected] ²โรงเรยี นปิยะมหาราชาลัย บทคดั ยอ่ จากการสารวจพฤติกรรมการออกกาลังกายของประชากรของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ พบวา่ จานวนประชากรท่ีเล่น กีฬาหรือออกกาลังกายเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ ซ่ึงบางครั้งส่ิงท่ีตามมาคืออุบัติเหตุท่ีเกิดจากการเล่นกีฬา ทางคณะผู้จัดทาจึงเห็น ความสาคัญของอาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา และสาหรับบางราย อาการบาดเจ็บน้ีได้ส่งผลเรื้อรังทาให้เป็นอุปสรรคต่อ การดาเนินชีวิตประจาวันเป็นอย่างมาก และอุปกรณ์ป้องกันอาการบาดเจ็บนั้นมีราคาค่อนข้างสูง และในปัจจุบันวัสดุทาง ธรรมชาติมีจานวนมากและไม่ได้ถูกนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเท่าที่ควร ทางคณะผู้จัดทาจึงสนใจท่ีจะนาวัสดุทาง ธรรมชาติท่ีหาได้ง่ายอาทิเช่น ใยมะพร้าว แป้งมันสาปะหลัง และน้ายางพารามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการ นามาทาเป็นแผน่ กนั กระแทกสาหรับปอ้ งกนั อาการบาดเจบ็ จากการเลน่ กีฬาเพื่อลดตน้ ทุนในการผลิต คณะผู้จัดทาสนใจเก่ียวกับการพัฒนาแผ่นกนั กระแทกจากแปง้ มนั สาปะหลังผสมเส้นใยมะพร้าว มีวัตถุประสงค์เพื่อ ปรับปรุงคุณสมบัติของแผ่นกันกระแทกแป้งให้ดีขี้นและลดต้นทุน เมื่อนาแผ่นกันกระแทกท่ีผลิตได้ไปทดสอบคุณสมบัติทาง กายภาพ พบว่า เม่ืออัตราส่วนของเส้นใยมะพร้าวเชิงเคมีเพิ่มข้ึน ความหนาแน่นของแผ่นกันกระแทกจะเพิ่มข้ึนด้วย แต่การ ดูดน้าและการซับน้าลดลง คุณสมบัติทางกลพบว่า ความแข็งแรงดัดโค้ง ความเค้นแรงดัดเพ่ิมขึ้น และความเครียดแรงดัด ลดลง และเมื่อเติมนา้ ยางพาราในอตั ราสว่ นต่าง ๆ จะให้ผลคุณสมบัตทิ างกายภาพทานองเดียวกับเม่ือเตมิ เส้นใยมะพร้าวเชงิ เคมี คุณสมบัติทางกลพบว่า เมื่อเติมน้ายางพาราจนทาให้มีแผ่นกันกระแทกความแข็งแรงดัดและความเค้นแรงดัดสูงข้ึน แต่ความเครียดแรงดัดลดลง และเม่ือนาแผ่นกันกระแทกไปศึกษาลักษณะที่ปรากฏ พบว่าเม่ือปริมาณเส้นใยมะพร้าวเชงิ เคมี และน้ายางพาราเพิ่มขึ้น ฟองอากาศบนผิวหน้าของแผน่ กันกระแทกกจ็ ะลดลง คาสาคญั : แผน่ กนั กระแทก, ใยมะพร้าว, นา้ ยางพารา, การยอ่ ยสลายทางชวี ภาพ
หนา 17 การศึกษาความสามารถในการดดู ซับน้ำมันของดอกธปู :ษี เพอ่ื พัฒนาเปนB ระบบบำบดั น้ำเสียในครวั เรอื น ศตพร เหมะธุลนิ 1 , อภิสรา ศรพี รหมษา1 , อุMมศริ ิ ศรีมาชัย1 เมฆา ดสี งคราม2 และ ชลฤชา คะสาราช2 1 นักเรียนโรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล, E-mail : [email protected] 2 โรงเรียนสกลราชวิทยานกุ ูล บทคัดยอP โครงงานวทิ ยาศาสตรนQ ้ี มวี ตั ถปุ ระสงคQเพอ่ื เพอ่ื ศกึ ษาความสามารถของดอกธปู ]ษใี นการดูดซบั น้ำมันแลวb นำมา ออกแบบระบบบำบดั น้ำเสียในรปู แบบถังดกั ไขมันที่สามารถรวมดักไขมนั และประเมินประสิทธภิ าพ ของระบบบำบัดนำ้ เสยี ทอ่ี อกแบบ โดยการศึกษานำ้ เสียกอe นและหลังการบำบดั จากถังดักไขมนั โดยการดดู ซบั ดbวยดอกธปู ]ษี หาประสทิ ธภิ าพของถงั ดักไขมันโดย การดูดซับดbวยดอกธปู ]ษี ผลการศกึ ษาพบวาe ความสามารถของดอกธูป]ษีในการดดู ซับนำ้ มนั มคี าe เฉลีย่ เปjน 13.18 กรัม การออกแบบระบบบำบดั น้ำเสยี ขนาดของถังดักไขมนั กวbาง x ยาว x สงู เปjน 30 x 15 x 25.3 เซนติเมตร และปริมาณ ของดอกธูป]ษที ่ใี ชb ในการดูดซบั เปนj 0.607 กโิ ลกรัม และจากการเกบ็ ตัวอยาe งน้ำเสียหลงั การบำบัดจากถังดัก ไขมันโดยการดูดซับดbวยดอกธปู ]ษี ตามมาตรฐานนำ้ ทงิ้ จากอาคารประเภท จ. คeาความเปjนกรด - ดาe ง มีคาe ตามมาตรฐาน นำ้ ท้ิง จากอาคารประเภท จ. มีคาe