Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อ.มาโนชน์

อ.มาโนชน์

Published by Aom Amm, 2021-07-19 06:29:30

Description: อ.มาโนชน์

Search

Read the Text Version

วิทยาลยั เทคโนโลยอี รรถวิทย์พณิชยการ การประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา ด้านที่ 3 ดา้ นครผู ูส้ อนและผู้บรหิ ารสถานศึกษา แบบรายงาน การพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชพี ชือ่ – สกุลนายมาโนชน์ เมธาพุฒพิ งษส์ กุล ประจาปีการศกึ ษา 2563 แผนกวิชา พ้ืนฐานท่ัวไป ที่ ประเด็นการพจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ัติ 1 จดั ทาแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมการพัฒนาวชิ าชีพ  2 ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 12 ช่วั โมงตอ่ ปี (39ช่วั โมง)  3 นาผลจากการพฒั นาตนเองและการพัฒนาวิชาชพี มาใชใ้ นการ  จัดการเรียนการสอน  4 มผี ลงานจากการพฒั นาตนเองและการพฒั นาวิชาชีพ  5 ใช้นวตั กรรมจากการพัฒนาตนเองและการพฒั นาวิชาชพี ท่ีได้รับ การยอมรบั หรือเผยแพร่ ผรู้ ายงาน (นายมาโนชน์ เมธาพฒุ ิพงษ์สกลุ ) วันท่ี ………. เดือนล…งว…นั …ท…ี่ ส…ง่ …. พ.ศ. ………. หมายเหตุ :- - สง่ ครง้ั ท่ี 1 สง่ ขอ้ มูลภาคเรยี นที่ 1/2563 ให้หวั หนา้ สาขา ภายในวันท่ี 16 ตลุ าคม 2563 - สง่ ครั้งท่ี 2 สง่ ข้อมลู ภาคเรยี นท่ี 2/2563 ใหห้ ัวหน้าสาขา ภายในวนั ท่ี 10 มถิ ุนายน 2564

2 รายงานการปฏบิ ตั งิ านและผลการประเมนิ ตนเอง รายบุคคล ( Self Assessment Report ) นายมาโนชน์ เมธาพุฒิพงษ์สกุล ตาแหนง่ อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าพน้ื ฐานท่วั ไป ผตู้ รวจบนั ทกึ ……………………………………….. (อาจารย์กลั ยา รุ่งเรือง รองผู้อานวยการฝา่ ยบุคลากร วันที่……….เดือน………ล…งว…ันท…่ี ……..พ.ศ………. วทิ ยาลยั เทคโนโลยีอรรถวิทย์พณชิ ยการ

3 คานา ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 โดยใช้เป็นเป้าหมายในการจัดการอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐ เอกชน และด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ต้ังแตป่ กี ารศกึ ษา 2561 เป็นต้นไป ข้าพเจ้า ในฐานะอาจารย์ประจาสาขาวิชาพื้นบานทั่วไป ได้จัดทารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 เพ่ือแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาการเรียนการ สอนของข้าพเจ้า และเป็นข้อมูลที่สามารถใช้เป็นฐานในการบริหารสถานศึกษา สามารถเปิดเผยต่อ ชุมชน และผู้ปกครองได้ ในการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 คร้ังนี้ ข้าพเจ้าขอขอบคุณท่านผู้อานวยการ รองผู้อานวยการทุกท่าน หัวหน้าสานักวิชาการ และหัวหนา้ สาขาวิชาของวิทยาลัยฯ ทใ่ี ห้คาปรึกษา เสนอแนะในการจัดทารายงานคร้งั นี้ (นายมาโนชน์ เมธาพุฒิพงษส์ กลุ ) ตาแหน่งอาจารยป์ ระจาสาขาวิชาพ้นื ฐานทัว่ ไป วิทยาลยั เทคโนโลยีอรรถวทิ ย์พณชิ ยการ

4 บทนา ระบบการประกนั คุณภาพของสถานศกึ ษา ขนั้ ตอนการดาเนนิ การประกันคณุ ภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยอี รรถวทิ ยพ์ ณชิ ยการได้กาหนดขน้ั ตอนการดาเนินการประกนั คุณภาพภายใน สถานศึกษา ซึง่ เป็นกระบวนการท่กี าหนดใช้ภายในวิทยาลยั ฯ เพื่อให้มีความเหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน ของวิทยาลยั ฯ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ขนั้ เตรียมความพร้อม 1.1 การสร้างความตระหนักและให้ความรู้แก่บุคลากรของวิทยาลัยฯ ด้วยวิธีการประชุม ชี้แจงในระดับหัวหน้าสานัก หัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้าศูนย์ และให้แต่ละหน่วยงานจัดประชุมย่อยใน การทจ่ี ะสร้างความตระหนักเรือ่ งการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา 1.2 จัดต้ังสานักประกันคุณภาพการศึกษา 1.3 แต่งต้ังหัวหน้าและผชู้ ่วยหวั หน้าสานกั ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 1.4 กาหนดมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ( ตามมาตรฐานสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ) 2. ขั้นวางแผนการประกนั คณุ ภาพ 2.1 จัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษา ตามข้ันตอน คือการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของ สถานศึกษา กาหนดเป้าหมายการพัฒนา กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกาหนดงานตามแผนงาน โครงการของสถานศึกษาทีจ่ ะนาไปสเู่ ปา้ หมาย 2.2 จัดทาคู่มือการประกันคุณภาพภายในของวิทยาลัยฯ ตามแนวทางของมาตรฐานการ อาชวี ศึกษา ( ของหน่วยงานต้นสงั กัด ) 2.3 แต่งต้งั คณะกรรมการการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 25...... 2.4 แต่งตงั้ คณะอนกุ รรมการการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 2.5 จัดทาปฏิทนิ ปฏบิ ตั งิ านการประกนั คณุ ภาพของวิทยาลยั ฯ 3. ขน้ั ดาเนินการตามแผน 3.1 ประชุมชี้แจงให้บุคลากรทุกคนได้ทราบถึงแนวทางการปฏิบัติงานตามแนวทาง มาตรฐานการอาชีวศกึ ษาผ่านหัวหน้าสานกั หัวหนา้ สาขาวิชา และหัวหนา้ ศูนย์ 3.2 ดาเนินงานตามแผนงาน / โครงการ / กิจกรรมต่างๆ ท่ีวางไว้ตามงบประมาณประจา ปีการศกึ ษา 2561