ความเปjนกรด - ดาe ง ไมeเกิน 5 – 9 กอe นการบำบัดเฉลี่ย 5.51 หลังการ บำบดั เฉล่ยี 6.58 ผeานเกณฑQ มาตรฐานกำหนด คeาบโี อดี ตามมาตรฐานน้ำท้งิ จากอาคารประเภท จ. มี คาe ไมeเกิน 200 มลิ ลกิ รัมตอe ลิตร กอe นการ บำบดั เฉล่ีย 383.20 มิลลิกรัมตeอลิตร หลงั การบำบดั เฉลยี่ 145.20 มิลลิกรัมตอe ลิตร ผาe นเกณฑQมาตรฐานกำหนด คeาของแข็ง แขวนลอย ตามมาตรฐานนำ้ ทง้ิ จากอาคารประเภท จ. มีคeาไมเe กิน 60 มลิ ลกิ รมั ตeอลิตร กอe นการบำบดั เฉล่ีย 98.80 มิลลกิ รัมตอe ลติ ร หลงั การบำบัดเฉล่ีย 34.00 มลิ ลกิ รัม ตอe ลติ ร ผeานเกณฑมQ าตรฐานกำหนด คeาน้ำมันและไขมัน ตาม มาตรฐานนำ้ ท้งิ จากอาคารประเภท จ. มคี eาไมเe กนิ 100 มิลลกิ รัม ตอe ลติ ร กeอนการบำบัดเฉลีย่ 111.40 มิลลกิ รมั ตeอลติ รหลัง การบำบัดเฉลี่ย 10.78 มลิ ลกิ รัมตeอลิตร ผeานเกณฑQมาตรฐานกำหนด ดอกธปู ]ษีมคี วามสามารถในการดดู ซบั นำ้ มันและมปี ระสทิ ธภิ าพในการบำบดั น้ำเสยี ผาe นเกณฑมQ าตรฐานกำหนด เปนj แนวทางในการนำดอกดอกธปู ]ษมี าใชปb ระโยชนอQ ีกแนวทางหน่ึง คำสำคญั : ความสามารถในการดดู ซบั นำ้ มนั , ดอกธปู ]ษี , ระบบบำบดั นำ้ เสยี
หนา 18 การตรวจสอบหาสารเจอื ปนในลมุ่ นา้ มอ อ้าเภอศรบี ญุ เรอื ง จังหวดั หนองบัวลา้ ภู อรณุ ี ปจั ฉมิ 1, พยิ ดา คา้ บตุ ร1, สธุ านาฏ วรอนิ ทร1์ เจรญิ พฤกษชาต2ิ และ กติ นรุ ัตน์ พฤกษชาติ2 1นักเรียนโรงเรียนศรีบญุ เรืองวทิ ยาคาร, E-mail: [email protected] 2โรงเรียนศรีบุญเรืองวทิ ยาคาร บทคดั ย่อ งานวิจัยเรื่องการตรวจสอบคุณภาพน้า ในอ้าเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล้าภู มีวัตถุประสงค์ เพื่อส้ารวจ ตรวจสอบคณุ ภาพของนา้ กอ่ นน้ามาอุปโภค ภายในอา้ เภอศรีบญุ เรอื ง จงั หวดั หนองบัวลา้ ภู และเสนอแนวทางการด้าเนินงาน ในการจดั การทรัพยากรน้าเพอื่ การอปุ โภค งานวิจัยนีท้าการศึกษาในอ้าเภอศรีบุญเรือง ในแม่น้ามอขนาดใหญ่จ้านวน 10 จุด ท้าการเกบ็ ตวั อยา่ งในช่วงฤดฝู น ในวันที่ 27-28 มถิ นุ ายน 2562 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้าด้านกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิของน้า กรด-ด่าง พบว่าค่าเฉล่ียอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพนา้ ผวิ ดินประเภทที่ 3 ของกรมควบคมุ มลพษิ สว่ นความข่นุ ของนา้ และปรมิ าณของแขง็ ท่ีละลายน้าทังหมด มีค่าไม่สูง แต่ไม่สามารถเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานได้ เนื่องจากไม่มีการก้าหนดค่ามาตรฐานคุณภาพน้าด้านเคมี ได้แก่ ค่าออกซิเจนท่ี ละลายน้า ค่าบีโอดี และค่าไนโตรเจน ในรูปไนไตรต์ พบว่าค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าผิวดินประเภทที่ 3 ของ กรมควบคมุ มลพษิ กา้ หนด ส่วนเหลก็ และปรอท ไม่พบในแหลง่ น้า ข้อเสนอแนะแนวทางในการจัดการทรัพยากรน้า เพื่อการอุปโภคจากการสัมภาษณ์ประชาชนในพืนที่อ้าเภอ ศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล้าภู ที่อยู่ใกล้แม่น้าท่ีเป็นจุดเก็บตัวอย่าง และผลจากการประชุมหารือแนวทางการจัดการ คุณภาพน้า สรปุ ได้ว่าน่าจะจดั ให้มโี ครงการอนรุ ักษ์คคู ลองโดยให้ เทศบาล หรือ องค์การบริหารส่วนตา้ บล เป็นคนด้าเนินการ และมีประชาชนในพืนที่มีส่วนร่วมในการด้าเนินการ และหามาตรการในการลดการปล่อยน้าเสียจากแหล่งก้าเนิดลงสู่คลอง เช่น จดั ให้มถี งั ดักไขมัน เป็นต้น คา้ สา้ คญั : สารเจอื ปนในลุ่มนา้ มอ
หนา 19 วสั ดุทดแทนไมจ้ ากกระดาษรีไซเคิลผสมนา้ ยางพาราสด Plywood Made from Recycled Paper and Natural Rubber รชั นกี ร น้อยคา้ ลี1, ปิยะพร นามมุงคุณ1, พิชชาพร วรโยธา1, อรพรรณ ไวแพน2, วชิ ชุดา ภาโสม3 และ สนั ติ ผวิ ผ่อง3 1นักเรยี นโรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา, [email protected] 2โรงเรียนธาตุนารายณ์วทิ ยา, 3มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร บทคัดยอ่ โครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ืองวัสดุทดแทนไม้จากกระดาษรีไซเคิลผสมน้ายางพาราสด มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษา อัตราสว่ นผสมของกรดฟอร์มกิ นา้ และน้ายางพาราสดท่ีเหมาะสมในการขึนรูปวัสดุทดแทนไม้และ 2) ทดสอบคณุ สมบัติทาง กายภาพและคุณสมบัติทางกลของวัสดุทดแทนไม้จากกระดาษรีไซเคิลผสมน้ายางพาราสด (Plywood Made from Recycled Paper and Natural Rubber) เพื่อเป็นวัสดุที่สามารถใช้ทดแทนไม้ได้ โดยใช้น้ายางพาราสดที่ได้จากต้นยาง โดยตรงและไม่ผา่ นการเตมิ สารเคมกี อ่ นการทา้ การทดลอง จากการศึกษาอตั ราส่วนของกรดฟอรม์ กิ ต่อนา้ ในอัตราส่วนร้อยละ 1:1, 2:3 และ 1:4 สามารถขึนรูปวัสดุตัวอย่างได้ ซึ่งการเพิ่มของปริมาณน้ายางพาราสดจะท้าให้การกระจายตัวของน้ายาง แทรกผ่านกระดาษมากย่ิงขึน ส่งผลให้ผิวของวัสดุมีผิวหน้าเรียบ จากนันหาทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ ได้แก่ ค่าความ หนาแนน่ ร้อยละค่าความชนื รอ้ ยละการดดู ซมึ น้าโดยปรมิ าตร ความแข็งแรง การกนั ความร้อน รวมทังทดสอบคุณสมบัติทาง กล ได้แก่ ความเครียด มอดูลัสความยืดหยุ่น และร้อยละการยืดตัว ผลการทดลองพบว่า โดยรวมความหนาแน่นของวัสดุ ทดแทนไม้ค่าท่ีได้ คือ 720-790 kg/m3 อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานความหนาแน่นของไม้อัดชินเฉลี่ยอยู่ในช่วง 400-800 kg/m3 อตั ราร้อยละค่าความชืนอยใู่ นชว่ ง 6.74-9.10 อัตราการดูดซึมน้าโดยปริมาตรอย่ใู นเกณฑ์มาตรฐานรอ้ ยละของการดูดซมึ น้า อยใู่ นช่วง 21-45 ซง่ึ เกณฑ์มาตรฐานของ มอก. 178-2538 การดูดซมึ น้าร้อยละไมเ่ กิน 60:4 hr การทดสอบความแข็งแรงโดย การปล่อยวัสดุในระดับความสูง 4.40 m, 7.85 m และ 11.40 m วัสดุมีความสามารถในการทนแรงกระแทกได้ดี อุณหภูมิ เฉลี่ยของการกนั ความร้อนของวัสดุตวั อยา่ ง คือ 36.10℃ ค่ามอดูลสั ความยดื หย่นุ ตวั อยา่ งท่ี 1415 มีคา่ มากทสี่ ุด และค่าร้อย ละการยืดตัวอยู่ที่ 33 แสดงให้เห็นว่าเป็นชินงานท่ีทนต่อแรงที่กระท้าได้มากและเปลี่ยนแปลงรูปร่างน้อยสุด เหมาะแก่การ นา้ ไปเปน็ สตู รตน้ แบบวสั ดุทดแทนไมจ้ ากกระดาษรีไซเคลิ ผสมน้ายางพาราสด ที่จะน้าไปพัฒนาต่อเป็นเฟอรน์ เิ จอรต์ า่ ง ๆ ได้ คา้ สา้ คัญ : กระดาษทใ่ี ชแ้ ลว้ นา้ ยางพาราสด วัสดทุ ดแทนไม้
หนา 20 การศึกษาประสิทธภิ าพการทางานของโซลาเซลล์ พลเพชร สพุ ร¹, พนติ นันท์ พนมวฒั นศักด์ิ¹, พชั รา สาระโพธ์ิ¹, ทศพร สวนแกว้ ² ¹นักเรียนโรงเรียนปิยะมหาราชาลยั , E-mail:[email protected] ²โรงเรยี นปยิ ะมหาราชาลยั บทคดั ย่อ แหลง่ พลังงานท่ีเราคนุ้ เคยกันดีในปัจจุบันก็คือ พลังงานจากเชอื้ เพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหิน นา้ มันดบิ ก๊าซธรรมชาติ ซ่ึงเป็นแหล่งพลังงานส้ินเปลือง โดยพลังงานจากถ่านหินและน้ามันดิบก็ยังก่อให้เกิดก๊าซท่ีเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมเป็น สาเหตุของปรากฏการณเ์ รอื นกระจกดว้ ย นอกจากนี้ยังมีพลงั งานหมุนเวียนคอื แหลง่ พลงั งานทไี่ ด้จากธรรมชาติรอบตวั เราหา มาใช้ได้ไม่มีวันหมด ซ่ึงสามารถสร้างทดแทนได้ในช่วงเวลาสั้น ๆ โดยธรรมชาติหลังจากมีการใช้ไป จึงมีหลายช่ือท่ีใช้เรียก