5 4. ข้นั ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา 5. ขั้นสรุปผลการประเมินและการพัฒนาปรับปรุงและจัดทารายงานการประเมินตนเองของ สถานศกึ ษา ( SAR ) 6. ขน้ั ตอนเสนอเพ่ือขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษาและคณะผูบ้ ริหาร และนาสง่ หนว่ ยงานตน้ สงั กัด แจง้ ตอ่ สาธารณชน ทางเอกสารและสงิ่ พิมพ์ 7. ข้ันตอนการจดั ทาโครงการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยคณะกรรมการภายนอก 8. ขน้ั ตอนขอรับการประเมินคุณภาพภายในโดยหน่วยงานต้นสังกัดและขอรับการประเมินจาก สมศ. แนวทางการดาเนินงานการประกันคณุ ภาพภายใน ตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 1. การวางแผนงานของสถานศึกษา (Plan) ใช้การจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นักศึกษาและชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาสถานศึกษา ทัง้ นสี้ ถานศกึ ษาและชุมชนไดม้ ีการกาหนดเป้าหมายการดาเนินงาน ภายใต้แต่ละมาตรฐานสถานศึกษาว่า ต้องมีการให้เกิดสัมฤทธิผลในด้านใด ระดับใด มีการกาหนดเกณฑ์แต่ละมาตรฐาน แต่ละตัวบ่งชี้ เป็น การตัดสินระดับความสาเร็จ มีการวางแผนออกแบบกิจกรรม / โครงการ เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติ โดยมี ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ / กิจกรรม เป็นผู้นาเสนอแผนการปฏบิ ตั กิ าร ตามระยะเวลาทีก่ าหนด 2. การนาแผนสู่การปฏิบตั ิ ( Do ) แต่ละหน่วยงานจะกาหนดปฏทิ ินปฏิบัติงาน ดาเนินงานใน แต่ละโครงการ / กิจกรรม เร่ิมต้นด้วยการนาเสนอโครงการ / กิจกรรมเพื่อขอการอนุมัติดาเนินงาน แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน ประชุมเตรียมความพร้อมการดาเนินการ และดาเนินงานตามวัน เวลา ท่ีกาหนด 3. การตรวจสอบติดตาม ( Check ) กลไกในการกากับติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงานของ แต่ละ กิจกรรม / โครงการ /ของวิทยาลัยฯ จะมีการดาเนินงานติดตามเป็นระยะเร่ิมตั้งแต่หัวหน้า สาขาวิชา หวั หนา้ ศูนย์ หวั หน้าสานัก และรองผู้อานวยการท่ีรับผิดชอบแต่ละฝ่าย ออกมาในรูปของการ จัดประชมุ และจัดทาเปน็ รายงานการประชุม นาเสนอต่อผูบ้ รหิ ารสูงสุด เป็นระยะๆ จนกระทั่งสิ้นสุดการ ดาเนินกจิ กรรม / โครงการ 4. การพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงาน ( Action ) เมื่อแต่ละหน่วยงานมีการจัดกิจกรรม / โครงการ ผู้รับผิดชอบกิจกรรม / โครงการ จะประสานกับศูนย์วิจัยและพัฒนาเพ่ือดาเนินการจัดทาแบบ ประเมินกิจกรรม / โครงการ และจัดทาเป็นสรุปผลการประเมินผลการดาเนินกิจกรรม / โครงการ พร้อมกบั ได้นาเสนอจุดออ่ น จุดแขง็ และจุดท่ีควรพัฒนา ผู้รับผิดชอบโครงการจะนาข้อมูลท่ีได้จากการ ประเมนิ กจิ กรรม / โครงการนน้ั ๆ มาเป็นแนวทางในการพฒั นางานในการจดั ในปตี ่อไป