พลังงานทดแทนและพลงั งานใชไ้ ม่หมด รวมถงึ พลังงานสะอาดและพลงั งานสีเขียว เน่อื งจากไม่ทา้ ใหเ้ กิดมลพิษตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม เช่น พลังงานลม พลังงานน้า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้าข้ึนน้าลง พลังงานคลื่น พลังงานความร้อนใต้พิภพ เช้ือเพลิง ชีวภาพ พลังงานน้ามันดิบ น้ามันปาล์ม พลังงานน้ามันพืช โดยพลังงานแสงอาทิตย์สามารถเปล่ียนรูปเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ โดยการใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ซ่ึงเป็นอุปกรณ์ที่ท้าการเปล่ียนจากพลังงานแสงอาทิตย์เป็น พลังงานไฟฟ้า ประเทศไทยไม่สามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้งานภายในประเทศได้อย่างเพียงพอ จึงได้น้าเข้าไฟฟ้าจากประเทศ เพื่อนบ้านในปริมาณมาก และมีค่าใช้จ่ายท่ีสูง เมื่อ พ.ศ.2526 จึงได้มีการน้าเอาแผงโซลาร์เซลล์มาติดตั้งภายในประเทศ เพ่ือผลิตกระแสไฟฟา้ ใชภ้ ายในประเทศ เปน็ การลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการนา้ เข้าไฟฟ้าจากประเทศเพอื่ นบ้าน ทางคณะผูจ้ ดั ท้าสนใจ ศึกษาเก่ยี วกบั ประสทิ ธิภาพการทา้ งานของแผงโซลารเ์ ซลลท์ ีท่ างโรงเรียนปิยะมหาราชาลยั ได้นา้ มาตดิ ตง้ั ภายในโรงเรยี นตง้ั แต่ เดือนมีนาคมท่ีผ่านมา จากการศึกษาจากแอพพลิเคชั่น Smartclient พบว่า แผงโซลาร์เซลล์สามารถผลิตไฟฟ้าได้เฉลี่ย เดือนละ 21.625 MWh และข้อมูลสาธารณูปโภคของโรงเรียนประหยัดค่าไฟฟ้าของโรงเรียนได้เฉล่ียเดือนละ 73,387 บาท ซ่ึงเม่ือเทียบกับต้นทุนแล้วต้องใช้ระยะเวลาประมาณ 11 ปี 1 เดือน จึงจะคุ้มทุน ซ่ึงโซลาร์เซลล์มีอายุเฉลี่ยประมาณ 20 ปี หลังจากคณะผู้จัดทา้ ได้ท้าการศกึ ษาประสิทธิภาพของโซลาร์เซลลท์ ้าใหท้ ราบถงึ ความสามารถในการผลติ กระแสไฟฟ้าสา้ หรบั ใช้งานภายในโรงเรยี นแทนการใชง้ านไฟฟ้าปกตจิ ากการไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย คาสาคัญ: แผงโซลาร์เซลล์
หนา 21 วิจัยเรอื่ ง การศึกษาการยดื อายุดอกไมใ้ หส้ ดนานดว้ ยวสั ดุธรรมชาติ ช่อื คณะผจู้ ัดทำ นายโยธนิ ภาวะนชิ ครูทีป่ รกึ ษา นายธรี เชษฐ์ โจมคำ สถานศึกษา นางสาวณัชกานต์ ทองขนั ปกี ารศกึ ษา นางยุวรรณ สาขา นายไกรลาศ วงคอ์ นิ อยู่ โรงเรยี นเฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภูมพิ ลอดลุ ยเดชฯ ทรงครองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 50 ปี จังหวัดสกลนคร 2562 บทคดั ยอ่ โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การศึกษาการยืดอายุดอกไม้ให้สดนานด้วยวัสดุธรรมชาติ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการดูดซับน้ำของโอเอซิสจากขุยมะพร้าว และขี้เลื่อยโอเอซิสขุยมะพร้าวมี ประสิทธิภาพในการดูดซับน้ำมากกว่าโอเอซิสขี้เลื่อย (2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการถนอมความสดของดอกไม้ของ โอเอซิสจากขุยมะพร้าว และขี้เลื่อย ที่มีอัตราส่วนแตกต่างกัน พบว่าอัตราส่วนที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด คือ ขุยมะพร้าว และขี้เลื่อย 60 กรัม ต่อกาวแป้งเปียก 200 กรัม (3) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติกับ โอเอซิสที่จำหน่ายตามท้องตลาด พบว่าโอเอซิสจากขุยมะพร้าว มีความสามารถในการถนอมความสดของดอกไม้ ใกล้เคียงกับโอเอซิสที่จำหน่ายตามท้องตลาด (4) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติ ผสมกลูโคสและน้ำตาลทรายขาว กับโอเอซิสที่จำหน่ายตามท้องตลาด พบว่าโอเอซิสขุยมะพร้าวที่ใส่กลูโคสมี ประสิทธิภาพในการถนอมความสดของดอกไม้ใกล้เคียงกับโอเอซิสที่จำหน่ายตามท้องตลาด มีต้นทุนในการผลิตต่ำกว่า และย่อยสลายไดง้ ่าย
หนา 22 การเปรียบเทยี บประสทิ ธิภาพการดูดซับโลหะหนกั ในนำ้ ดว้ ยแทนนินเจล ของสารสกัดเเทนนนิ ทีไ่ ดจ้ ากพืชวงศ์ Myrtaceae นิพฐิ พนธ์ ภมู ิลา1, ปณต วงศว์ ฒั นาเสถียร1, ภัทรนนั ท์ ภทั รบญั ชา1 กุลธดิ า ทีน้อย2, อารศิ รา อรรคษร2 1นกั เรียนโรงเรียนขอนแก่นวทิ ยายน, E-mail [email protected] 2โรงเรยี นขอนแกน่ วทิ ยายน บทคัดย่อ จากการเปรียบเทียบปริมาณแทนนินที่สกัดได้จากพืชวงศ์ Myrtaceae เมื่อใช้ตัวทำละลายต่างกันและการศึกษา ประสิทธิภาพการดูดซับโลหะหนักโดยใช้แทนนินเจลที่สังเคราะห์จากสารสกัดแทนนินจากพืชวงศ์ Myrtaceae กระบวนการ ทดลอง คือ นำใบชมพู่ ฝรั่งและยูคาลิปตัส มาปั่นและกรองแห้ง จากนั้นนำไปสกัดโดยตัวทำละลาย ได้แก่ เอทานอลและ เฮกเซน นำสารสกัดแทนนินที่ได้ไปผสมกับน้ำผงอะการ์ คนให้เข้ากันแล้วรอให้เย็นในอุณหภูมิห้อง นำแทนนินเจลที่ได้ แต่ละชนิดลงในน้ำเจือปนโลหะหนัก (Cr3+ ) แล้วนำไปตรวจค่าการดูดกลืนแสง ผลการทดลอง พบว่า แทนนินเจลจากใบชมพู่ ที่ใช้เอทานอลเป็นตัวทำละลาย, แทนนินเจลจากใบชมพู่ที่ใช้เฮกเซนเป็นตัวทำละลาย, แทนนินเจลจากใบฝรั่งที่ใช้เอทานอล เป็นตัวทำละลาย, แทนนินเจลจากใบฝรั่งที่ใช้เฮกเซนเป็นตัวทำละลาย, แทนนินเจลจากใบยูคาที่ใช้เอทานอลเป็นตัวทำละลาย แทนนินเจลจากใบยูคาที่ใช้เฮกเซนเป็นตัวทำละลาย สามารถดูดซับโลหะโครเมียม (Cr3+) ในน้ำเสียสังเคราะห์ความเข้มข้น 0.0184 mol/dm3 ป ร ิ ม า ต ร 40 ml ไ ด ้ 6.23x10-6 g , 7.54 x10-6 g , 2.69 x10-6 g, 3.54 x10-6 g, 1.31 x10-6g แ ล ะ 3.77 x10-6g ตามลำดับ สรุปได้ว่า การสกัดแทนนินด้วยสารละลายเฮกเซนจากใบชมพู่ มีความสามารถในการดูดซับโลหะ ได้มากที่สุด ในขอบเขตการศึกษาของโครงงาน โดยแทนนินเจลชนิดนี้ 1 g สามารถดูดซับโลหะ( Cr3+) ได้ 7.54 x10-6g คดิ เป็นร้อยละ 53.26 คำสำคัญ : แทนนนิ เจล, พชื วงศ์ Myrtaceae, โลหะหนัก
หนา 23 ศกึ ษาการเพาะเห็ดนางฟา้ ภูฐานจากขเ้ี ล่อื ยไมไ้ ผ่ ฉัตรชัย เปน็ มงคล1, เด่นศกั ดิ์ เล่ห์กัณฑ์1, พรสรุ ีย์ ทองสุข1 นางสาวสุวรกั ษ์ สุวรรณไตร2 และ นางสาวสิรพิ ร โสมา2 1นักเรยี นโรงเรียนอุดรพิชัยรักษพ์ ทิ ยา, Email [email protected] 2โรงเรยี นอุดรพชิ ัยรกั ษพ์ ิทยา บทคดั ย่อ การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานโดยใช้ขี้เลื่อยไม้ไผ่เป็นวัสดุเพาะ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพของวัสดุเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานแต่ละสูตร ซึ่งได้ทดลองใช้วัสดุเพาะ ได้แก่ ขี้เล่ือยไม้ไผ่ และฟาง สับหมัก จำนวน 4 สูตร คือ สูตรที่ 1 ใช้ขี้เลื่อยไม้ไผ่ 100%, สูตรที่ 2 ใช้ขี้เลื่อยไม้ไผ่ 75% ผสมกับฟางสับหมัก 25% , สตู รที่ 3 ใช้ขเี้ ลอื่ ยไม้ไผ่ 50% ผสมกับฟางสบั หมกั 50% และสตู รที่ 4 ใชข้ ีเ้ ลอ่ื ยไมไ้ ผ่ 25% ผสมกบั ฟาง สับหมัก 75% และสูตรมาตรฐาน คือสูตรที่ 5 ใช้ขี้เลื่อยยางพารา ทำการทดลองเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานทั้ง 5 สูตร ศึกษาและเปรยี บเทียบความชืน้ ของวัสดุเพาะ การเจริญของเส้นใย และผลผลติ ของวัสดเุ พาะแต่ละสตู ร ผลการศึกษาพบวา่ วสั ดเุ พาะเหด็ แตล่ ะสูตรมีความชืน้ แตกตา่ งกัน การเจรญิ ของเส้นใยในสตู รที่ 2 เรว็ ท่ีสดุ และสามารถให้ผลผลิตได้ทกุ สูตร โดยสูตรท่ี 3 เหมาะที่จะนำมาใช้เป็นอตั ราสว่ นผสมสำหรบั เพาะเห็ด นางฟ้าภฐู านได้ดที ่ีสุดเม่ือเทยี บกับสูตรการทดลองอน่ื ๆ เน่อื งจากใหน้ ำ้ หนกั ผลผลติ เฉลย่ี สูงสุด คือ 183.45 กรมั ตอ่ กอ้ น คำสำคญั : เหด็ นางฟ้าภฐู าน, ข้ีเลือ่ ยไมไ้ ผ,่ วสั ดเุ พาะเห็ด