6 บทสรุปการประเมินตนเอง จากการเขียนรายงานการประเมินตนเอง ( SAR ) รายบุคคลของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าพบว่า ในการ ปฏิบัติงานของขา้ พเจา้ ในปีการศกึ ษา 2561น้นั บางสว่ นงานทีเ่ ปน็ จุดเดน่ และบางสว่ นงานควรที่จะได้รับ การพัฒนา พร้อมกันน้ีข้าพเจ้าได้นาเสนอแนวทางเพ่ือการพัฒนาตนเอง ซึ่งจะส่งผลให้การจัดการเรียน การสอนให้กับนักศึกษาและสถานศึกษา ให้มีคุณภาพ เป็นที่น่าเชื่อถือ และเป็นท่ียอมรับของสังคมมาก ย่งิ ขึน้ ตอ่ ไป ซ่ึงมีประเด็นที่สาคัญท่ีจะนาเสนอตอ่ ผูบ้ ริหาร ดงั น้ี การประเมินตนเอง จุดเด่น จดุ ทต่ี อ้ งพฒั นา แนวทางพฒั นาตนเองในครั้งตอ่ ไป สรปุ ผลการประเมินตนเอง ประจาปีการศึกษา 2563 จดุ เด่น 1. มคี วามกล้าแสดงออก อดทนในการทางานสูง 2. สามารถปรับตวั ในเขา้ กับสงิ่ แวดล้อมอยา่ งรวดเร็ว พร้อมทั้งมมี นุษย์สมั พันธท์ ่ดี ี 3. มีความเขา้ ใจสูง ชอบทางานเป็นกลุ่ม 4. อ่อนนอ้ มถ่อมตน เข้ากบั ผอู้ ื่นได้ง่าย 5. มคี วามรบั ผดิ ชอบสูง และชอบสังเกตส่ิงตา่ งๆท่ีอยู่รอบตัว 6. ชอบมองการณไ์ กล 7. ชอบชว่ ยเหลอื ผู้อนื่ หรือผูท้ ด่ี ้อยโอกาสมากกวา่ เรา 8. มีความม่ันคงในการตัดสนิ ใจ 9. ชอบทจี่ ะแขง่ ขนั กับตัวเอง 10. ชอบความยุตธิ รรม 11. มอี ารมณข์ ัน 12. เป็นตัวของตัวเองไม่พึง่ ผูอ้ น่ื จุดที่ควรพัฒนา 1. ต่ืนเตน้ งา่ ยๆกับเรื่องทีแ่ ปลกใหม่ 2. ใจร้อน เม่ือทางานมักผิดพลาดบ่อย 3. ไม่มีความรอบคอบ 4. ปากหนกั 5. อารมณ์อ่อนไหวง่าย 6. บางสถานการณ์ใช้อารมณม์ ากกวา่ เหตุผล

7 แนวทางการพัฒนาตนเอง 1. ทาใจใหส้ งบและมนั่ คงเมื่อเกิดเหตกุ ารณ์ตา่ งๆจะได้มสี ติในการคดิ แก้ปัญหา 2. คดิ เปน็ กระบวนการ ใช้เหตผุ ลในการตัดสนิ ใจ 3. ตรวจสอบการทางานหลายๆครง้ั อยา่ งถีถ่ ว้ น 4. ปรับนสิ ัยในการพูดใหใ้ ช้คาที่ออ่ นลง 5. ฝกึ การมคี วามม่นั คงในอารมณ์และความคิด 6. ใช้เหตผุ ลมากกว่าอารมณ์ 1. จุดมุ่งหมายของหลกั สูตร ( ตามรายวิชาทส่ี อน ) 1.1 วชิ าการเมืองการปกครอง 1.1.1 นกั ศกึ ษามคี วามเข้าใจเกี่ยวกบั หลักการพน้ื ฐานของระบบการปกครองประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยเ์ ปน็ ประมขุ 1.1.2 มคี ุณลักษณะนิสัยทพ่ี งึ ประสงค์ และมเี จตคติทีด่ ใี นการประกอบอาชพี 1.2 วิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน 1.2.1 นักศกึ ษาต้องมคี วามเข้าใจหลกั การใชภ้ าษา 1.2.2 มที ักษะในการใช้ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร 1.2.3 มีกจิ นิสัย มีระเบียบละเอยี ดรอบคอบซื่อสัตยว์ ินยั ตรงต่อเวลา และมีเจตคติท่ดี ตี อ่ วิชาชีพ 1.3 ลกู เสอื วิสามัญ 1 1.3.1 นกั ศกึ ษาต้องสามารถประมวลความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับกจิ การลูกเสือ หลักการ กระบวนการลกู เสือ 1.3.2 นกั ศกึ ษามีระเบียบวินัย มีทกั ษะปฏบิ ตั งิ านพร้อมสาหรับการปฏบิ ตั งิ านในวิชาชีพ 1.3.3 มกี จิ นิสัย มีระเบียบ ละเอียดรอบคอบ ซื่อสัตย์ มีวนิ ยั ตรงต่อเวลาและมีเจตคติที่ดีต่อวชิ าชีพ 1.4 ลูกเสือวิสามญั 2 1.4.1 นกั ศึกษาตอ้ งสามารถประมวลความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั กิจการลกู เสอื หลักการ กระบวนการลูกเสอื 1.4.2 นกั ศกึ ษามีระเบียบวินยั มีทักษะปฏิบัติงานพรอ้ มสาหรับการปฏิบัตงิ านในวิชาชพี 1.4.3 มีกจิ นิสัย มรี ะเบยี บ ละเอยี ดรอบคอบ ซ่ือสตั ย์ มวี นิ ัยตรงต่อเวลาและมีเจตคติท่ีดตี อ่ วชิ าชีพ 1.5 ภาษาไทยเพือ่ อาชพี 1.5.1 นกั ศึกษาตอ้ งมีความเข้าใจหลกั การใช้ภาษาในงานอาชพี 1.5.2 มีทกั ษะในการใช้ภาษาเพื่อการสือ่ สารในงานอาชีพ 1.5.3 มกี จิ นสิ ัย มรี ะเบียบละเอยี ดรอบคอบซ่อื สตั ยว์ ินยั ตรงตอ่ เวลา และมเี จตคติที่ดตี อ่ วิชาชพี

8 2. สภาพท่วั ไป / สภาพปัญหาของการจดั การเรียนการสอนภายชนั้ เรยี นและนักศกึ ษาที่รบั ผดิ ชอบ 1. นกั ศึกษาสว่ นใหญต่ ้ังใจเรยี น และทางานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายดี 2. นักศึกษาบางส่วนทีม่ ีปัญหาในเรื่อง การมาเรยี นสาย การไมเ่ ตรียมความพร้อมในการเรียน การไม่ทางานท่ีมอบหมาย และพฤติกรรมระหว่างเรียนท่ีตอ้ งปรับปรงุ เชน่ การใช้อปุ กรณ์ สือ่ สาร การไม่เคารพเชื่อฟงั อาจารยบ์ างทา่ น ฯลฯ 3. แนวทางการพัฒนานักศกึ ษา ( เขยี นให้สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาของนกั ศกึ ษาหรือส่งิ ท่ีต้องการพัฒนา ) 1. จดั การศกึ ษาที่พฒั นาผู้เรียนด้านสติปญั ญา ความรู้ คุณธรรม จรยิ ธรรม และการอยู่รว่ มกับ ผูอ้ ่ืนได้ 2. กระบวนการเรยี นปลูกฝงั จิตสานกึ ท่ีถกู ต้องตามหลักประชาธิปไตยอันมีประมหากษตั ริย์ ทรงเป็นพระประมขุ รกั ษา สง่ เสริม สิทธิ หนา้ ที่และความเสมอภาค 3. พฒั นากระบวนการเรียนรู้อย่างตอ่ เน่ือง

10 บทที่ 1 บทนา 1. ขอ้ มลู ทว่ั ไป ปี ช่ือ นายมาโนชน์ นามสกุล เมธาพฒุ พิ งษ์สกลุ (จิตสาโรง) ตาแหนง่ อาจารย์ประจาสาขาวชิ า พื้นฐานท่ัวไป อายุ 34 วฒุ ิการศึกษา  ปรญิ ญาตรี วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา วชิ าโท ...............-..................  ปรญิ ญาโท สาขา การบริหารการศึกษา เอก การบริหารการศึกษา 2. ขอ้ มูลการปฏิบตั หิ นา้ ที่ 2.1 ดา้ นการเปน็ อาจารย์ทีปรึกษา ตารางที่ ตารางแสดงรายชอื่ นักเรียน /นกั ศกึ ษาในท่ีปรึกษาท่อี อกกลางคนั ระหว่างปีการศกึ ษา 2563 จานวนนกั เรียน /นักศึกษา รายชื่อนกั เรยี นท่อี อกลางคัน สาเหตกุ ารออกกลางคัน ปีการศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1/2563 นายเจษฏาภรณ์ ฟกั บุญเลิศ ศึกษาต่อทีอ่ น่ื สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ ชั้น ปวช.1/6 จานวนท้ังหมด 48 คน จานวนทอ่ี อกกลางคนั 1 คน จานวนนักเรียนคงเหลือ 47 คน ปีการศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2/2563 ปีการศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 2/2562 เตมิ ว่า -ไม่มี - สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ ชน้ั ปวช.1/6 จานวนทั้งหมด 47 คน จานวนทีอ่ อกกลางคัน - คน จานวนนักเรียนคงเหลือ 47 คน หมายเหตุ

11 2.2 ด้านการสอน ในปีการศึกษา 2563 ภาคเรยี นที่ 1 / 2563 ปฏบิ ตั กิ ารสอน จานวน 3 รายวชิ า จานวน 10 ห้อง จานวน 22 คาบ/ชม. ดงั นี้ ตาราง 1 แสดงจานวนรายวชิ า หอ้ งเรียน นักเรยี น/นกั ศกึ ษา คาบเรยี น ที่ปฏิบัตกิ ารสอน ที่ รายวิชา หอ้ ง จานวน นร. จานวนคาบ/ชม 1 การเมืองการปกครอง ปวส.1 9 3 2 ภาษาไทยพ้นื ฐาน ปวช.1 257 10 3 ลูกเสอื วิสามัญ 1 ปวช.1 52 2 ภาคเรียนที่ 2 / 2563 ปฏบิ ัตกิ ารสอน จานวน 3 รายวชิ า จานวน 10 ห้อง จานวน 21 คาบ/ชม. ดังนี้ ตาราง 2 แสดงจานวนรายวิชา ห้องเรียน นกั ศึกษา คาบเรียน ทปี่ ฏิบตั กิ ารสอน ท่ี รายวิชา ห้อง จานวน นร. จานวนคาบ 1 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ ปวช.1 124 6 2 ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารในงานอาชีพ ปวส. 2 110 9 3 ลกู เสอื วสิ ามัญ 2 ปวช.1 52 2 2.3 หน้าที่พเิ ศษอื่น ได้แก่ 1) ครทู ่ีปรึกษานักศึกษาชน้ั ปวช. 1/6 มีจานวนนักศกึ ษา 48 คน 2) หัวหนา้ ศูนย์ประสานงานขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอพยี ง 3) ปฏบิ ตั งิ านตามคาสัง่ ทไี่ ด้รับมอบหมาย

12 3. การจัดทาแผนการจัดการเรยี นรดู้ ้วยเทคนิควธิ ที ี่หลากหลาย ปกี ารศึกษา 2563 3.1 ภาคเรียนที่ 1 ที่ รายวิชาท่ีสอน ระดบั ช้ันทีส่ อน แผนการจดั การเรียนรูด้ ้วย เทคนคิ วิธีท่ีหลากหลาย มี ไมม่ ี 1 การเมืองการปกครอง ปวส.1  2 ภาษาไทยพื้นฐาน ปวช.1  3 ลกู เสอื วสิ ามญั 1 ปวช.1  3.2 ภาคเรียนท่ี 2 ที่ รายวิชาทสี่ อน ระดับช้นั ท่ีสอน แผนการจดั การเรียนรดู้ ว้ ย เทคนิควิธีท่ีหลากหลาย มี ไม่มี 1 ภาษาไทยเพอื่ อาชพี ปวช.1  2 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสารในงานอาชพี ปวส.2  3 ลูกเสือวสิ ามัญ 2 ปวช.1  4. การพัฒนารายวิชาหรือกลมุ่ วิชาท่ีไดร้ ับมอบหมายใหด้ าเนนิ การสอน ปีการศกึ ษา 2563 ที่ รายวิชาที่สอน ส่ือการสอนและเทคโนโลยที ใี่ ช้ ไดร้ บั การนเิ ทศการ งานวิจยั ในชัน้ เรยี นใน ประกอบการสอน สอนและบนั ทึก รายวิชาที่สอน ระบชุ อื่ หลงั สอน ระบุชื่อ 1 การเมอื งการปกครอง PowerPoint  2 ภาษาไทยพนื้ ฐาน PowerPoint  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางเรียนและ ความสามารถในการ ทางานเปน็ กล่มุ ใน รายวชิ าภาษาไทย พน้ื ฐาน โดยวิธีการ เรยี นแบบร่วมมือ 3 ลูกเสือวสิ ามัญ 1 -  4 ภาษาไทยเพือ่ อาชพี PowerPoint  5 ลูกเสอื วิสามญั 2 -  6 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร PowerPoint 

13 5. การพัฒนาด้วยตนเอง ข้าพเจา้ ได้ปฏิบัติกจิ กรรมการพัฒนาตนเอง ดังน้ี 5.1 การฝึกอบรมดา้ นวชิ าการหรือวชิ าชีพ ที่ หัวข้ออบรม/ประชมุ /สมั มนา สถานท่ีอบรม/ ว.ด.ป. จานวน หนว่ ยงานทจ่ี ัด ชว่ั โมง 3 ชั่วโมง 1 การเรียนหลักสูตรระยะส้ันออนไลน์ 3 วิทยาลัยการอาชีพวา 12 มิ.ย. 2563 3 ชว่ั โมง ช่ัวโมง เร่ืองกิจกรรมลูกเสือวิสามัญ – รินชาราบ 3 ช่วั โมง สัญญาณมอื -สญั ญาณนกหวีด 3 ชว่ั โมง 3 ชวั่ โมง 2 อบรมและประเมินแบบทดสอบวัดความรู้ สานักงานเขตพื้นท่ี 1 ม.ิ ย. 2563 3 ชว่ั โมง เร่ือง มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพครู ก า ร ศึ ก ษ า 3 ชว่ั โมง ดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า พิ จิ ต ร 3 ชว่ั โมง เขต 2 3 อบรมทางไกลระบบออนไลน์หลักสูตร การ สานักงานเขตพ้ืนที่ 16 พ.ค. 2563 สร้างแบบทดสอบโดยใช้ Google Form ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า นครราชสมี า เขต 1 4 อบรมหลักสูตรพุทธศาสนาศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 29 พ.ค. 2563 เรื่อง หลักคุณธรรม จริยธรรมในการ นครราชสีมา ประกอบวชิ าชพี 5 อบรมหลักสูตร กิจกรรมแนะแนวการจัด สานักงานเขตพ้ืนท่ี 16 พ.ค. 2563 กิ จ ก ร ร ม แ น ะ แ น ว พั ฒ น า ร ะ บ บ ดู แ ล ก า ร ศึ ก ษ า ชว่ ยเหลือนกั เรียน ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า เชยี งใหม่ เขต 3 6 การเรียนหลักสูตรระยะส้ันออนไลน์ 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษา 28 พ.ค. 2563 ชว่ั โมง เรอื่ งกิจกรรมลูกเสือวสิ ามัญ อุบลราชธานี 7 อบรมออนไลน์ เรอ่ื ง Active Learning สานักงานเขตพ้ืนท่ี 20 ม.ค. 2564 ก า ร ศึ ก ษ า ประถมศึกษายโสธร เขต 2 8 อ บ ร ม อ อ น ไ ล น์ ห ลั ก สู ต ร ก า ร ส ร้ า ง โรงเรียนบ้านตาขุน 22 ม.ค. 2564 แบบทดสอบด้วย Google Forms วทิ ยา

14 9 อบรมออนไลน์ หลักสูตร การวิจัยในชั้น โรงเรียนบ้านป่ายาง 21 ม.ค. 2564 3 ชัว่ โมง เรยี น ใต้ 3 ชว่ั โมง 10 อบรมการสร้างห้องเรียนออนไลน์ ด้วย โรงเรียนพนัสพิทยา 14 ม.ค. 2564 3 ชว่ั โมง Google Classroom คาร 3 ช่ัวโมง 3 ชั่วโมง 11 อบรมระบบออนไลน์ หลักสูตร สิทธิ โรงเรยี นสันกาแพง 31 ม.ค. 2564 มนุษยชนกบั สถานการณ์ COVID-19 12 อบรมออนไลน์ เร่อื ง อินเตอรเ์ น็ต โรงเรียนฉิมพลีวิทยา 31 ม.ค. 2564 13 อบรมหลักสูตร การขับเคล่ือนเศรษฐกิจ สานักงานเขตพ้ืนที่ 31 ม.ค. 2564 พอเพียงในสถานศึกษา ก า ร ศึ ก ษ า ประถมศึกษาพะเยา เขต 2 5.2 การได้รับทุนการศึกษา ทนุ วิจัย หรอื งานสรา้ งสรรค์ ระยะเวลาที่ จานวน ที่ ทนุ การศึกษา ทุนวจิ ัย หรอื งานสรา้ งสรรค์ หนว่ ยงานที่ให้ ได้รับ ไมม่ ีการดำเนินการ 5.3 การเข้าโครงการแลกเปลี่ยน ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา โครงการแลกเปลีย่ น ครแู ละ ท่ี บุคลากรทางการศึกษา หน่วยงานที่แลกเปลี่ยน ระยะเวลา หมายเหตุ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมการ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณชิ ยการ ปี 2563 ออนไลน์ แข่งขันมารยาทและการสมาคม ราชดาเนนิ ครัง้ ท่ี 35 2 ประชุมเตรียมความพร้อมการ วทิ ยาลยั เทคโนโลยที ักษิณา ปี 2563 ออนไลน์ แข่งขนั สุนทรพจน์ บรหิ ารธุรกิจ

5.4 การไดร้ ับประกาศเกียรตคิ ุณยกย่องดา้ นวิชาการหรือวิชาชพี หรือจรรยาบรรณ 15 หมายเหตุ ท่ี ประกาศเกียรตคิ ุณยกยอ่ ง หนว่ ยงานที่ให้ ว.ด.ป. 1 ครดู ีของแผน่ ดนิ ขัน้ พ้ืนฐาน มลู นิธคิ รดู ีของแผน่ ดิน ปี 2563 2 ครูตน้ แบบสง่ เสริมการอา่ นฯ บริษทั นานมบี ุค๊ ปี 2563 5.5.ผลงานดา้ นนวตั กรรม สิง่ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวจิ ัย ชอื่ โครงการ การนาไปใช้ การไดร้ บั รางวลั ผ่านการประกวด / ชอ่ งทางการ นวัตกรรม ประโยชน์ ได้รับรางวลั เผยแพรผ่ ลงาน สิ่งประดษิ ฐ์ งาน ตอ่ สาธารณชน ท่ี สร้างสรรค์ หรือ ประเทศ งานวิจยั ภาค จังห ัวด สถาน ึศกษ าประเทศ ภาค จังห ัวด สถาน ึศกษ า 1 การแก้ไขปัญหา - - -  - - - - - www.atc.ac.tc นกั ศึกษาไมส่ ่งงาน ด้ ว ย วิ ธี ก า ร เสริมแรงทางบวก 5.6 ระดับคุณภาพในการปลูกฝงั จิตสานึกด้านการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม โครงการ กิจกรรมที่ได้ เขา้ ร่วมในดา้ นการปลกู ฝังจิตสานึกดา้ นการอนุรกั ษ์สิง่ แวดลอ้ ม ประจาปีการศึกษา 2563 ที่ โครงการ / กจิ กรรม สถานท่ีดาเนินการ สามารถใช้กจิ กรรมโฮมรูม หรอื กจิ กรรมอ่นื ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง

16 6. ผลการปฏบิ ัติงาน 6.1 การจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 4 ( ครปู ระเมนิ ตนเอง ) โดยใส่เครอื่ งหมาย  ตาราง แสดงผลการประเมินระดบั การปฏบิ ัตงิ านตามพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 ระดับการปฏบิ ตั ิ (ระหวา่ ง เดือน มิ.ย. – ก.ย. รายการปฏิบตั ิ พ.ศ.2561) มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ทีส่ ุด กลาง ทส่ี ดุ 1. รู้เป้าหมายของหลักสูตรและการจัดการศึกษา  2. จดั ทาแผนการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั ด้วยตนเอง  3. จดั ทา/หา ส่อื ประกอบการสอน  4. สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียนรพู้ ฒั นาตนเองได้ตามธรรมชาติและ  เต็มศักยภาพ 5. จดั เนือ้ หาสาระ/กจิ กรรมตามความสนใจ ความถนดั และความ  แตกตา่ งกัน ของผเู้ รียน 6. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจดั การ การเผชญิ และแกป้ ญั หา  7. ใหผ้ เู้ รยี นฝึกปฏบิ ัติจรงิ คิดวเิ คราะห์ คดิ สร้างสรรค์  8. ส่งเสรมิ กิจกรรมการทางานและรับผดิ ชอบตอ่ กลมุ่  9. กระตุน้ ใหผ้ ู้เรยี นรูจ้ ักศกึ ษาหาความรู้ แสวงหาคาตอบและสร้าง  องคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง 10. จดั กจิ กรรมการสอนหลากหลายเหมาะสมกบั ธรรมชาตแิ ละ  ความต้องการของผู้เรยี น 11. สอดแทรกคณุ ธรรม ซอื่ สตั ยส์ ุจริตในวิชาที่สอน  12. สง่ เสรมิ การเรยี นร้จู ากแหล่งต่าง ๆ ร้จู ักตงั้ คาถามเพื่อหาเหตผุ ล  13. สรุปประเดน็ จากการเรียนรูแ้ ละประสบการณ์ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง  14. ใชส้ อื่ การเรียนทเ่ี หมาะสมและหลากหลาย  15. ประเมนิ พฒั นาการผเู้ รยี นดว้ ยวิธกี ารท่ีหลากหลายและต่อเน่ือง  เฉล่ยี 84 15 48 สรปุ จากการประเมินตนเอง พบวา่ รายการปฏิบตั ิท่ี 2 เปน็ การปฏบิ ัตทิ ม่ี ีระดับการปฏบิ ตั ิมากที่สุด และรองลงมาเปน็ ลาดบั สว่ นรายการปฏิบตั ทิ ี่มีระดบั การปฏบิ ัตนิ อ้ ยควรทจี่ ะปรบั ปรงุ หรือพัฒนาต่อไป

17 6.2 ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรียน ป2ี 563 ตาราง แสดงผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผู้เรียน ปีการศึกษา 2563 ที่ รายวชิ า จานวน ระดับคะแนน(คน) ผ้เู รียน 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขร ขส ภาคเรยี นที่ 1/2562 1 การเมอื งการปกครอง 9 62 22 21 9 5 - - - 4 - 2 ภาษาไทยพนื้ ฐาน 217 114 40 33 11 11 4 2 - 2 - 3 ลูกเสือวสิ ามัญ 1 51 ผ่าน 100 % ภาคเรยี นที่ 2/2562 1 ภาษาไทยเพ่อื อาชีพ 124 50 25 13 10 11 1 1 - 4 5 2 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในงานอาชพี 110 56 15 14 11 6 1 - - 7 - 2 ลกู เสอื วสิ ามัญ 2 44 ผา่ น 100 % 7. ผลการปฏบิ ัติหนา้ ทพี่ เิ ศษ (เกณฑ์การประเมนิ : ใชค้ วามพงึ พอใจของตนเองเป็นหลกั ) การปฏิบตั หิ นา้ ทพ่ี เิ ศษ ปรากฏผลดังน้ี ( แสดงหลักฐานในภาคผนวก ) 1) งานหน้าท่ีครูทป่ี รึกษา 1. ปวช.1/6 มนี ักศึกษา 47 คน จากภาคเรยี นท่ี 1-2/2563 สรปุ ไดว้ ่า ระดับคณุ ภาพการปฏิบตั งิ าน เมื่อประเมินดว้ ยตนเองแล้ว อยูใ่ นระดบั  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรพฒั นาขึ้นอีก 2) งานด้านโครงการ / กจิ กรรม 1. โครงการวนั ภาษาไทยแห่งชาติ 2. โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3. กิจกรรมประกวดสุนทรพจน์ 4. กิจกรรมประกวดมารยาทไทย สรุปได้วา่ ระดับคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน เมอื่ ประเมินดว้ ยตนเองแลว้ อยใู่ นระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาข้ึนอีก 3) งานด้านการแข่งขันด้านวชิ าการ / ทักษะวชิ าชีพ ภายในและภายนอก 1. กจิ กรรมประกวดสุนทรพจน์ 2. กิจกรรมประกวดมารยาทไทย สรุปไดว้ า่ ระดบั คุณภาพการปฏบิ ตั งิ าน เมื่อประเมินด้วยตนเองแลว้ อย่ใู นระดบั  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพฒั นาข้ึนอีก

18 4) งานพเิ ศษอื่นๆ ของวิทยาลยั ฯ 1. หวั หนา้ ศูนยป์ ระสานงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ฝึกซอ้ มนักศึกษาเข้าแข่งขนั ทักษะวชิ าชพี ครงั้ ท่ี 35 ประเภทการประกวด มารยาทไทยและการสมาคม การประกวดสนุ ทรพจน์ สรุปไดว้ า่ ระดบั คุณภาพการปฏบิ ตั ิงาน เม่ือประเมนิ ดว้ ยตนเองแลว้ อย่ใู นระดบั  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอกี 8. กจิ กรรม/ผลงาน/ชนิ้ งานเด่นทม่ี คี วามภาคภมู ใิ จและประทบั ใจ ในปีการศกึ ษา 2563 ขา้ พเจา้ มีความภาคภูมิใจในผลงาน ดังนี้ 1) การเปน็ ผู้จดั ทาโครงการวนั ภาษาไทยแห่งชาติ 2) การเปน็ ผู้จัดทาโครงการขับเคลือ่ นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) ฝกึ ซ้อมนักศกึ ษาเพ่อื แข่งขนั ทักษะวชิ าชีพ ประเภทการกล่าวสุนทรพจน์ได้รับเกยี รตบิ ัตร เหรยี ญเงิน ระดับปวส. และเหรีญทองแดง ระดบั ปวช. 4) ฝึกซอ้ มนกั ศึกษาเพ่ือแขง่ ขนั ทักษะวิชาชพี ประเภทมารยาทและการสมาคมได้รับเกยี รตบิ ตั ร เหรียญเงิน ระดับปวส. และเหรญี ทอง ระดับปวช. 5) 9. ในการปฏิบัตกิ ารสอนภาคเรยี นน้ีได้ค้นพบความรู้ใหม่ ดังน้คี อื 1) ส่อื การสอน ได้แก่ - PowerPoint วชิ าการเมอื งการปกครอง - PowerPoint วิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน - PowerPoint วชิ าภาษาไทยเพอื่ อาชีพ 2) วิธีการสอนท่ีพบว่าประสบผลสาเร็จมากทีส่ ดุ คอื - การยกตวั อย่างประกอบ และสาธติ การปฏบิ ัติ - วิธีสอนโดยใช้เกม - วิธสี อนแบบทางานรับผดิ ชอบรว่ มกนั 3) ปัจจยั ท่ที าให้ประสบผลสาเร็จในการปฏบิ ตั ิหน้าที่คือ ความมุ่งมั่น ต้ังใจ และเตรียมการสอนที่ดี รวมถึงความรักที่มีให้กับผู้เรียน พร้อมให้คาปรึกษา หรือแนะนาเมือ่ นกั ศกึ ษาต้องการความช่วยเหลือ

19 10. ปญั หาและอุปสรรค และขอ้ เสนอแนะในการปฏิบตั ิงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายในแต่ละหน้าที่  สง่ิ ที่ต้องแกไ้ ข(ปญั หา) คือ บางครัง้ มีงานในหลายหน้าที่ การจัดสรรเวลาการเตรียมสอน น้อยทาให้ผเู้ รียนเสียประโยชนใ์ นการเรยี นไปบ้าง  ส่ิงที่ต้องการพฒั นาตอ่ ไป คือ เตรยี มการสอนและพัฒนาส่อื การสอนให้ทันสมัยอยู่เสมอ รวมทง้ั พฒั นาวิธีการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง  เรือ่ งท่ีควรจะนาไปทาวิจัยในชัน้ เรยี นต่อไป คือ การจัดโครงการการเรียนการสอนให้ สอดคล้องกบั หลักสตู ร และความต้องการของผู้เรยี น ลงชือ่ ....................................................... ผู้รายงาน (นายมาโนชน์ เมธาพุฒพิ งษ์สกุล) ตาแหนง่ อาจารย์ประจาสาขาวชิ าพื้นฐานทัว่ ไป

(นางสาวชนภา ป้ันสมบุญ) รกั ษาการหัวหนา้ สานักงานบุคคล (นางกลั ยา รุ่งเรอื ง) รองผู้อานวยการฝ่ายบุคลากร

20 ภาคผนวก เป็นสว่ นทเี่ ก็บหลักฐานข้อมูลตา่ งๆ จะแนบมาเป็นเอกสาร รปู ภาพ ตอ่ ทา้ ยภาคผนวก หรอื เป็น link เพ่ือสามารถเขา้ ดกู ็ได้ ซึ่งได้แก่ - ภาพประกอบกิจกรรม / โครงการ - เกยี รตบิ ตั รต่าง ๆ ทไ่ี ดร้ บั - สอื่ การเรียนการสอน - วิจัยในชัน้ เรียน - แผนการสอน - สรปุ ผลประเมนิ การเรียนแยกตามรายบคุ คล

21 ภาพประกอบกจิ กรรม / โครงการ โครงการวันภาษาไทย ปีการศึกษา 2563

22

23

24 นกั ศกึ ษาเขา้ ร่วมแขง่ ทักษะวชิ าชีพ ประเภทการประกวดสนุ ทรพจน์

25

26 เกียรติบัตรตา่ ง ๆ ทไี่ ดร้ บั บนั ทึกการอบรมพฒั นาตนเองในระบบ อา้ งอิง http://atc.sisacloud.com/index.php

27 สอื่ การเรยี นการสอน

28 วจิ ยั ในชัน้ เรียน บทคัดยอ่ การวิจัยครงั้ นีม้ วี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการทางาน ร่วมกับผู้อื่นของนักศึกษา ช้ันปีท่ี 1 โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือ ในวิชาภาษาไทยพ้ืนฐานระหว่างเรียน ผู้วิจัยให้นักศึกษาทาแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ประเมินการปฏิบัติการทดลองและการนาเสนอ ผลงานหนา้ ช้ันเรยี น ทาแบบทดสอบยอ่ ยในแตล่ ะหวั ข้อ สัมภาษณอ์ ย่างไม่เป็นทางการ นักศึกษาประเมิน ตนเองและเพ่ือนในการทางานเป็นกลุ่ม และทาสังคมมิติเกี่ยวกับการทางานกลุ่มก่อนและหลังการเรียน แบบร่วมมอื ผลการวจิ ัยพบวา่ นกั ศึกษาทมี่ ีคะแนนหลังเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 มีจานวนเพิ่มขึ้นจาก 8 คนเป็น 43 คน แตกต่างจากคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนมีทักษะ ปฏิบัตกิ าร ทักษะการนาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรียน และมคี ะแนนทดสอบทา้ ยคาบเรยี นท่ีเพิ่มมากขึ้นอย่าง ตอ่ เน่ือง นกั ศึกษาส่วนใหญ่พอใจกับการสอนรูปแบบน้ี มีการช่วยเหลือกลุ่ม ความรับผิดชอบ การแสดง ความคิดเห็น การรับฟังความคิดเห็นหลังการเรียนแบบร่วมมือโดยเฉลี่ยสูงข้ึนและนักศึกษามี ความสมั พันธภ์ ายในหอ้ งเรียนเพ่ิมข้ึน

29 แผนการจดั การเรยี นรู้

30