หนา 24 w111\\lilu l,i,w1�d�,1 'iAan� t1m1�1 'fl'H�1\\J ,i'n;UfJ1 i,rnl'i t1fJi1\\J111� . 151111-uv 1ni11, �Vlt!i\\Jo rM\\J4 I rin11&11fo1rl!ll,111Mtll:l1. Em\"11 F',�_,inee29.03'Pfn1i11/com. I rrnrt.11,111;;fn1:11. 1 JJl(1)11l/71it111111,1111'1JJ, 'JJIIJ7ntJ1fllJ11rJlijJfDtJIOII . . .Lfl'H-fl'UL�tN m,�ii,iLfm'l'lii�11ni-,011u.vi�;nniii-,i,n-i llla1iJ1u.il-niu.f1tJ�-ii�Ltl'Ui1t.h::i,1u iii'Plntlm,�,; I) l;;f.l;!m;1n�un1,�iit1Lfm'l'lii�11J1f10flU.vi�'il1n1..J.f1i1•n, 2) L�a;!m�J1i11J\\ffi'll!l�Lfm'l'lii�11J1f10flU.'t'1� 'il1n1VJf1M\\ 1 . . .3) L;;tnno,irniTuYILwn..\"lliilun1�iit1Lfm,..ii-nl1mi-,011u.vimniim,rniin,n111fttl� 2 iu111ou i-rif I) n11Lt1;vm111n�t1 lun1,�iiflL(m'l'lii�;l1111ftv1nl,Ji-,i, n, 2) V1fli1tlt1il1J\\ffi'll!NL�t1L'l'lii�;l111111011u.vi�v,nl,J f1ll n,�i,n11V111<1 tl�'l'lt1-i1 1) Ltm'l'lii-nl1111i-,oi;iu.vi�v1ni.Jf1lln, L�[J�ft1�tJl'l111Jl'U1J�v1nll1n1wou11i1�-rif a11,1.iiu 5:5:I, 5:3:1 LI.ft:: 6:2: I fl11Jft1�tl 2) 1'111lM\\J1U.'U'U'llt1-1Ltm'l'lii-nl1mi-,011u.vi�1n1,J<1�n, l;�nmn1wtiu�l-rif 8lllTI.i1u 5:5:1, 5:3:1 Llft::6:2:1 ii,h 530, 520 u.i-,:: 470 kg/m3 3) mll1tlJfl111J(\\JLO�U'IJO�Lfm'l'lii�;i,1J,ft8!ilU.vi�v1nl,Jftllrn L�tJ�v1nii1n1wvu11ii'l-rifa111,1.i1u . .5:3:1, 5:5:1 LI.ft:: 6:2:1 iif'i,i'vui-,:: 14.25, 12.37 U.ftt 12.28 11111Jl'1Mtl 4) f'i1'1'1a��1\\Jfl111Jfa\\J'IJO�Lfm'l'lii�;i,mi-,0111u.vi� v1niii-,i,n, l�U�v1nii1n1tlutiu1i;i ��do111,1.i1u 5:5:1, 5:3:1 u.i-,:: 6:2:1 iil'i, 4,342, 4,120 U.ft:: 3,67 1 caVo, 1111ii.i1lt1 5) fl•-1uI'l::n�mi-l11'1'111\\Jm'1l11•f-nu'IJO�U.'t'1•�1�fill'l'l-ft�1!IJ11J1f1l-,u«1nmn,1.\\Jt•if.ltJ,11.!,1'1�,,�� !�lPITI'1'1\\J 6:2:1, 5:3:1 u.i-,:: 5:5:1 i-ir•m•vui,:: 7.52 , 6.54 u.i,:: 6.90 11111J.iiiu 6) m'l't'l!iilf.)tJfl111JU.��u.,�l11uiiv1,Mv1nn1,u.,imin11o:iL,tlL'l'lii-nlim110111u.vi� v1ni.Jftlln, . . .Li'itltlriv0v1mi<1���'U L;umnmn1woo1�l-rif a,m.i1u 5:3:1, 5:5:1 LI.ft:: 6:2:1 \"1lJl'1itJ ��11,t/lfi-i1n-i::t11un1,�ii9! .,r�Lfm'l'lii�11J1ft8111U.l1�v1nl,Jft�rn LIIIUL'Ui.Jf1�n'l�i11Jrit1�ci,uu.i-,::1,i'J1u.il-niw�a�Ltl'Ui1tJ,::<11'U 8P1TI.i1u�ii��ci1u �;umtjii,n U.vi�LftlLYlii���Ltlln11 3 8111TI.i1'U ii4tJm��tJ1n'U W'l(illnllLRU�n'U WLtJ,1::iiu.111n\\ln1fi'u1�LJ1!lYlnv1n Yi�� 'IJru::1inuLi1!lfi111-wWii11::Ln1111Yln,::L�'U uiiin�u u.Piiifliui1�M1w::i;i1uut1n il1J\\ffi'lltl�L(m,..ii-nl1mi-,0111u.vi� v1nl,Jftlln'l LYiwrirnnnmii1m11u ASTM Ltlui-rif .,f� 3 891'l1li1\\J ii� fl111M\\11U.'U'U mmrufl'l�'U R1'1'1l'�-fl'Ufl111Ji'tl\\J uiLtlu1\\JP111JLnM11J1ill'l.fl'UU.PiiitJ-i::iim111'1'1lum,1i�1'UV11�fl111li't1'ULU\\..�l'l111JU.ii�u.,� ��<11111,nl'lituL(m'l'lii�llii' LI.ft:: . .a111,1.i1u�Ll!ll1::111Jlum,�ii11LtluLfm'l'lii�;J,mi-,0111u.vi�v1niii-,<1'n-iA.i 6:2:1 ��t'l1111Li'lu1t/l�un1,tl1iii-,1'1n�1J1�ii91 LU'ULfm'l'lii-nl1m.ia11u.vi�LU'U'l'll'�-n\\J't'llllU.'t'1\\J1U!llJWllit11tl
หนา 25 การศกึ ษาการผลิตกระแสไฟฟา้ จากนาขา้ ว นาย ณรงคก์ ร เพง็ โคตร1, นาย จิรภัทร อสิ ระวสิ ทุ ธ์ิ1, นาย ธีรเดช พานาด1ี , กชกร ล่ามสมบัติ2 1นกั เรยี นโรงเรียนกัลยาณวตั ร, E-mail [email protected] 2,1โรงเรียนกัลยาณวัตร บทคัดย่อ การผลิตกระแสไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานสะอาดถือเป็นทางเลือกที่ช่วยแก้ไขปัญหามลพิษและการนาประโยชน์จาก พน้ื ที่เกษตรกรรมในท้องถิ่นมาใชเ้ ป็นแหลง่ ผลิตกระแสไฟฟา้ กถ็ อื เป็นการเพิ่มพลังงานทางเลือกในการผลิตกระแสไฟฟา้ อกี ยัง สามารถนากระแสไฟฟ้าไปใช้ในพ้ืนท่ีที่ไฟฟ้ายังเข้าไม่ถึงได้อีกด้วย จากท่ีกล่าวมาข้างต้นคณะผู้จัดทาจึงศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อ การผลิตกระแสไฟฟ้าจากนาข้าวและสร้างเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าจากนาข้าว โดยหลักการทางานของเครื่องนี้คือ การนาข้ัว แคโทดและแอโนดไปดักจับอิเล็กตรอน ซึ่งอิเล็กตรอนเหล่านั้นเกิดจากย่อยสลายสารอินทรีย์ท่ีได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง ของขา้ วโดยจลุ ินทรยี ์ทีอ่ ย่ใู นดนิ ทาใหไ้ ด้กระแสไฟฟา้ ทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการดังกล่าว ผลการทดลองพบว่าขั้วแคโทดและแอโนดแบบแผ่นที่ทาจากแกรไฟต์ปริมาตร7.85 cm3 โดยสามารถวัดปริมาณ กระแสไฟฟ้าเฉล่ยี ได้ 16.3 µAซ่งึ มากกวา่ ขว้ั แคโทดและแอโนดแบบแทง่ , ช่วงเวลาท่วี ดั ปริมาณกระแสไฟฟา้ ได้มากที่สุดคือช่วง 12.00 -13.00 น.ซ่งึ วดั ปริมาณกระแสไฟฟา้ เฉลี่ยได้ 28.97 µA,จานวนต้นข้าว 15 ตน้ สามารถวัดปรมิ าณกระแสไฟฟ้า เฉล่ีย ได้มากที่สุด 32.5 µA , และระยะหา่ งระหว่างขั้วแคโทดและแอโนด 50 เซนติเมตรสามารถวัดปริมาณกระแสไฟฟ้า เฉล่ียได้ มากทส่ี ดุ 39.17 µA คาสาคญั ขั้วแคโทดและแอโนด , นาข้าว,อิเล็กตรอน
หนา 26 เตาเผาขยะมูลฝอยลดแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ มนิ ทรธ์ าดา ศรีทองแท1้ ,ชญาดา ไชยรบ1 ,รจุ ริ า สุขจิตร1 นางพิศมัย พานโฮม2 1นักเรยี นโรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ, E-mail : [email protected] 2โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ บทคดั ยอ่ ปจั จบุ นั โลกกาลงั ประสบปญั หาภาวะโลกรอ้ น ซงึ่ เปน็ ผลมาจากกจิ กรรมในการดาเนนิ ชีวิตของมนุษย์เช่น การปล่อย ควันจากโรงงานอตุ สาหกรรม การจราจร การตดั ไม้ทาลายปา่ และการเผาป่า ไดส้ ่งผลให้ปรมิ าณแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ใน อากาศเพ่ิมสงู ขน้ึ อกี สาเหตุหนงึ่ ของการเกิดแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดค์ อื การเผาขยะมูลฝอยท่ีมีมากในชมุ ชนซึ่งเปน็ การเผาท่ี ปล่อยใหแ้ ก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ออกมามาก ดงั น้ันโครงงานนีจ้ ึงมีวัตถปุ ระสงค์ 1) เพอ่ื สร้างเตาเผาขยะมูลฝอยที่สามารถลด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 2) เพอื่ เปรยี บเทียบการดดู ซบั แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ของตวั กรอง โดยวธิ ดี าเนินการดังนี้ นาถัง ขนาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 39 เซนติเมตร และสูง 56 เซนติเมตร มาเชอ่ื มกบั แทง่ เหล็กทน่ี ามาทาเป็นปล่องควันขนาด 5×5x50 เซนติเมตร ต่อมาตัดตะแกรงใหเ้ ป็นวงกลมเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 38 เซนตเิ มตร สงู 20 เซนตเิ มตรและใสต่ ะแกรงเข้า ไปในถงั จากนน้ั เจาะช่องด้านขา้ งของถังขนาด 10×15 เซนติเมตร จานวน 3 ช่องโดยสามารถเปดิ ปิดได้ สุดทา้ ยทาตะแกรง 2 อันและนาไปเกาะเข้าดา้ นในกบั ช่องปลอ่ งควัน เพื่อใชใ้ ส่สารที่ใช้กรองแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ ซึง่ มี 2 ชนดิ คือ ซีโอไลท์ และถ่านกมั มนั ต์โดยใช้แคลเซียมไฮดรอกไซด์ปรมิ าตร 300 มลิ ลิลิตรเป็นตัววัดแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ในการเผาขยะมูลฝอย ปรมิ าณ 250 กรมั จากการตกตะตอนเป็นแคลเซียมคารบ์ อเนต จากการทดลองเผาขยะมลู ฝอยโดยไม่ใชต้ ัวกรอง พบว่ามีปริมาณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ทาปฏกิ ิรยิ ากบั แคลเซียมไฮดรอกไซด์ตกตะกอนเปน็ แคลเซียมคาร์บอเนตปรมิ าณ 2.1 กรัม จากนั้นนาขยะมูลฝอยมาเผาโดยใช้ตัวกรองคือ ซโี อไลท์ ถ่านกัมมนั ต์ และตัวกรองท้ังสองชนิดพร้อมกันในปริมาณ 200 กรมั พบว่ามีแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ทาปฏิกริ ยิ ากบั แคลเซียมไฮดรอกไซด์ตกตะกอนเปน็ แคลเซยี มคารบ์ อเนตปรมิ าณ 0.95 , 0.54 และ 0.32 กรมั ตามลาดับ คิดเป็นปรมิ าณท่ี สามารถลดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากการไมใ่ ช้ตัวกรองได้ 0.34 , 0.75 และ 0.97 กรัมตามลาดบั สรุปไดว้ า่ การเผาขยะมูลฝอยโดยใช้แคลเซียมไฮดรอกไซด์เป็นตัววัดจากการตกตะกอนเป็นแคลเซียมคารบ์ อเนตโดย มีซีโอไลท์ ถ่านกัมมนั ต์ และตัวกรองท้ังสองชนดิ พร้อมกัน สามารถลดปริมาณแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์เม่อื เทยี บกบั การเผา โดยไมใ่ ช้ตัวกรองคดิ เป็น 26.36 %, 58.14 %, 75.20 % ตามลาดับ คาสาคญั : เตาเผาขยะมูลฝอย, แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์, ซโี อไลท์, ถ่านกัมมนั ต์
หนา 27 ศกึ ษาสมบตั ทิ างกายภาพและทางเคมีของดนิ ทมี่ ผี ลในการทาครกหนิ แกรง่ สุภาวดี แก้วหอม1,สุนติ า โยธาคุณ1,อารรี ัตน์ พรสุวรรณ์1 นางกาญจนา ทองจบ2 1นักเรยี นโรงเรยี นชุมพลโพนพสิ ยั , Email: [email protected] 2โรงเรียนชุมพลโพนพิสัย บทคัดยอ่ โครงงานเรือ่ งการศึกษาลกั ษณะของดนิ ท่ีมีผลต่อการทาครกหนิ แกร่ง อาเภอโพนพิสัย จงั หวดั หนองคาย โดยมี วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ศกึ ษาสมบัตทิ างกายภาพและทางเคมีของดินในการทาครกหนิ แกรง่ ใน อาเภอโพนพสิ ัย จงั หวดั หนองคาย และเพือ่ เปรียบเทียบประสิทธิภาพของดนิ ในการขนึ้ รปู ครกหินแกรง่ ใน อาเภอโพนพสิ ัย จงั หวดั หนองคาย วิธีการทดลองโดย ขดุ ดินจากท้ัง 3 หมู่บา้ นลึกจากหนา้ ดนิ 1.5 เมตรเพอื่ สารวจลักษณะเนื้อดนิ สขี องดนิ คา่ pH ธาตุเหล็ก หลังจากนั้นนาไปขึ้น รปู และเข้าเตาเผา จากการศกึ ษาการสมบตั ิทางกายภาพและทางเคมีของดิน 3 หมบู่ า้ น ได้แก่ 1.บ้านดอนกลาง 2.บ้านผือ 3. บ้านโคก อาเภอโพนพิสยั จังหวดั หนองคาย เพอื่ เปรยี บเทยี บประสิทธิภาพของดนิ ในการทาครกหนิ จากหมูบ่ ้านดอนกลาง บ้านผือ และบ้านโคก ใน อาเภอโพนพิสยั จงั หวดั หนองคาย พบว่า บา้ นดอนกลาง มีเนื้อดนิ เหนยี ว มีสีของดินเปน็ สีส้มปน ขาว ค่า pH เท่ากบั 5.2 ค่าของธาตุเหล็กมีปรมิ าณสูง และดนิ บ้านผือเนือ้ ดินเปน็ ดนิ เหนียว สีของดินเป็นสขี าว และลักษณะ ทางเคมี คือ มีค่า pH เท่ากับ 6.1 ค่าของธาตุเหล็กมีปรมิ าณสูง และเมื่อนาครกหนิ แกร่งก่อนเผาและหลงั เผามาขึ้นรูปพบว่า ดนิ บา้ นดอนกลางและผอื สามารถข้ึนรปู ไดด้ ี และเผาไมแ่ ตกหกั เชน่ เดยี วกัน เเสดงว่าดนิ บ้านดอนกลางและบา้ นผือมีลักษณะ ละเอยี ด และทนไฟได้สูง ตกตะกอนไดเ้ ร็ว และค่าpH ใกล้เคียงกัน จากการสังเกตการขึ้นรปู หลงั เผาสามารถขึน้ รปู ได้ดีไม่มี รอยแตกหัก คาสาคญั : ดนิ บ้านดอนกลาง ดินบา้ นผอื ดนิ บ้านโคก
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: