การฝกึ ประสบการณน์ ิเทศการศกึ ษา หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ แบบฟอร์มท่ี ๑ บนั ทกึ ประจำวนั ฝศน.๒.๑ วนั ท่ี ๑๗ เดือน มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กิจกรรมทีป่ ฎบิ ตั ิ - ลงชอื่ รายงานตัวรบั การปฐมนิเทศ ณ สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบ่ี - พบ นายสายณั ห์ ไกรนรา ผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบ่ี และคณะกรรมการฝึกประสบการณน์ เิ ทศการศึกษา ซึง่ ประกอบดว้ ย ๑. นายสายณั ห์ ไกรนรา ผอู้ านวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษากระบ่ี ประธาน ๒. นางสาวจริ าย์ วรฤทธิ์ ผอ.กล่มุ นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สพป.กระบ่ี รองประธาน ๓. ศึกษานิเทศก์ สพป.กระบี่ ทุกคน กรรมการ ๔. นางสาววิมล กาพยเ์ กดิ ผอ.กลุม่ พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา กรรมการและเลขานุการ - รบั การปฐมนิเทศจาก นายสายณั ห์ ไกรนรา ผอ.สพป.กระบ่ี องค์ความรู้หรือข้อคดิ ท่ีได้ ๑. การขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของ สพป.กระบ่ี ดาเนินการขับเคล่ือนทั้งระบบ โดยมี คณะกรรมการชับเคล่ือนชุดของ สพป.กระบ่ี (๑๔ ท่าน) คณะกรรมการขับเคลื่อนในระดับอาเภอ ๑ ชุด (๘ อาเภอ ๑๙ ท่าน) คณะกรรมการในระดับเครือข่าย ๑ ชุด (๑๙ เครือข่าย) และคณะกรรมการ ขับเคล่ือนท่ีมีความสามารถเฉพาะทาง (๑๙ ท่าน) และนอกจากน้ีมีผู้ทรงคุณวุฒิระดับ อาเภอ (๘ ท่าน) โดยท่ีศึกษานิเทศก์ที่ดูแลพ้ืนท่ี อาเภอลงพ้ืนที่นิเทศอย่างน้อยปีการศึกษาละ 2 คร้ัง โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นคณะออกนิเทศไปด้วย ๒. แนวทางการปฏบิ ัติงานและคณุ ลกั ษณะของการเป็นศึกษานเิ ทศก์ และการขับเคลื่อนนโยบาย ส่กู ารปฏิบตั ิ ๓. ข้อคิดในการทางาน จาก นายสายัณห์ ไกรนรา ผอ.สพป.กระบ่ี เพื่อนาไปใชใ้ นการทางานและ สร้างมติ รภาพ “การทางานถ้าแบง่ กนั ดจี ะได้ดีทกุ คน ถา้ แยง่ กันดจี ะไม่ไดด้ สี ักคน” ปญั หา อุปสรรค แนวทางแก้ปญั หา - ไมม่ ี ลงช่ือ พรชัย ชว่ ยเอียด (พรชยั ช่วยเอียด)
การฝึกประสบการณน์ ิเทศการศึกษา หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ แบบฟอร์มท่ี ๑ บนั ทึกประจำวัน ฝศน.๒.๑ วนั ท่ี ๑๘ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กิจกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิ พบท่านผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบี่ และพี่เล้ียง โดยได้รับ คาแนะนาเก่ียวกับการดาเนินงานการปฏิบัติตนเพ่ือไปสู่เป้าหมาย โครงสร้างของสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษากระบ่ี แนวทางการศึกษาดูงาน คุณลักษณะและสมรรถนะของศึกษานิเทศก์ พร้อม ได้รับคาช้ีแนะในการพัฒนาสมรรถนะ และนางสาววมิ ล กาพย์เกิด ผอ.กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ได้แจ้งปฏิทินฝึกประสบการณ์ และชี้แจงเกี่ยวกับสถานที่ไปฝึกประสบการณ์ก่อนแต่งตั้ง ให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ องคค์ วามรู้หรอื ข้อคดิ ท่ไี ด้ ๑. ทบาทหน้าที่ของศึกษานิเทศก์ ต้องรู้ให้ชัด ต้องเสริมสร้างสมรรถนะ เช่น การรู้จักให้กาลังใจผู้อื่น การแต่งกาย การเดิน การนั่ง การพูดจาต้องดูดีอยู่เสมอ ต้องพัฒนาตนเองทั้งภายในและภายนอกให้ดูดี มีภูมิรู้ น่าเชื่อถือ น่าเช่ือมั่น เวลานิเทศต้องนิเทศด้วยใจรัก รักด้วยหัวใจ ศึกษานิเทศก์ต้องเรียนรู้ในเร่ืองที่ เราจะนเิ ทศ ตอ้ งรจู้ ริง รลู้ กึ ตอ้ งรักครดู ้วยใจ เข้าหาครูดว้ ยความรกั ๒. บคุ ลิกของศึกษานเิ ทศก์ ตอ้ งทันสมยั ทนั คน ทางานเร็ว เตรียมใจ เตรียมตัว ตงั้ ใจ แสวงหาความรู้ พัฒนางานตนเองตลอดเวลา เจาะใจ มุ่งให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย เปิดใจ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ศกึ ษานิเทศก์ต้องมีภาษาอย่างน้อย ๓ ภาษา คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และภาษาคอมพิวเตอร์ ๓. ศึกษานิเทศก์ท่ีผู้อานวยการเขตพื้นท่ีต้องการ คือ โน้มเหมือนรวงข้าวเต็มรวง หมายถึง การอ่อน น้อม ออ่ นโยน และเปรยี บกบั ดอกไม้ คือ ดอกกหุ ลาบ สามารถแยกองค์ประกอบเด่น ๆ ได้ ๓.๑ รปู ทรงดี ต้นชูเด่น ชดู อกสวยสง่า เปรยี บได้กบั ศน.ต้องบคุ ลิกดี พูดจาดี มรี อยยิ้ม อารมณ์ดี ๓.๒ สสี วย เปรียบไดก้ บั ศน.ต้องมีศาสตร์และศิลปใ์ นการนเิ ทศ ๓.๓ กล่นิ หอม เปรยี บได้กับ ศน.ตอ้ งมีความสามารถ ความดี ความงามท้ังกาย-ใจ ๓.๔ หนามแหลมคม เปรยี บได้กบั ศน.ต้องมีความหลักแหลมทางวิชาการ และความคดิ ๔. ศึกษานเิ ทศกเ์ ป็นยอดครู เปน็ ครขู องครู และส่ิงทส่ี ดุ ยอดศกึ ษานิเทศก์ต้องมี คือ ๑. มากดว้ ยปญั ญา วาจาดี มีนา้ ใจ ๒. ใครอยูใ่ กลแ้ ลว้ เป็นสขุ ๓. ใบหนา้ ตอ้ งมรี อยยิ้มอยู่เสมอ ๔. มีบารมี มีอานาจแฝงอยู่ในตวั ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ปญั หา - ไม่มี ลงชื่อ พรชยั ชว่ ยเอยี ด (พรชยั ชว่ ยเอยี ด)
การฝึกประสบการณน์ ิเทศการศึกษา หลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ แบบฟอร์มท่ี ๑ บันทกึ ประจำวนั ฝศน.๒.๑ วนั ท่ี ๑๙ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กิจกรรมทีป่ ฎิบัติ เรียนรู้การนาเสนอผลการฝึกประสบการณ์ของรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ท่ีฝกึ ประสบการณ์ท่สี านกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากระบ่ี จานวน ๑๖ ทา่ น องค์ความรู้หรอื ข้อคิดทไี่ ด้ ๑. การบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป้นเลิศ ของ ผอ.สพป.กระบี่ โดยนโยบาย 3 คืน “คืนครูสู่นักเรียน คืน ผอ.ให้โรงเรียน และคืน ศึกษานิเทศก์ให้ครู” เพ่ือ คุณภาพเขตพ้ืนที่การศึกษา คณุ ภาพสถานศึกษา คณุ ภาพหอ้ งเรียน คณุ ภาพผ้เู รยี น และบรหิ ารจดั การโดยใช้ภาคเี ครอื ข่าย ๒. กรณีศึกษา โรงเรียนบ้านคลองประสงค์ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” สร้างศรัทธาให้เกิดข้ึน โรงเรียนบ้านคลองม่วง “ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม” โรงเรียนบ้านไสโป๊ะ “กล้าคิด กล้าทา กล้าเปลี่ยนแปลง” ร.ร.สะอาด สวยงาม ร่มร่ืน สนามหญ้าเทียมอันดามัน “การบริการเป็นหนึ่งให้ลูกคา้ พงึ พอใจ” ๓. ข้อคดิ ท่ีได้ การทางานประสบผลสาเรจ็ ต้องอาศยั การมีสว่ นร่วมทุกภาคสว่ น จะเป็นแนวทาง ในการปฏบิ ัตติ น และการพฒั นางานต่อไป ปัญหา อปุ สรรค แนวทางแก้ปญั หา - ไม่มี ลงชอ่ื พรชัย ชว่ ยเอยี ด (พรชยั ชว่ ยเอียด)
การฝึกประสบการณน์ เิ ทศการศึกษา หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ แบบฟอร์มที่ ๑ บนั ทกึ ประจำวนั ฝศน.๒.๑ วันที่ ๒๐ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กิจกรรมท่ปี ฎบิ ัติ - ศึกษา โครงสร้างเขตพื้นที่การศึกษากรอบงาน ภาระงานของกลุ่มงานใน สพป.กระบ่ี ๑๐ กลุ่มงาน (๑) กลุ่มอานวยการ (๒) กลุ่มนโยบายและแผน (๓) กลุ่มส่งเสริมการศึกษาทางไกลเทคโนโลยี สารสนเทศ (๔) กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ (๕) กลุ่มบริหารงานบุคคล (๖) กลุ่มพัฒนาครูและ บุคลากรทาง การศึกษา (๗) กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษ (๘) กลุ่มส่งเสริมการจัด การศกึ ษา (๙) หน่วยตรวจสอบภายใน (๑๐) กลุ่มกฎหมายและคดี- ร่วมประชุมการวางแผน การดาเนินงานศูนย์การเรียนรู้ ลดใช้ พลังงาน การจัดการขยะ และอนุรักษ์ ส่ิงแวดล้อม ซ่ึงเป็นศูนย์การเรยี นรู้ท่ีกลมุ่ ศกึ ษานิเทศก์รบั ผิดชอบ ประธานศนู ย์ ศน.อาจารยี า กาญจนวิวญิ - ศึกษาแผนการนิเทศของ สพป.กระบี่ - วางแผนการนเิ ทศ องค์ความรู้หรือข้อคดิ ท่ไี ด้ ๑. การทางานของกลมุ่ งานตา่ ง ๆ การสรา้ งสมั พันธภาพอนั ดี กบั กลมุ่ งาน ๒. กระบวนการนิเทศห้องเรียนคุณภาพของ สพป.กระบี่ นิเทศ ครอบคลุมงาน ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านการบรหิ ารจดั การ ดา้ นการจดั การเรียนการสอน และดา้ นผ้เู รียน ปัญหา อปุ สรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไมม่ ี ลงชือ่ พรชัย ชว่ ยเอยี ด (พรชัย ชว่ ยเอียด)
การฝกึ ประสบการณน์ เิ ทศการศกึ ษา หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ แบบฟอร์มท่ี ๑ บันทกึ ประจำวนั ฝศน.๒.๑ วันที่ ๒๑ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กจิ กรรมทีป่ ฎบิ ัติ - การวางแผนการนเิ ทศและการจัดทาแผนการนิเทศการศึกษา องคค์ วามรู้หรอื ข้อคิดท่ไี ด้ - จัดทาแผนการนเิ ทศการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งการแผนการนเิ ทศของสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษากระบ่ี และสอดคล้องกับปฏทิ ินการฝึกประสบการณ์การนเิ ทศการศึกษา ที่ได้กาหนดสถานศึกษา ท่ีจะออกฝึกประสบการณ์นิเทศการศึกษา ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไมม่ ี ลงชอื่ พรชัย ชว่ ยเอยี ด (พรชัย ช่วยเอียด)
การฝึกประสบการณน์ ิเทศการศกึ ษา หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ แบบฟอร์มที่ ๑ บันทึกประจำวัน ฝศน.๒.๑ วนั ท่ี ๒๒ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กจิ กรรมทป่ี ฎิบัติ - ชมรายการถ่ายทอด พุธเชา้ ขา่ ว สพฐ - ศึกษาแนวทางการทาแผนนิเทศ จากหวั หน้ากลมุ่ นิเทศ และศกึ ษานิเทศก์ สพป.กระบี่ - ศกึ ษาข้อมูลพ้ืนฐาน ของโรงเรียนทจ่ี ะไปนิเทศ - จัดทาแผนการนิเทศการศึกษา - รว่ มประชุม zoom จากหน่วยพัฒนาฯ องคค์ วามรู้หรือข้อคิดท่ไี ด้ ๑. จากการชมรายการพุธเชา้ ข่าว สพฐ จดุ เนน้ สพฐ. การส่งเสรมิ และพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย (๑) ระดบั ประถมศกึ ษาเร่งรดั พฒั นาใหน้ กั เรียนอ่านออกเขยี นได้ และมงุ่ เน้นการอ่านเพื่อความเข้าใจ คดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และระดับมธั ยมศึกษา เน้น การวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมนิ คุณค่าวรรณกรรม (๒) ควรสร้างความเข้าใจให้ครูผูส้ อนและนักเรียนเห็นคณุ ค่าของการประเมนเพ่อื พฒั นา และ นาผลไปใช้ (๓) สนับสนุนการนาผลคัดกรองไปใช้ในกระบวนการจดั การเรียนการสอน โดยกระบวนการ สร้างชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) ๒. จากการชมรายการพุธเช้าข่าว สพฐ. สภานักเรียน เจตนารมณ์ของสภานักเรียน (๑) เราจะ ส่งเสริมเด็กไทยให้เลิกใช้ถุงพลาสติก (๒) เราจะส่งเสริมการมีจิตอาสาเพื่อสร้างสังคมอย่างมีความสุข (๓) เราจะส่งเสริมให้เด็กไทย รู้เท่าทัน แบ่งปันข่าวปลอม (๔) เราจะส่งเสริมแนวทางการป้องกันความ รนุ แรง ๓. การนิเทศ แบบ ACER Model ของ สพป.กระบี่ โดยศกึ ษานิเทศก์ไดร้ บั มอบหมายใหร้ บั ผิดชอบ พนื้ ที่การนเิ ทศเปน็ อาเภอ ร่วมกบั ผทู้ รงคุณวุฒิทีไ่ ด้รบั แตง่ ตง้ั เป็นผู้แทน ผอ.เขตฯ แตล่ ะอาเภอ ๔. แนวทางการทาแผนนิเทศ และการสรา้ งเคร่ืองมือการนเิ ทศ จาก ศน.สพป.กระบี่ ๕. ทางหนว่ ยพฒั นาฯ โดย ดร.ประสทิ ธ์ิ หนูกงุ้ ประชุมทางไกล ดว้ ยโปรแกรม zoom เพื่อตดิ ตาม การฝกึ ประสบการณ์เบื้องตน้ ปญั หา อุปสรรค แนวทางแก้ปญั หา - ไม่มี ลงชอ่ื พรชัย ชว่ ยเอยี ด (พรชัย ชว่ ยเอียด)
การฝกึ ประสบการณน์ เิ ทศการศกึ ษา หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ แบบฟอร์มท่ี ๑ บันทกึ ประจำวนั ฝศน.๒.๑ วนั ที่ ๒๓ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กจิ กรรมที่ปฎบิ ัติ - จัดทาแผนการนิเทศการศึกษา - นาเสนอและรับการสะท้อนผลจากศึกษานเิ ทศก์ - รับการติดตามจากคณะกรรมการตดิ ตามจากหน่วยพัฒนาฯ องค์ความรู้หรือข้อคิดทีไ่ ด้ - จัดทา/ปรบั ปรงุ แผนการนิเทศการศึกษาและนาเสนอศึกษานิเทศก์เพ่ือตรวจสอบ - ได้รบั การสะทอ้ นผลจากการนาเสนอแผนการนเิ ทศการศกึ ษาจากศึกษานิเทศก์ - รับการติดตามจาก นางสาวสิณีณาฏ อารีย์ ผอ.โรงเรียนบ้านโคกหาร และนายวิสนุ ปานมาศ ผอ. โรงเรียนสินปุนคุณวิชญ์ คณะกรรมการติดตามจากหน่วยพัฒนาฯ รับทราบข้อมูลการฝึกประสบการณ์จาก นางวิมล กาพย์เกิด ผอ.กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา การวัดและประเมินผลในระยะที่ ๒ การผล การฝกึ ประสบการณ์ไปนาเสนอในระยะที่ ๓ ปญั หา อุปสรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไม่มี ลงชือ่ พรชัย ชว่ ยเอยี ด (พรชัย ชว่ ยเอียด)
การฝกึ ประสบการณน์ เิ ทศการศกึ ษา หลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ แบบฟอร์มที่ ๑ บนั ทึกประจำวัน ฝศน.๒.๑ วนั ที่ ๒๔ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กิจกรรมที่ปฎิบัติ - จดั ทาเครื่องมือนิเทศ - นาเสนอและรับการสะท้อนผลจากศกึ ษานเิ ทศก์ องคค์ วามรู้หรอื ข้อคดิ ทีไ่ ด้ - จดั ทาเครือ่ งมือนเิ ทศตามประเด็นท่ีกาหนด โดยองิ มาตรฐานการจดั การศกึ ษาทางไกล ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน - นาเสนอเคร่อื งมอื นิเทศและรับการสะท้อนผลจากศึกษานิเทศก์เพื่อปรบั ปรุง ปญั หา อปุ สรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไม่มี ลงชอ่ื พรชัย ชว่ ยเอยี ด (พรชยั ชว่ ยเอยี ด)
การฝกึ ประสบการณน์ ิเทศการศกึ ษา หลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ แบบฟอร์มท่ี ๑ บันทึกประจำวนั ฝศน.๒.๑ วันท่ี ๒๕ เดือน มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กจิ กรรมทีป่ ฎบิ ตั ิ - plc กล่มุ เร่ืองแผนการนิเทศการศึกษา และเคร่ืองมือนเิ ทศ - นาเสนอแผนการนิเทศ เคร่ืองมือนเิ ทศและรบั การสะท้อนจาก ผอ.กลุ่มนิเทศฯ และศึกษานเิ ทศก์ องคค์ วามรู้หรอื ข้อคิดท่ีได้ - ได้แนวคิดในการปรบั ปรงุ แผนการนเิ ทศการศึกษา และเครอื่ งมือนิเทศ เพ่ือจะในไปใช้ในการลง นเิ ทศโรงเรียนต่อไป - รบั การสะท้อนจาก ผอ.กลุ่มนิเทศฯ และศึกษานเิ ทศก์ในการนาเสนอแผนการนิเทศ และเครื่องมือ นเิ ทศ ปัญหา อปุ สรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไม่มี ลงช่ือ พรชัย ชว่ ยเอียด (พรชัย ช่วยเอยี ด)
การฝกึ ประสบการณน์ ิเทศการศกึ ษา หลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ แบบฟอร์มท่ี ๑ บันทกึ ประจำวนั ฝศน.๒.๑ วนั ท่ี ๒๖ เดือน มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กจิ กรรมที่ปฎบิ ัติ - นาเสนอแผนการนิเทศการศึกษา และเคร่อื งมือในการนเิ ทศ - รับการสะทอ้ นผล จากศกึ ษานเิ ทศก์ องค์ความรู้หรอื ข้อคดิ ทไี่ ด้ - ได้รับการสะท้อนผลจากการนาเสนอแผนการนิเทศการศึกษา และเคร่ืองมือนิเทศ จากศึกษานิเทศก์ สามารถนาไปปรบั ปรงุ พฒั นา เช่น การใช้ขอ้ คาถาม ทีช่ ัดเจน เหมาะสมกับเรอ่ื งทีจ่ ะไปนเิ ทศ ปัญหา อปุ สรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไมม่ ี ลงช่อื พรชยั ชว่ ยเอยี ด (พรชัย ชว่ ยเอียด)
การฝึกประสบการณน์ ิเทศการศึกษา หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ แบบฟอร์มที่ ๑ บนั ทึกประจำวัน ฝศน.๒.๑ วันที่ ๒๗ เดือน มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กจิ กรรมท่ปี ฎบิ ตั ิ - ศกึ ษาแนวทางการทาแผนนเิ ทศของกลุ่มนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา โดย ผอ.กลุ่ม นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา - ศกึ ษาข้อมลู พน้ื ฐาน ของโรงเรยี นที่สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากระบ่ีกาหนดจะไปนิเทศ องค์ความรู้หรือข้อคดิ ที่ได้ - รูปแบบการนเิ ทศ แบบ ACER Model ของ สพป.กระบี่ - แนวทางการนิเทศ และเทคนิคการการตงั้ คาถาม จากศึกษานเิ ทศก์พเี่ ล้ียง ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ปญั หา - ไมม่ ี ลงชอ่ื พรชยั ชว่ ยเอียด (พรชัย ช่วยเอียด)
การฝกึ ประสบการณน์ เิ ทศการศกึ ษา หลกั สตู รการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ แบบฟอร์มท่ี ๑ บันทกึ ประจำวัน ฝศน.๒.๑ วนั ท่ี ๒๘ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กจิ กรรมท่ีปฎบิ ตั ิ - เดนิ ทางไปนเิ ทศโรงเรียนบา้ นเกาะปอ อ.เกาะลันตา จ.กระบ่ี - ดาเนนิ การนิเทศตามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ โดยใช้เครอ่ื งมือท่ีได้สรา้ งขนึ้ องคค์ วามรู้หรอื ข้อคิดที่ได้ - ประวัติโรงเรียน ก่อต้ังขึ้น เม่ือ 2500 ได้จัดการเรียนการสอน ด้วยระบบการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (DLTV) และใช้หนังสือ 60 พรรษา ใช้พลังงานแสงอาทิตย์โซลาเชล ไม่มีระบบสาธารนูปโภค ได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน ปี2557 การแก้ปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกโดยสอนซ่อมเสริม และติดตาม ถงึ บ้านโดยประสานกับผู้ปกครอง ส่งผลให้ผลโอเนต็ เพิ่มขนึ้ ในปี 2561 - ขอ้ มูลโรงเรยี นบ้านเกาะปอ ผอ.บัญชา แสงไชยศรี ผอ.โรงเรียน ขา้ ราชการครู 4 คน พนกั งาน 1 คน นกั เรียน จานวน 59 คน อิสลาม 100% - โครงการเดน่ ทกั ษะอาชีพบรู ณาการกับชุมชน มีภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ทาปลาหวาน ถกั อวน เล้ยี งไกไ่ ข่ ผักสวนรั้วโรงเรียน ด้านวิชาการ เด็กอ่านออก 100% ผลโอเน็ตสูง จัดการเรียนการสอนโดยใช้ DLTV เต็มรูปแบบ มีโครงการเยี่ยมบ้าน นักเรียนส่วนใหญ่อยู่กับตายาย ซึ่งผู้ปกครองคิดเสมอโรงเรียนคือ บ้านท่ีปลอดภัยท่ีสุด ถอดประสบการณ์ ผู้บริหารนาทา ครูพร้อมทา นาพาวิชาการ สานฝันเด็กไทย กา้ วไปสู่ความสาเร็จ ปัญหา อปุ สรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไม่มี ลงช่ือ พรชัย ชว่ ยเอยี ด (พรชยั ชว่ ยเอยี ด)
การฝกึ ประสบการณน์ ิเทศการศกึ ษา หลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ แบบฟอร์มที่ ๑ บนั ทกึ ประจำวัน ฝศน.๒.๑ วนั ที่ ๒๙ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กิจกรรมทป่ี ฎบิ ัติ - เดินทางไปนเิ ทศโรงเรยี นบา้ นคลองพระยา อ.ปลายพระยา จ.กระบี่ - ดาเนนิ การนิเทศตามเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ โดยใช้เคร่ืองมือท่ีไดส้ รา้ งขึน้ องคค์ วามรู้หรือข้อคดิ ท่ไี ด้ - ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียนบา้ นคลองพระยา ผอ.วไิ ล เดชฤกษ์ปาน บุคลากร ทง้ั หมด 12 คน ภายใต้ แนวคิดนาทีมงานยกระดับคุณภาพการศึกษา สร้างความเชอ่ื มั่นให้ชุมชน มีพ้ืนท่ีท้ังหมด 5 ไร่ ทางโรงเรียนมุ่ง ใช้ประโยชน์ให้ได้อย่างเต็มท่ี บุคลากรจะได้รับงานพิเศษต่าง ๆ ด้วยใจรักและต้ังใจนอกเหนือจากการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมเด่นของโรงเรียน คือ 1.โครงการเศรษฐกิจโรงเรียน 2.โครงการส่งเสริม สุขภาพ 3.การสอนโดยใช้โครงงาน - นักเรียนนาเสนอผลงานนักเรียน 1.โครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง สบู่ส้มจ๊ีด 2.ปลาดุกแดกเดียว โครงการเศรษฐกิจพอเพียง 3.นา้ ปยุ๋ หมกั ชีวภาพ 4. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ เร่ืองกระถางต้นไม้จากดอกปาล์ม 5. โครงงานอาชีพผ้ามัดย้อม 6.เม่ียงปลาทู 7.น้าส้มจี๊ด จัดการเรียนรู้โดยให้เด็กทาผลิตภัณฑ์ และให้เด็กเป็น นกั ขาย รักการออมสง่ ผลให้ไดท้ นุ การศึกษาจาก ธนาคาร ธกส.อย่างต่อเน่อื ง - สร้างความไว้วางใจกับชุมชนทาให้จานวนนักเรียนไม่ลด คือการสอนพิเศษโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย นโยบายของ ผอ.คือใชพ้ น้ื ทท่ี กุ สว่ นให้เป็นประโยชนใ์ ห้มากท่สี ุดใช้งบประมาณอยา่ งคุ้มคา่ - จดุ เดน่ และข้อค้นพบ ทางโรงเรียนไดฝ้ กึ ให้นักเรยี นมีทักษะความเปน็ ผ้นู า อ่านออกเขยี นได้ 100% ผลสอบ RT, NT และผลโอเนต็ สูงขึน้ อยา่ งต่อเน่ือง ผบู้ รหิ าร ไมห่ ยุดนง่ิ ไมเ่ ปน็ นาฬกิ าที่ตาย หลักการบริหารใช้ หลักการมีส่วนร่วม สร้างทีมงานช่วยคิด ช่วยพัฒนา ยกระดับคุณภาพการศึกษา นาพาความเชื่อม่ันจากชุมชน ให้ชุมชนเชื่อม่ันว่าโรงเรียนเป็นบ้านที่น่าอยู่ ปลอดภัย การจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติติจริง ทางาน เปน็ ทมี มขี นั้ ตอน ผอ.จะใหค้ วามสาคัญงานวิชาการเปน็ หลกั - ผอ.คิดเสมอ รอยย้ิมทีดีเป็นการผูกมิตรที่ดี ไม่ต้องลงทุน เช่ือม่ันในเรื่องความดี ทาดีย่อมได้ดี เปน็ สิง่ ทดแทน - บทสรุป บริหารแบบมีส่วนร่วม โปร่งใส จริงใจ จริงจัง สร้างพลังในทีมงาน แก้ปัญหาการเรียน เพียรสรา้ งความดี ใหโ้ รงเรียนคลองพระยานเ้ี ป็นบา้ นหลังที่สอง ครองใจในชุมชนจนไดค้ ณุ ภาพการศกึ ษา ปญั หา อุปสรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไมม่ ี ลงชื่อ พรชยั ชว่ ยเอยี ด (พรชัย ชว่ ยเอียด)
การฝึกประสบการณน์ ิเทศการศกึ ษา หลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ แบบฟอร์มท่ี ๑ บนั ทกึ ประจำวนั ฝศน.๒.๑ วนั ท่ี ๓๐ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กิจกรรมทปี่ ฎบิ ัติ - เดินทางไปนเิ ทศโรงเรยี นอา่ วลกึ อ.อา่ วลึก จ.กระบี่ - ดาเนนิ การนิเทศตามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ โดยใชเ้ ครื่องมือทไี่ ด้สร้างข้ึน องค์ความรู้หรือข้อคิดทไ่ี ด้ - โรงเรยี นอา่ วลึก ผอ.สงวน เสริฐสรุ นิ ทร์ การบริหารจัดการ ทมี งานเขม็ แข็งทั้งครูและชุมชน ส่งผลให้ คุณภาพการศึกษามีผลน่าพอใจ การวางรากฐานการศึกษา ต้องวางรากฐานตั้งแต่อนุบาล ป.1-2 การอ่าน การคดิ ตอ่ ยอดไปสู่ ป.3-6 - เป้าหมาย นักเรียนมีความสามารถทางวิชาการ คุณภาพชีวิตดี เป็นคนดี โรงเรียนอ่าวลึกต้องเป็น โรงเรียนท่ีดีท่ีสุด ในอาเภอ ซ่ึงต้องมีความพร้อมดังนี้ 1. อาคารพร้อม 2. ครูดีสอนดีมีความพร้อม 3 .การ บริหารจัดการท่ีดีเป็นแบบอย่างได้ 4.ชุมชนต้องดี ซึ่งการที่จะเป็นโรงเรียนท่ีดีท่ีสุดได้คือเด็กต้องดีต้องเก่ง การวางเป้าหมายต้องชัดเจนและเดินไปพร้อมกัน ซึ่งการที่จะเป็นโรงเรียนที่ดที ่ีสุด ห้องเรียนต้องพร้อมเน้นสื่อ เทคโนโลยี การพัฒนาไปสู่ส่ิงท่ีดีที่สุดเราต้องมีเครื่องมือทางการศึกษาพร้อม ทางโรงเรียนจึงขับเคล่ือนไปใน เร่ืองห้องเรียนมีคุณภาพ ใช้ส่ือเทคโนโลยี เมื่อจบบทเรียนก็จะให้เด็กทาแผนผังความคิดเป็นการสรุปบทเรียน การบริหารจัดการ โรงเรียนจะเดนิ ได้ 1. ผู้บรหิ าร ตอ้ งต้ังใจ. มงุ่ มน่ั พัฒนา และวางเป้าหมายทชี่ ดั เจน 2. ทิศทางการเดนิ ให้ความสาคัญกบั ทางวชิ าการ ทาใหผ้ ้ปู กครองไวว้ างใจ 3. ผู้บรหิ ารตอ้ งมีวสิ ัยทศั นค์ ิดทากอ่ นนโยบายรฐั 4. การวางแผนพฒั นาผลสัมฤทธโ์ิ ดย -วางแผนระยะยาวตัง้ แต่ อนบุ าล จนถงึ ป.6 -วางแผนระยะกลางพฒั นา ป.3 ถงึ ป.6 มกี ารทดสอบอย่างตอ่ เนือ่ ง -วางแผนระยะเร่งด่วน ตวิ ในช้ัน ป.6 ตลอดปี จากผลสอบทุกครั้งนาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์ตลอด หาวิธีการปิดจุดอ่อนเพ่ือพัฒนาอย่างต่อเน่ือง การบริหารจัดการครูสอนให้สอนตามความถนัดก่อน แต่ถ้าไม่เป็นตามเป้าต้องกล้าเปล่ียนแปลง ดูผลลัพธ์ ทช่ี ิน้ งานและคุณภาพนักเรียน ปัญหา อปุ สรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไม่มี ลงชอื่ พรชัย ชว่ ยเอยี ด (พรชยั ชว่ ยเอียด)
การฝกึ ประสบการณน์ เิ ทศการศึกษา หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ แบบฟอร์มที่ ๑ บันทึกประจำวัน ฝศน.๒.๑ วนั ท่ี ๓๑ เดอื น มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ กิจกรรมท่ีปฎบิ ตั ิ - เดนิ ทางไปนิเทศโรงเรยี นบา้ นห้วยเสียด อ.เขาพนม จ.กระบ่ี - ดาเนินการนเิ ทศตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยใช้เครอ่ื งมือทไี่ ดส้ ร้างขน้ึ องค์ความรู้หรอื ข้อคิดที่ได้ - โรงเรียนบา้ นหว้ ยเสียด โดย นายเรวตั มะสวุ รรณ ผ้อู านวยการโรงเรียน - การดาเนินงานของโรงเรียน บริหารในรูปแบบสายช้ัน ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม เป้าหมาย สอนอย่างไรให้ เดก็ มีความรู้ แตม่ ุ่งเน้นคณุ ธรรมนาความรู้ - สาเหตุที่ผลการสอบโอเน็ตสูง มาจากการท่ีจัดครูสอนตรงตามความถนัด และมีอุปกรณ์เทคโนโลยี พรอ้ ม และในภาคเรยี นที่ 1 ครูสอนตามตวั ชี้วดั และภาคเรียนที่ 2 เนน้ สอนทบทวนและตวิ - แนวทางการบริหารจัดการของผู้บริหาร ท่าน ผอ.จะทาให้ครูดูเป็นแบบอย่าง และพาทาให้ทุกฝ่าย มีส่วนรว่ มโดยมกี ารบริหารเปน็ สายช้นั - ครูทกุ คนมีความสาคญั ช่วยกันพัฒนาโรงเรียน และร่วมกนั ชืน่ ชมผลงานผลความสาเร็จมาจากทุกคน ช่วยกัน - จุดเด่นของโรงเรียน 1.บริเวณเป็นสดั สว่ น ร่มรื่น 2.นักเรียน ป.1-6 เรียนว่ายน้า สัปดาห์ละ 1 คร้ัง ป.3-6 เรียนภาษาจีน สัปดาห์ละ 1 ชม. 3.จัดกิจกรรมในตอนเช้าเหมือนกันท้ังสายช้ัน 4.การสวดมนต์หมู่ ทั้งโรงเรยี น 5.ครูจะประชุมเปน็ กล่มุ สาระฯ ทกุ วันพุธ 6.มีคณะกรรมการกลาง ทาขอ้ สอบและประเมนิ ผ้เู รยี น - บทสรุป ผู้บริหาร วิเคราะห์คนออก บอกคนได้ ใช้คนเป็น เน้นเป็นแบบอย่างสู่ความสาเร็จ เนน้ นากจิ กรรม plc มาใชใ้ นการปัญหา - แนวทางการทางานในตาแหน่ง ศน. โดย ผอ.เรวัตร มะสวุ รรณ - การไปเย่ยี มโรงเรยี นในตาแหนง่ ศน. เมื่อไปเจอโรงเรียน สิง่ ดใี ห้ชมและขยายผลต่อไป - ให้น่ิง มีจุดยนื วางตวั เปน็ กลั ยาณมิตร - ใช้วิธกี ารแบบซมึ ซับอย่าไปเปล่ียนอะไรแบบฉบั พลนั - สงิ่ ดีของเขานาไปบอกตอ่ /เผยแพร่ ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไม่มี ลงช่อื พรชยั ชว่ ยเอยี ด (พรชัย ช่วยเอียด)
การฝึกประสบการณน์ เิ ทศการศึกษา หลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ แบบฟอร์มที่ ๑ บนั ทกึ ประจำวัน ฝศน.๒.๑ วนั ที่ ๑ เดอื น กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ กิจกรรมทป่ี ฎบิ ัติ - เข้ากล่มุ plc สะท้อนผล - สรปุ องค์ความรู้จากการไปดูงานและฝึกประสบการณ์การนิเทศการศกึ ษา องค์ความรู้หรอื ข้อคิดที่ได้ - ข้อมูลจากการไปนิเทศการศึกษาท้ัง ๔ โรงเรียน ท่ีสานักงานเขตฯ กาหนดให้ไปฝึกประสบการณ์ นิเทศการศึกษา แต่ละโรงเรียนมีความแตกต่างทั้งบริบท ความพร้อม ชุมชน สังคม และแต่ละโรงเรียนก็มี จดุ เด่นและจุดทีค่ วรพัฒนาท่แี ตกต่างงกัน ปญั หา อุปสรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไม่มี ลงชอ่ื พรชยั ชว่ ยเอียด (พรชัย ช่วยเอยี ด)
การฝึกประสบการณน์ ิเทศการศึกษา หลักสูตรการพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ แบบฟอร์มที่ ๑ บนั ทึกประจำวัน ฝศน.๒.๑ วันที่ ๒ เดอื น กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ กจิ กรรมท่ปี ฎบิ ตั ิ - สรปุ ผลการฝกึ ประสบการณ์การนิเทศการศึกษา - จัดทาสรุปผลการฝึกประสบการณน์ ิเทศการศึกษา องคค์ วามรู้หรือข้อคดิ ที่ได้ - สรุปและจดั ทาสรปุ ข้อมูลการนเิ ทศ เพ่อื จดั ทารายงานผลการนิเทศการศกึ ษา ปญั หา อปุ สรรค แนวทางแก้ปัญหา - ไม่มี ลงชอื่ พรชยั ชว่ ยเอยี ด (พรชยั ชว่ ยเอยี ด)
การฝึกประสบการณน์ เิ ทศการศึกษา หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ แบบฟอร์มที่ ๑ บันทึกประจำวัน ฝศน.๒.๑ วันท่ี ๓ เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ กจิ กรรมท่ีปฎบิ ตั ิ - สรปุ ผลการฝึกประสบการณ์การนเิ ทศการศึกษา - จัดทาสรปุ ผลการฝกึ ประสบการณน์ ิเทศการศกึ ษา - ศกึ ษาดงู าน สพป.ภูเกต็ องคค์ วามรู้หรือข้อคิดที่ได้ - สรปุ และจดั ทาสรปุ ข้อมลู การนิเทศ เพ่อื จัดทารายงานผลการนิเทศการศึกษา - เปา้ หมายการจดั การศกึ ษา/คุณภาพ/โอกาส/มีสว่ นร่วม/กรอบงานกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและ ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา./สมรรถนะของศึกษานเิ ทศกท์ ่ีสง่ ผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา - PLC แลกเปลีย่ นประสบการณ์การ/ - ดงู านหอ้ งเรียน ป.7 ร.ร.กู้ก/ู - ดูงาน EP คนจน ร.ร.บ้านในทอน ปญั หา อปุ สรรค แนวทางแก้ปญั หา - ไมม่ ี ลงชือ่ พรชัย ชว่ ยเอียด (พรชยั ชว่ ยเอยี ด)
การฝึกประสบการณน์ ิเทศการศึกษา หลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ แบบฟอร์มที่ ๑ บันทึกประจำวนั ฝศน.๒.๑ วนั ที่ ๔ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ กจิ กรรมท่ีปฎิบตั ิ - นาเสนอผลการฝึกประสบการณ์การนเิ ทศการศกึ ษา องค์ความรู้หรือข้อคดิ ท่ีได้ - นาข้อมูลผลการฝึกประสบการณ์การนิเทศการศึกษานาเสนอต่อศึกษานิเทศก์พ่ีเล้ียง เพ่ือเตรียม แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ (ถอดบทเรียนสง่ิ ทไ่ี ด้เรยี นรู้จากการพัฒนาในระยะที่ ๒) ปัญหา อปุ สรรค แนวทางแก้ปญั หา - ไมม่ ี ลงช่ือ พรชัย ชว่ ยเอยี ด (พรชยั ช่วยเอียด)
การฝกึ ประสบการณน์ ิเทศการศกึ ษา หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ แบบฟอร์มท่ี ๑ บันทกึ ประจำวัน ฝศน.๒.๑ วนั ที่ ๕ เดอื น กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ กิจกรรมที่ปฎิบัติ - แลกเปลีย่ นเรียนรู้ (ถอดบทเรียนสง่ิ ท่ไี ดเ้ รยี นร้จู ากการพัฒนาในระยะที่ ๒) - รับการประเมิน องค์ความรู้หรอื ข้อคดิ ท่ีได้ - การบรหิ ารงานสู่ความเปน็ เลิศ ของ นายสายัณห์ ไกรนรา ผอู้ านวยการสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา ประถมศึกษากระบี่ - การนานโยบายสู่การปฏิบัติ คุณภาพ ลดความเหลอื่ มล้า มีส่วนรว่ ม - การบรหิ ารจัดการสู่ความเป็นเลิศ - หลกั เปา้ หมายสกู่ ารบรหิ ารจัดการ “คนสาราญ งานสาเร็จ” - การนานโยบายสกู่ ารปฏิบตั โิ ดยใช้ “โดยใชห้ อ้ งเรยี นเป็นฐาน หน้างานคอื นกั เรียน” - หลักคิดการทางาน มอื ซา้ ยกอดตารา มอื ขวากอดคน แบง่ กันดีไดด้ ที กุ คน แยง่ กันดีไม่ได้ดีสกั คน WE ARE FAMILY - ๔ ห้องหวั ใจของศึกษานิเทศก์ ศกึ ษานเิ ทศก์ท่ีดีเมื่อออกนเิ ทศ จะตอ้ งเตรยี มใจ พรอ้ มใจ และทางาน แลกดว้ ยใจ ๔ ห้องหวั ใจ ๑. เตรียมใจ เตรยี มตวั รักและศรทั ธา ในอาชพี ๒. ต้งั ใจ รูล้ ึก ร้จู รงิ รู้ว่าจะใหอ้ ะไรกับครู ๓. เจาะใจ มงุ่ สูเ่ ป้าหมายในการนิเทศ ๔. เปิดใจ ยอมรบั ความคิดเหน็ ของคนอน่ื ได้ - ศึกษานเิ ทศกท์ ี่ ผอ.เขตฯ ต้องการ ศกึ ษานเิ ทศก์ เปรียบเหมือน ดอกกหุ ลาบ คอื ๑. ทรงดี คอื บุคลิก การพูดจา การวางตัว ต้องสร้างความนา่ เช่อื ถือ ๒. สีสวย คอื มศี าสตร์และศิลป์ในการนเิ ทศ ๓. กล่ินหอม คือ มีความคดิ ความงาม และมคี วามสามารถ ๔. หยามแหลมคม คอื มคี วามหลักแหลม รู้ลึก รู้จริง ด้านวชิ าการ ปญั หา อปุ สรรค แนวทางแก้ปญั หา - ไมม่ ี ลงชื่อ พรชยั ชว่ ยเอียด (พรชยั ช่วยเอยี ด)
15 การบริหารจัดการศึกษาทางไกล มีรูปแบบการบริหารจัดการท่ีประสบความสาเร็จในการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนครูท่ีสอนไม่ตรงกับวิชา ท่ีตนเองถนัด หรือเช่ียวชาญของโรงเรียนขนาดเล็ก สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบ่ี ได้ดาเนนิ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ดงั แผนภาพที่ 1 1. กาหนด 2. สรา้ งความ 3. ส่งเสรมิ 4.จดั หาและ 5. นิเทศ กากับ ประเมินและนา นโยบายและ ตระหนักและ สนับสนุน พัฒนาสอ่ื ติดตามการ ผลไปปรับปรุง วางแผนอยา่ ง ความเข้าใจ ทรพั ยากร นวัตกรรม ดาเนินงาน เป็นระบบ ใหก้ ับผ้บู ริหาร แกไ้ ข ภาพท่ี 1 แผนผังการบริหารจัดการการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล ระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบ่ี 3. รปู แบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก 3.1 รูปแบบการจดั การของโรงเรียนขนาดเล็ก รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ได้มีหน่วยงานท่ี เก่ยี วข้องได้กาหนดนโยบายและแนวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี รูปแบบการจัดการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก (สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แห่งชาติ. 2546: 21) กล่าวว่า รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กเพื่อแก้ไขปัญหาและเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาศูนย์โรงเรียน (School Center) หมายถึงการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการ ในโรงเรียน ขนาดเล็กที่มีจานวนนักเรียนต่ากว่า 120 คน ในลักษณะนานักเรียนมาเรียนร่วมกันท้ังหมด หรือมาเรียนรวมกันในบางชนั้ เรยี น หรือจัดการเรยี นการสอนเป็นชว่ งช้ันและพฒั นารปู แบบเป็นการบริหาร จดั การร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรยี นในโรงเรียนหลักและในโรงเรียนเครือข่ายให้มี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุดหมายของหลักสูตร เพ่ือแก้ปัญหาครูไม่ครบชั้น เพื่อระดมทรัพยากร
16 ของทุกโรงเรียนมาใช้เพ่ือการบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนหลักและพัฒนาโรงเรียนเครือข่ายให้เป็น แหลง่ เรยี นรู้ ซ่งึ มลี กั ษณะการดาเนนิ การ ดงั นี้ 1) รูปแบบเรียนรวมทุกชั้น เป็นการนานักเรียนจากโรงเรียนเครือข่ายบางช้ัน เช่น อนุบาล 1 – 2, ป.1 - ป.3 หรือ ป.4 - ป.6 ไปเรียนรวมกับโรงเรียนหลัก จัดระบบการเรียนการสอนร่วมกันระหว่าง โรงเรียนหลักและโรงเรียน เครือข่ายสนับสนุนค่าพาหนะให้นักเรียนที่เดินทางมาเรียนร่วมทุกคน ประกัน อุบัติเหตุให้แก่นักเรียนท่ีเดินทางมาเรียนร่วม การบริหารจัดการโรงเรียนในกรณีท่ีผู้บริหารของโรงเรียน เครือข่ายอยู่ให้บริหารจัดการโรงเรียนเครือข่าย สาหรับโรงเรียนเครือข่ายท่ีไม่มีผู้บริหารให้ผู้บริหาร โรงเรยี นหลกั เป็นผรู้ ักษาการในตาแหน่งในโรงเรียนเครือข่าย 2) รูปแบบการเรียนรวมบางชั้นเรียน มีลักษณะการดาเนินการโดยการนานักเรียนจาก โรงเรียนเครือข่ายบางช้ัน เช่น อนุบาล 1 - อนุบาล 2 หรือชั้นเรียนท่ีมีนักเรียนน้อยไม่มีครูสอน ก็นาไป รวมกับโรงเรียนในเครือข่าย ท่ีโรงเรียนหลักจัดระบบการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างโรงเรียนหลักและ โรงเรียนเครือข่าย สนับสนุนค่าพาหนะให้นักเรียนที่เดินทางมาเรียนร่วมทุกคน จัดทาประกันอุบัติเหตุ ให้แก่นักเรียน ที่เดินทางมาเรียนร่วม จัดครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมกันในชั้นเรียนที่นามารวมกัน จัดงบประมาณตามรายหัวนักเรียนที่นามารวมกัน ส่วนช้ันท่ีไม่ได้มารวมกันก็ทาการเรียนการสอน ท่ีโรงเรียนเดิมตามปกติ การบริหารจัดการโรงเรียนในกรณีท่ีผู้บริหารของโรงเรียนเครือข่ายอยู่ ให้บริหาร จัดการโรงเรียนเครือขา่ ย สาหรับโรงเรยี นเครือข่ายท่ีไมม่ ีผู้บริหาร ใหผ้ ู้บริหารโรงเรียนหลักเป็นผู้รักษาการ ในตาแหนง่ ในโรงเรยี นเครือข่าย 3) รูปแบบเรียนรวมช่วงชั้น มีลักษณะเป็นการนาเอานักเรียนมาเรียนรวมกันในแต่ละ ชว่ งชั้น เช่น ช่วงช้ันที่ 1 (ป.1 - ป.3) นานักเรียนของแตล่ ะโรงเรียนเครือขา่ ยมาเรียนรวมกันท่ีโรงเรียนหลัก ศูนย์โรงเรียนจัดครูเข้าสอน ตามระดับช่วงชั้น ตามความรู้ความสามารถและความถนัดของครู และ พิจารณาจัดจานวนครูตามเกณฑ์ จานวนครูท่ีทาการสอนจริงในชั้นเรียน ประชุมผู้บริหารโรงเรียน ขนาดเล็ก และข้าราชการครูทุกคนตามจุดศูนย์โรงเรียนระดับตาบลเรียนรวมช่วงชั้นเพื่อวางแผนในการ บริหารและจัดการเรียนการสอนร่วมกัน ดาเนินการจัดการเรียนการสอนแบบศูนย์โรงเรียนระดับตาบล ด้านการจัดการเรียนการสอน จัดครูในตาบลรวมกันพิจารณาจัดครูผู้สอน และผู้บริหารโรงเรียนเป็นทีม ตามสัดส่วนห้องเรียน แต่ละช่วงช้ันตามศูนย์ช่วงชั้นในโรงเรียนต่าง ๆ ในด้านการบริหารจัดการนั้นทุก โรงเรียน ยังคงมีสภาพเป็นโรงเรียนตามเดิม มีการบริหารจัดการตามลักษณะการบริหารโรงเรียนตามปกติ การรับนักเรียน โรงเรียนดาเนินการเกณฑ์เด็กเข้าเรียนตามปกติ เม่ือโรงเรียนแต่ละแห่งรับเด็กเข้าเรียน แล้ว จึงจัดส่งไปเรียนศูนย์โรงเรียนระดับช่วงชั้น การบริหารงานวิชาการโดยผู้บริหารและคณะครูที่สอนใน โรงเรียนนั้นร่วมกันวางแผนเร่ืองต่าง ๆ เช่น งานหลักสูตรและการนาไปใช้ งานการเรียนการสอน งานวัสดุ และสื่อการเรียนการสอน งานห้องสมุด งานนิเทศภายใน และงานพัฒนาด้านวิชาการต่าง ๆ เป็นต้น
17 การบริหารงานธุรการ การเงิน การบัญชีและการพัสดุโรงเรียน โดยงานธุรการในช้ันเรียนน้ัน มีการจัดทา แยกกันเป็นรายโรงเรยี นตามเดิมและทาภาพรวมของศูนย์ 3.2 ปัญหาการบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก จากการศึกษาสภาพการดาเนินงานของโรงเรียนขนาดเล็ก (สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2554) พบว่าโรงเรียนขนาดเล็กส่วนใหญ่ประสบปัญหาที่คล้ายคลึงกันใน 4 ด้าน คือ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านความพร้อมทางปัจจยั สนับสนุนของโรงเรียน และด้านการมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา ซึง่ ในแตล่ ะด้านมีรายละเอียดดังนี้ 1) ปัญหาด้านการบริหารจัดการ การจัดการศึกษาในอดีต รัฐบาลมุ่งเน้นการจัดตั้งโรงเรียน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่ เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้เด็กทุกคนได้ เข้าเรียน แต่ในปัจจุบันความจาเป็นดังกล่าวได้ลดลง เน่ืองจากมีความเจริญทางด้านการคมนาคมเพ่ิม มากขึ้น ประกอบกับประชากรมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จึงทาให้มีโรงเรียนขนาดเล็กเพิ่มจานวนมาก ย่ิงข้ึน ซึ่งโรงเรียนขนาดเล็กดังกล่าวมีอัตราส่วนครูต่อนักเรียน นักเรียนต่อห้องเรียนต่ากว่ามาตรฐาน ค่าใช้จ่ายต่อนักเรียน 1 คน สูงกว่าโรงเรียนขนาดอ่ืน ๆ อีกท้ังโรงเรียนยังขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ท่ีจาเป็น ต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน และในส่วนของผู้อานวยการโรงเรียนส่วนใหญ่เป็นผู้บริหารที่มี ประสบการณ์น้อย ยังขาดทักษะในการบริหารจัดการโรงเรียนซึ่งมีบริบทที่ต่างไปจากโรงเรียนขนาดอ่ืน ๆ สง่ ผลให้คณุ ภาพการจัดการศึกษายังไม่เป็นท่ีน่าพอใจ 2) ปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอน ในด้านการเรียนการสอนพบว่า ครูส่วนใหญ่ ขาดทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสภาพท่ีครูไม่ครบช้ันและนักเรียนมีจานวนน้อยในแต่ละ ช้ัน ครูสอนไม่เต็มเวลาและเต็มความสามารถ เพราะมีภารกิจอื่นท่ีนอกเหนือจากการเรียนการสอนที่ครู จานวนหน่ึงต้องปฏิบัติท้ังในสังกัดเดียวกันและจากต่างสังกัด หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ ไม่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ส่ือการเรียนการสอนและแหล่งเรียนรู้มีจานวนจากัด ซึ่งมีสาเหตุ มาจากโรงเรียนไดร้ ับงบประมาณน้อย ในท่ีสดุ กจ็ ะสง่ ผลให้นักเรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตา่ ไปด้วย 3) ปัญหาด้านความพร้อมทางปัจจัยสนับสนุนของโรงเรียน ในการจัดสรรงบประมาณให้กับ โรงเรียนที่ผ่านมา ได้ใช้เกณฑ์การจัดสรรหลาย ๆ เกณฑ์ ซึ่งขนาดโรงเรียนก็เป็นเกณฑ์หน่ึงในการจัดสรร เนื่องจากมีการคานึงถึงประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ดังน้ันจึงทาให้โรงเรียนขนาดเล็กได้รับการ จัดสรรบุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง เป็นจานวนน้อย อาคารมีสภาพเก่า ชารุด ทรุดโทรมเนื่องจากก่อสร้างมาเป็นเวลานาน ส่ือเทคโนโลยีท่ีทันสมัยยังมีไม่เพียงพอ โรงเรียนไม่สามารถ ระดมทรัพยากรจากผู้ปกครองและชุมชนได้มากนัก เนื่องจากผู้ปกครองและชุมชนดังกล่าวมีความยากจน สว่ นปจั จัยในด้านตัวนกั เรยี น พบวา่ นกั เรียนในโรงเรียนขนาดเล็กสว่ นใหญ่มาจากครอบครัวท่ียากจน 4) ปัญหาด้านการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาพัฒนาโรงเรียน ถึงแม้ว่าในปัจจุบันจะมี ตัวแทนของชุมชนและองค์กรต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาในรูปคณะกรรมการสถานศึกษา
18 ข้ันพ้ืนฐานก็ตาม แต่บทบาทของคณะกรรมการดังกล่าวยังมีไม่มากนักและหากกล่าวถึงการประสานงาน กับหน่วยงานองค์กรอื่น ท้ังภาครัฐและเอกชนด้วยแล้ว เกือบจะกล่าวได้ว่ามีน้อยมากหรือไม่มีเลย ในบาง พ้ืนที่ชุมชน ผู้ปกครอง มีฐานะยากจนไม่สามารถส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานของโรงเรียนและการ เรียนของบตุ รหลานได้เท่าที่ควร สรุปได้ว่า ปัญหาการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้านผู้เรียน ด้านครูและบคุ ลากร ด้านการบริหารจัดการ และดา้ นอาคารสถานท่ี สื่อวัสดุ อุปกรณ์ 4. งำนวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ชุติกาญจน์ นกเด่น. (2554) ได้ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการบริหารสาหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา ขอนแก่นเขต 2 พบว่าสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารโรงเรียนขนาดเล็กโดยภาพ รวมอยู่ในระดบั มาก ส่วนใหญ่มีการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในดา้ นการบรหิ ารวิชาการโดยสถานศึกษา มีการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศเพ่ือนาไปจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศกึ ษา การ ดาเนินการจัดเก็บฐานข้อมูลสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก ปัญหาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารสาหรับโรงเรียนขนาดเล็ก โดยภาพรวม อยู่ใน ระดับมาก ส่วนใหญ่มีปัญหาในด้านการบริหารงบประมาณในการจัดหาโปรแกรมระบบข้อมูล สารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการในสถานศึกษา การจัดสรรงบประมาณสาหรับการพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดหาด้านวัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของผู้ใช้งาน ความต้องการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบริหารสาหรับ โรงเรียนขนาดเล็กโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนใหญ่มีความต้องการในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในด้านการบริหารวชิ าการ ในการดาเนินการจัดเก็บฐานขอ้ มูลสารสนเทศอย่างตอ่ เน่ืองเพ่ือ พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศเพื่อนาไปจัดทารายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษาและการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้และ การพัฒนาครผู ู้สอนและผู้เรยี น เกียรติศักดิ์ เริงชัยภูมิ. (2557) ได้ศึกษาการบริหารโครงการและประสิทธิภาพโครงการ จัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาสมุทรสาคร โดยมวี ัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบรหิ ารโครงการและประสิทธิภาพโครงการ จัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสมุทรสาคร จากโรงเรียนขนาดเล็ก จานวน 27 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลคือผู้บริหาร 27 คน ครู 174 คน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับได้รับแบบสอบถาม กลับคืนคิดเป็นร้อยละ 81 วิเคราะห์หาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า
19 การบริหารโครงการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก ในสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาครในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการวางแผนมีการกาหนด ผู้รับผิดชอบในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนและกาหนดผู้รับผิดชอบในการพัฒนาคุณภาพการ จดั การเรยี นการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษา DLTV อย่างเหมาะสม ด้านการนาไปปฏบิ ัติ โรงเรียนมี ปฏิทินการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษา DLTV อย่างชัดเจน มีปฏิทินการนิเทศ มีการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์อย่างเพียงพอ และด้านการประเมินผล มีการเก็บข้อมูลตามตัวช้ีวัดอย่างครบถ้วนและนา วเิ คราะห์ไว้อย่างชัดเจน ในด้านประสิทธภิ าพการบริหารโครงการ มีความพึงพอใจในการบริหารเวลา การสอนได้ตรงตามคู่มือการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม มีความพึงพอใจในด้านคุณภาพผู้เรียนท่ีมี โอกาสได้เรียนครบทุกวิชาตามหลักสูตรแกนกลาง มีความพึงพอใจในด้านค่าใช้จ่าย โรงเรียนมี งบประมาณเพียงพอในการติดตั้งอุปกรณ์เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และในด้าน ปรมิ าณ สือ่ มจี านวนเพียงพอ การจดั เตรียมใบงาน ใบความรู้เพียงพอต่อจานวนนักเรยี น อติพร เกิดเรือง. (2560) ได้ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุท่ีมีอิทธิพลต่อนโยบายการจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็กโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายการจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก ศึกษาระดับของปัจจัยเชิงสาเหตุท่ีมีอิทธิพลต่อนโยบาย การจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเลก็ และศึกษาปัจจัยเชงิ สาเหตุท่ีมีอทิ ธิพล ต่อนโยบายการจัดการศึกษาทาง ไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก โดยศึกษาข้อมูลจาก ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จานวน 322 โรงเรียน จานวนผู้ให้ข้อมูล จานวน 644 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ผลด้วยสถิติพ้ืนฐานและเทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) พบว่านโยบายการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเลก็ ยังต้องมีการ ปรบั ปรุงการดาเนินงานในทุกด้าน ปัจจัยเบ้ืองตน้ ผู้บรหิ าร สถานศกึ ษามีความพรอ้ มของอยใู่ นระดับดี แต่การจัดทาแผนการนิเทศ กากับ ติดตามการจัดการศึกษาทางไกลยังต้องมีการปรับปรุงแก้ไข ปัจจัย ดา้ นกระบวนการ ได้แก่ การบรหิ ารจดั การ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล และ การมีส่วนร่วม ยังต้องมีการปรับปรุงการดาเนินงาน และปัจจัยด้านผลผลิต ได้แก่ ความพึงพอใจของ ผู้บริหารสถานศึกษาและครผู ู้สอนมีความพึงพอใจมากท่ีสดุ ส่วนการสรา้ งความพึงพอใจให้ผู้เรียนและ ผู้ปกครองยังต้องปรับปรุงการดาเนินงาน และปัจจัยทางบวกท่ีมีอิทธิพลทางตรงต่อนโยบาย การ จัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเลก็ ได้แก่ ความพรอ้ มของผู้บรหิ าร ความพรอ้ ม ของผู้เรียน การบริหารจัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การมี ส่วนร่วม ความ พึงพอใจของผู้บริหารและครูผู้สอน ส่วนปัจจัยทางบวกท่ีมีอิทธิพลทางอ้อมต่อ นโยบายการจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก ได้แก่ ความพร้อมของ ผู้บริหาร ความพร้อมของครูผู้สอน สื่อวัสดุอุปกรณ์ คุณภาพของเครือข่าย การวัดและประเมินผล
20 และการมีส่วนร่วม โดยปัจจัยทางลบท่ีมี อิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อนโยบายการจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก คือ คุณภาพของเครือข่าย และความพร้อมของผู้เรียน ตามลาดบั เคนวัฒน์ ฤทธิรน. (2559) ได้ศึกษาเรื่องการดาเนินงานการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 โดยมี จุดมุ่งหมาย เพื่อศกึ ษาการดาเนินงานการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมในโรงเรยี นขนาดเลก็ และ เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูต่อการดาเนินงานการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กจานวน 106 คน ครู จานวน 212 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เคร่ืองมือท่ีใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐาน โดยการสอบค่าที (t-test) ผลการศึกษาพบว่า การดาเนินการจัดการศึกษาทางไกลดาวเทียมผ่านในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 โดยภาพรวมและรายองค์ประกอบอยู่ใน ระดับมาก ผู้บริหารและครูมีความคิดเห็นต่อการดาเนินการจัดการศึกษาทางไกลดาวเทียมผ่านใน โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 2 แตกต่างกันอยา่ งมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ปัญหาการดาเนินการจัดการศึกษาทางไกลดาวเทียมผ่านในโรงเรียน ขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 มีปัญหาทั้งการกาหนด นโยบายการขับเคล่ือน ความเข้มแข็ง การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตาม และการประเมินผลและ ปรับปรุง ซ่ึงผู้บริหารและครูต้องดาเนินการแก้ไขให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม ต้องกาหนดเป็นนโยบายที่นาไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมต่อเน่ือง และมีการ ตรวจสอบเป็นระยะ ซึ่งจะส่งผลต่อการดาเนินการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมให้เป็นไปตาม เปา้ หมายทตี่ ัง้ ไว้
21 วธิ ีดำเนินกำรศึกษำ การศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษากระบ่ี โดยการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสภาพ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบี่ และทราบถึงข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาการศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทียม ผู้ศกึ ษาได้ดาเนินการศึกษาตามข้ันตอน ดงั น้ี 1. กำหนดประชำกรและกลุ่มตัวอยำ่ ง 1.1 ประชากร คือ โรงเรยี นขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากระบี่ ในปกี ารศึกษา 2559 – 2561 โดยมีจานวนโรงเรียนขนาดเล็ก ดงั นี้ - ปกี ารศกึ ษา 2559 จานวน 169 โรงเรียน - ปกี ารศกึ ษา 2560 จานวน 167 โรงเรียน - ปกี ารศกึ ษา 2561 จานวน 168 โรงเรยี น 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ โรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษากระบ่ี ท่ีมีจานวนนักเรียนน้อยกว่า 120 คน (ขนาดเล็ก) ในปีการศึกษา 2559 – 2561 โดยมีการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จานวน 79 โรงเรียน รายละเอียดดังในตาราง ท่ี 3 ตำรำงที่ 3 กลุ่มตัวอยา่ ง อำเภอ จำนวน(โรงเรียน) โรงเรียน เกาะลนั ตา 3 1 บ้านเกาะปอ 2 บา้ นสงั กาอู้ เมืองกระบ่ี 12 3 บ้านหลังโสด 1 บ้านเขาคราม(ศรีจันทร์อทุ ิศ) 2 บ้านเขาทอง 3 บา้ นคลองทราย ประชาอุทิศ 4 บ้านคลองประสงค์ 5 บ้านดนิ แดงน้อย 6 บ้านทุ่งพะยอม 7 บ้านในช่องมติ รภาพที่ 123
22 อำเภอ จำนวน(โรงเรยี น) โรงเรียน เมอื งกระบี่ 12 8 บา้ นบางขนนุ คลองท่อม 8 9 บ้านหวา่ งคลอง 10 บา้ นแหลมตง ปลายพระยา 13 11 บา้ นอ่าวนา้ เมา 12 วดั หว้ ยโต้ เมืองกระบี่ 12 1 บ้านคลองทอ่ มเหนือ 2 บา้ นคลองแรด 3 บ้านควนใต้ 4 บ้านแชงเปิง 5 บ้านทงุ่ น้ยุ 6 บ้านนางรอง 7 บา้ นบางเตียว 8 บ้านเหนือ 1 โคกยอ 2 บ้านคลองปญั ญา 3 บา้ นทะเลหอยราษฎร์อุทศิ สาขาบา้ นควนเขยี ว 4 บา้ นนาเทา 5 บ้านบกเกา้ ห้อง 6 บา้ นบางโสก 7 บ้านปากหยา 8 บา้ นศรพี ระยาราษฎรบ์ ารุง 9 วัดชอ่ งแบก 10 วัดนทีมุขาราม 11 วัดบางเหลยี ว 12 วัดบา้ นนา 13 สหกรณ์ประชาอุทศิ 1 บา้ นเขาคราม(ศรจี ันทรอ์ ทุ ิศ) 2 บา้ นเขาทอง 3 บ้านคลองทราย ประชาอุทศิ 4 บ้านคลองประสงค์
23 อำเภอ จำนวน (โรงเรียน) โรงเรยี น เมอื งกระบี่ 12 5 บา้ นดนิ แดงน้อย เขาพนม 6 บา้ นทงุ่ พะยอม ลาทบั อา่ วลกึ 7 บา้ นในชอ่ งมิตรภาพท่ี 123 8 บา้ นบางขนนุ 9 บา้ นหว่างคลอง 10 บ้านแหลมตง 11 บ้านอ่าวนา้ เมา 12 วดั หว้ ยโต้ 5 1 บ้านเขาพนม 2 บ้านโคกหาร 3 บา้ นทบั พล 4 บา้ นหนองนา้ แดง 5 บ้านหว้ ยสารสาขาบ้านช่องฉันทนา 2 1 บา้ นนาพรุ 2 บ้านสะพานพน 19 1 ชมุ ชนวัดนาเหนือ 2 บา้ นเขาแก้ว 3 บ้านเขางาม 4 บ้านเขาลอ่ ม 5 บ้านคลองยา(เจรญิ ราษฎรส์ ามคั ค)ี 6 บา้ นควนโอ 7 บา้ นช่องไม้ดา 8 บา้ นถ้าเสอื 9 บ้านทุ่ง 10 บา้ นทุ่งสูง 11 บา้ นในยวน 12 บ้านศาลาพระม่วง 13 บ้านห้วยปรศิ นา 14 บ้านหินราว 15 บ้านอ่าวน้า
24 อำเภอ จำนวน (โรงเรียน) โรงเรียน อ่าวลกึ 19 16 วัดบางโทง เหนือคลอง 17 วัดไพรสณฑ์ 18 วดั สถติ โพธาราม 19 สหกรณ์นคิ มอ่าวลกึ 3 17 1 บา้ นเกาะไทร 2 บ้านเกาะศรีบอยา 3 บา้ นเกาะฮั่ง 4 บ้านคลองเขม้า 5 บา้ นคลองเตาะ 6 บ้านคลองรัว้ 7 บา้ นคลองหวายเล็ก 8 บา้ นควนนกหว้า 9 บ้านท่านนุ่ 10 บ้านทา่ ยาง 11 บ้านท่งุ สาคร 12 บ้านนาออก 13 บ้านบกหอ้ ง 14 บา้ นปากหรา 15 บา้ นหว้ ยยูง 16 บ้านหาดยาว 17 วดั โคกยาง 2. ศกึ ษำเอกสำรและงำนวิจยั ที่เก่ยี วข้อง ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับสภาพท่ัวไปของสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษากระบี่ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม รูปแบบการจัดการศึกษา การบริหารจัดศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา รูปแบบการจัดการของโรงเรียนขนาดเล็ก ปัญหาการบริหาร จัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก และผลการทดสอบระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
25 3. วิเครำะห์คุณภำพกำรศึกษำของโรงเรียนขนำดเล็ก สังกัดสำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำ ประถมศกึ ษำกระบี่ โดยกำรจดั กำรศึกษำทำงไกลผำ่ นดำวเทียม (DLTV) 3.1 เก็บรวบรวมข้อมูลสภาพการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ ประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ปัญหาใน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และความต้องการในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3.2 รวบรวมข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2559 – 2561 3.3 จาแนก คัดเลือก และวิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2559 – 2561 ของโรงเรียนขนาดเล็กที่มีการจัดการศึกษา ทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) 3.4 วิเคราะห์และประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษากระบ่ี โดยการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) โดยใช้ค่าเฉล่ียเลขคณิต (Mean) (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543) ดงั สมการ ������ = ∑ ������ ������ เมื่อ ������ แทน คา่ เฉลี่ย ∑ ������ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด ������ แทน จานวนข้อมลู 4. สรปุ ผลกำรศึกษำ สรุปผลการศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษากระบี่ โดยการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) เป็น 2 ประเดน็ คอื 4.1 สภาพการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขต พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากระบ่ี ประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ปัญหาในการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา และความต้องการในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา 4.2 ผลคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษากระบี่ โดยการจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
26 ผลกำรศกึ ษำ การศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษากระบ่ี โดยการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสภาพ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบี่ และทราบถึงข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม ผศู้ ึกษานาเสนอข้อมลู เปน็ 2 ประเดน็ ดงั น้ี 1. สภำพกำรจดั กำรศึกษำทำงไกลผำ่ นดำวเทียม ของโรงเรียนขนำดเล็ก สงั กัดสำนักงำนเขตพื้นท่ี กำรศกึ ษำประถมศึกษำกระบี่ ประกอบดว้ ย 1.1 ข้อมูลพ้ืนฐานของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา กระบี่ โดยมีการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จากรายงานผลการดาเนินงานการจัดการ เรียนการสอน DLTV ของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ จานวน 79 โรงเรียน พบประเด็นท่นี ่าสนใจดังน้ี ตำรำงท่ี 4 ประเดน็ การศึกษาขอ้ มลู พ้ืนฐานของโรงเรยี นขนาดเลก็ จานวน (โรงเรยี น) ประเด็น 23 โรงเรยี นได้นานักเรียนมาเรยี นคละช้ันในการจัดการการเรยี นการสอน DLTV 8 โรงเรยี นตดิ ตั้งจอทวี สี งู กว่าระดับสายตามาก ทาให้นักเรียนต้องแหงนดูทีวี 33 โรงเรียนนานักเรียน 2 ห้อง มารวมไว้ในห้องเดียวกัน 12 โรงเรียนจัดห้องเรียนแลว้ มีแสงสวา่ งเข้ามาทางประตู หนา้ ต่าง สง่ ผลให้นักเรียนเหน็ ภาพทวี ไี มช่ ดั เจน 21 โรงเรียนมีทวี รี ับสัญญาณจาก ภาพ เสยี ง ไมช่ ดั เจน 1.2 ปัญหาในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากแบบนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการ เรียนการสอนด้วยการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสานักงานเขต พืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษากระบ่ี พบการแจ้งปัญหาในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ดังน้ี 1) เนื่องจากโรงเรยี นมีครผู สู้ อนไม่ครบช้ันจึงจาเป็นต้องสอนแบบบูรณาในบางสาระ 2) นกั เรียนปลายทางถ้าขาดครูควบคมุ การเรียนร้จู ะไม่เกิดขึ้นเลย
27 3) อปุ กรณ์ชารดุ บ่อย อะไหล่ในการซ่อมแซมทีวี ช่างไม่สามารถหาได้ ช่างซ่อมในเกาะหา ยาก 4) เวลาเร่มิ เรียนจากตน้ ทางเรยี นเร็วไปหน่อย 5) ขาดงบประมาณในการปรับปรุงห้องเรียนให้เหมาะสมเช่นการติดกระจกหน้าต่างทุก หอ้ งเรียนเพอื่ ปอ้ งกันไม่ให้แสงสวา่ งเข้ามารบกวนจอทีวใี นเวลาทาการเรียนการสอน 6) ช่วงเดือนน้ีมีบางชั้นรับสัญญาณไม่ได้ เวลาฝนตกสัญญาณภาพไม่ดี ในช่วงฤดูฝน สญั ญาณภาพไม่ชดั 7) จานวนครไู ม่เพียงพอกับช้นั เรยี นจงึ จาเป็นต้องคละรวมช้ันเรยี น 8) ในการติดตงั้ ทีวี โรงเรียนไม่สามารถดาเนนิ การแก้ไขได้ เน่อื งจากต้องใชง้ บประมาณ 9) เน่ืองจากเป็นโรงเรียนขนาดเล็กมีครูไม่ครบชั้นเรียนจึงมีความจาเป็นต้องนานักเรียน มาเรียน 2 ห้องมารวมในห้องเดียวกันแต่ในเบื้องต้นโรงเรียนได้แก้ปัญหาโดยการกั้น ฝาผนงั ห้องเพ่อื ป้องกนั เสียงรบกวนเรียบร้อยแล้ว 10) เน่ืองจากในปัจจุบันโรงเรียนยังไม่มีไฟฟ้า ต้องใช้พลังงานแสงอาทิตย์ บ้างพลังงานไม่ เพยี งพอ 11) การเรยี นการสอนนักเรียนจาเป็นต้องได้เรียนตามหลักสูตร แต่ถ้านักเรียนขาดครูดูแล และคอยให้การแนะนา นักเรียนก็ไม่ได้อะไรเลย จาเป็นมากสาหรับช้ันประถมต้นที่ จะตอ้ งมีครูประจาชัน้ 12) ครูมีไม่เพียงพอกับชั้นเรียน การก้ันห้องจึงต้องให้ครูสามารถดูแลให้เห็นท้ังสองชั้น ประกอบกับโรงเรียนขาดงบประมาณในการกั้นห้องให้มดิ ชิดกันเสยี งรบกวนได้ 1.3 ความตอ้ งการในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 1) ควรมีขนาดหน้าจอโทรทัศน์ท่ีใหญ่ข้ึนเพ่ือให้นักเรียนได้เห็นชัด อยากได้ จอทีวี ทใ่ี หญ่กวา่ เดิม 2) ต้องการทีวีเครื่องใหม่แบบสมาร์ตทีวี เพ่ือรองรับระบบการเชื่อมต่อแบบไร้สาย ผ่าน ระบบ WiFi 3) ครูปลายทางสามารถปรับการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกับบรบิ ทของห้องเรียน 4) ครูสรปุ ท้ายชัว่ โมงทุกชว่ั โมงทาให้สามารถแกป้ ัญหานักเรียนท่ียงั ไมเ่ ข้าใจได้ 5) ควรส่งคมู่ ือครูและใบงานก่อนเปิดภาคเรยี น 6) DLTV จะชว่ ยนักเรยี นในโรงเรียนที่ครูไม่ครบชัน้ แต่ถ้ามีครูครบช้นั นา่ จะดีกวา่ 7) ครตู ้องอยู่ควบคุมระหว่างทมี่ ีการเรยี นการสอน DLTV 8) จดั บุคลากรทางการศึกษาให้ครบจานวนชนั้ ของแต่ละโรงเรียน โรงเรยี นขนาดเลก็ น่าจะมจี านวนครูประจาชน้ั ทุกชนั้ เรียน
28 9) เนอ่ื งจากครูไม่เพียงพอจึงต้องนานักเรียนเรยี นคละชนั้ เพ่ือสะดวกในการดูแลนักเรยี น 10) เปน็ ระบบการเรียนการสอนท่ีดี 11) ควรขยายเวลาเรียนจนถงึ เวลา 15.30 น. 12) ขอสนบั สนุน ดา้ นสื่อ และบุคลากร เพื่อแกป้ ญั หาให้ตรงกับความต้องการ 13) ควรจัดสรร DLTV ให้ครบทุกช้ันเรียน 14) ทีวี จอเลก็ ทาให้ นร เห็นไม่ชดั เจนควรจดั สรรงบประมาณเพ่ือจัดซื้อจอทีวีให้มีขนาด ใหญ่ขึ้นเพียงพอต่อการจัดการสอนทุกช้ัน และไม่สามารถปรับขนาดภาพภาพให้เต็ม จอได้เพราะตัวหนังสือบริเวณขอบจอจะหายไป ควรส่งสัญญาณภาพมาให้มีขนาด ภาพพอดีกับจอ ตัวหนังสือการสอนและคาอธิบายต่าง ๆ ไม่ชิดติดขอบจอเกินไป เพราะที่โรงเรียนปลายทางเม่ือเปิดรับสัญญาณภาพกับทีวีบางรุ่นตัวหนังสือจะตก ขอบจอ อยากได้ทีวแี บบทัชสกรนี 15) การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ถือว่าเป็นเคร่ืองมือให้การจัดการ เรียนการสอนสาหรบั โรงเรียนขนาดเล็กได้อย่างดี 16) เสยี งจากตน้ ทางในแต่ละช่องควรมีระดบั เสียงทเ่ี ท่า ๆ กัน 17) เนือ่ งจากห้องเรียนน้อยต้องใช้กระดานแบง่ ครึ่งห้องเรยี นจาก 1 ห้องเป็น 2 ห้องจึง ต้องขออาคารเรยี นเพ่ิม เพื่อสะดวกในการสอนลดเสียงรบกวนเวลาเรยี น 18) ควรสนับสนนุ งบประมาณเปลี่ยนจอโทรทัศนท์ ่ีหน้าจอใหญ่ขึ้น ภาพคมชัดข้ึน 19) ทาง สพฐ.ควรจดั สรรงบก่อสร้างเพ่ิมเติมใหโ้ รงเรียนขนาดเล็กท่ีมีห้องเรียนไม่เพียงพอ 2. ผลคณุ ภำพกำรศกึ ษำของโรงเรยี นขนำดเล็ก สังกัดสำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำ กระบ่ี โดยกำรจดั กำรศกึ ษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม (DLTV) จากการสรุปผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2561 นาคะแนนเฉล่ียทั้ง 4 วิชา เฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กโดยจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม (DLTV) ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบ่ี จานวน 79 โรงเรียน มาเปรียบเทียบคะแนนเฉลีย่ กบั ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดังนี้
29 ตำรำงท่ี 5 เปรียบเทียบผลต่างคะแนนเฉล่ียกับผลคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ อำเภอ 61 ภำษำไทย 63 ภำษำองั กฤษ 64 คณติ ศำสตร์ 65 วิทยำศำสตร์ 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 เกาะลันตา -6.78 -6.88 -6.32 -9.61 -12.37 -10.51 -5.73 -6.45 -7.58 -3.98 -6.49 -2.40 เขาพนม -9.53 -0.60 -7.29 -9.60 -8.55 -5.19 -12.04 -3.66 -8.82 -4.28 -2.82 -5.03 คลองท่อม -6.05 -3.91 -1.92 -6.98 -7.07 -6.56 -7.19 -5.98 -5.35 -3.24 -4.26 -0.75 ปลายพระยา -2.66 -6.56 -2.83 -6.85 -9.19 -10.87 -4.73 -7.89 -5.77 -2.21 -4.72 -1.71 เมืองกระบี่ -9.51 -4.65 -6.49 -8.78 -7.81 -8.93 -9.34 -4.60 -9.01 -5.02 -4.92 -4.22 ลาทบั -8.06 -3.25 -1.84 -7.22 -13.14 -10.35 -7.79 -6.58 -2.28 -5.43 -1.56 -6.09 เหนือคลอง -6.95 -2.68 -8.20 -7.46 -8.93 -8.99 -8.63 -4.58 -9.22 -4.59 -4.54 -4.49 อ่าวลึก -1.01 -4.99 -4.87 -6.56 -8.01 -7.80 -5.46 -5.19 -8.48 -2.00 -4.75 -3.66 รวม -6.32 -4.19 -4.97 -7.88 -9.38 -8.65 -7.61 -5.61 -7.06 -3.84 -4.26 -3.54 0.00 63 ภาษาองั กฤษ 64 คณิตศาสตร์ 65 วิทยาศาสตร์ 61 ภาษาไทย 2559 -2.00 2560 2561 -4.00 -6.00 -8.00 -10.00 ภาพที่ 2 เปรยี บเทียบผลต่างคะแนนเฉลย่ี กบั ผลคะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ จากตารางที่ 5 และภาพท่ี 2 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของทุกรายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉล่ียของ ระดับประเทศ โดยมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นและลดลงแตกต่างกัน โดยวิชาภาษาไทย ปีการศึกษา 2560 สูงข้ึน และลดลงเล็กน้อยในปีการศึกษา 2561 เช่นเดียวกับวิชาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 สูงข้ึน และ ลดลงในปีการศึกษา 2561 วิชาภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2560 ลดลงจากปีการศึกษา 2559 และสูงขึ้น
30 เล็กน้อยในปีการศึกษา 2561 เช่นเดียวกับวิชาวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 ลดลงจากปีการศึกษา 2559 และสงู ขึ้นเล็กน้อยในปกี ารศึกษา 2561 ตำรำงที่ 6 เปรียบเทยี บผลตา่ งคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนขนาดเล็กของอาเภอเกาะลันตา ท่ีมีจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กับผลคะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ เกำะลนั ตำ 2559 2560 2561 61 ภาษาไทย -6.78 -6.88 -6.32 63 ภาษาอังกฤษ -9.61 -12.37 -10.51 64 คณิตศาสตร์ -5.73 -6.45 -7.58 65 วิทยาศาสตร์ -3.98 -6.49 -2.40 0.00 2559 61 ภาษาไทย 63 ภาษาองั กฤษ 64 คณิตศาสตร์ 65 วิทยาศาสตร์ 2560 2561 -2.00 -4.00 -6.00 -8.00 -10.00 -12.00 -14.00 ภาพท่ี 3 เปรยี บเทียบผลต่างคะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียนขนาดเลก็ ของอาเภอเกาะลันตา ท่ีมีจดั การศกึ ษา ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กับผลคะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ จากตารางท่ี 6 และภาพท่ี 3 พบว่า คะแนนเฉล่ียของทุกรายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉล่ียของ ระดับประเทศ โดยมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนและลดลงแตกต่างกัน โดยวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ วิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 ลดลง และสูงข้ึนในปีการศึกษา 2561 ต่างจากวิชาคณิตศาสตร์ ท่ีมี แนวโนม้ ลดลง
31 ตำรำงท่ี 7 เปรียบเทียบผลตา่ งคะแนนเฉล่ียของโรงเรียนขนาดเล็กของอาเภอเขาพนม ทมี่ ีจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กับผลคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ เขำพนม 2559 2560 2561 61 ภาษาไทย -9.53 -0.60 -7.29 63 ภาษาอังกฤษ -9.60 -8.55 -5.19 64 คณิตศาสตร์ -12.04 -3.66 -8.82 65 วิทยาศาสตร์ -4.28 -2.82 -5.03 0.00 2559 61 ภาษาไทย 63 ภาษาองั กฤษ 64 คณิตศาสตร์ 65 วิทยาศาสตร์ 2560 2561 -2.00 -4.00 -6.00 -8.00 -10.00 -12.00 -14.00 ภาพที่ 4 เปรียบเทยี บผลต่างคะแนนเฉลยี่ ของโรงเรียนขนาดเล็กของอาเภอเขาพนม ทมี่ ีจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กับผลคะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ จากตารางที่ 7 และภาพที่ 4 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของทุกรายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉล่ียของ ระดับประเทศ โดยมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนและลดลงแตกต่างกัน โดยวิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 สูงขึ้น และลดลงในปีการศึกษา 2561 ต่างจากภาษาอังกฤษ ท่ีมี แนวโน้มสูงขึ้น
32 ตำรำงที่ 8 เปรียบเทยี บผลตา่ งคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนขนาดเล็กของอาเภอคลองท่อม ที่มจี ดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) กับผลคะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ คลองท่อม 2559 2560 2561 61 ภาษาไทย -6.05 -3.91 -1.92 63 ภาษาอังกฤษ -6.98 -7.07 -6.56 64 คณิตศาสตร์ -7.19 -5.98 -5.35 65 วิทยาศาสตร์ -3.24 -4.26 -0.75 0.00 2559 -1.00 61 ภาษาไทย 63 ภาษาอังกฤษ 64 คณติ ศาสตร์ 65 วทิ ยาศาสตร์ 2560 -2.00 2561 -3.00 -4.00 -5.00 -6.00 -7.00 -8.00 ภาพท่ี 5 เปรียบเทยี บผลต่างคะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียนขนาดเลก็ ของอาเภอคลองท่อม ทม่ี ีจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) กบั ผลคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ จากตารางท่ี 8 และภาพที่ 5 พบว่า คะแนนเฉล่ียของทุกรายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉล่ียของ ระดับประเทศ โดยมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นและลดลงแตกต่างกัน โดย วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาวิทยาศาสตร์ ลดลงในปี 2560 และสงู ขึ้นในปี 2561 ต่างจากวิชาภาษาไทย และวชิ าคณิตศาสตร์ มแี นวโน้มสูงขน้ึ
33 ตำรำงที่ 9 เปรียบเทียบผลต่างคะแนนเฉล่ียของโรงเรยี นขนาดเล็กของอาเภอปลายพระยา ท่มี จี ดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) กับผลคะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ ปลำยพระยำ 2559 2560 2561 61 ภาษาไทย -2.66 -6.56 -2.83 63 ภาษาองั กฤษ -6.85 -9.19 -10.87 64 คณิตศาสตร์ -4.73 -7.89 -5.77 65 วิทยาศาสตร์ -2.21 -4.72 -1.71 0.00 61 ภาษาไทย 63 ภาษาอังกฤษ 64 คณิตศาสตร์ 65 วิทยาศาสตร์ -2.00 -4.00 2559 -6.00 2560 2561 -8.00 -10.00 -12.00 ภาพที่ 6 เปรยี บเทียบผลต่างคะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียนขนาดเลก็ ของอาเภอปลายพระยา ท่มี ีจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กับผลคะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ จากตารางท่ี 9 และภาพท่ี 6 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของทุกรายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของ ระดับประเทศ โดยมีแนวโน้มสูงข้ึนและลดลงแตกต่างกัน โดยวิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ และวิชา วทิ ยาศาสตร์ ลดลงในปี 2560 และเพิม่ ข้ึนในปี 2561 ตา่ งจากวิชาภาษาองั กฤษที่มีแนวโน้มต่าลง
34 ตำรำงท่ี 10 เปรียบเทียบผลต่างคะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียนขนาดเล็กของอาเภอเมืองกระบ่ี ที่มจี ดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) กับผลคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ เมืองกระบ่ี 2559 2560 2561 61 ภาษาไทย -9.51 -4.65 -6.49 63 ภาษาอังกฤษ -8.78 -7.81 -8.93 64 คณิตศาสตร์ -9.34 -4.60 -9.01 65 วิทยาศาสตร์ -5.02 -4.92 -4.22 0.00 2559 61 ภาษาไทย 63 ภาษาองั กฤษ 64 คณติ ศาสตร์ 65 วิทยาศาสตร์ 2560 2561 -2.00 -4.00 -6.00 -8.00 -10.00 ภาพท่ี 7 เปรยี บเทียบผลต่างคะแนนเฉล่ียของโรงเรียนขนาดเลก็ ของอาเภอเมืองกระบี่ ท่ีมจี ดั การศกึ ษา ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กับผลคะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ จากตารางที่ 10 และภาพท่ี 7 พบว่า คะแนนเฉล่ียของทุกรายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของ ระดับประเทศ โดยมีแนวโน้มสูงขึ้นและลดลงแตกต่างกัน โดย วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ และวิชา คณติ ศาสตร์ สงู ขึ้นในปี 2560 และลดลงในปี 2561 ตา่ งจากวิชาวิทยาศาสตรท์ ม่ี ีแนวโน้มสงู ข้ึน
35 ตำรำงที่ 11 เปรยี บเทยี บผลต่างคะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียนขนาดเลก็ ของอาเภอเกาะลาทับ ทม่ี ีจัด การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) กับผลคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ ลำทบั 2559 2560 2561 61 ภาษาไทย -8.06 -3.25 -1.84 63 ภาษาอังกฤษ -7.22 -13.14 -10.35 64 คณิตศาสตร์ -7.79 -6.58 -2.28 65 วิทยาศาสตร์ -5.43 -1.56 -6.09 0.00 2559 61 ภาษาไทย 63 ภาษาอังกฤษ 64 คณิตศาสตร์ 65 วิทยาศาสตร์ 2560 2561 -2.00 -4.00 -6.00 -8.00 -10.00 -12.00 -14.00 ภาพที่ 8 เปรยี บเทยี บผลต่างคะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียนขนาดเลก็ ของอาเภอเกาะลาทับ ท่ีมีจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) กบั ผลคะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ จากตารางท่ี 11 และภาพท่ี 8 พบว่า คะแนนเฉล่ียของทุกรายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉล่ียของ ระดับประเทศ โดยมีแนวโน้มสูงขึ้นและลดลงแตกต่างกัน โดย วิชาภาษาอังกฤษ ตาลงในปี 2560 และ สูงขึ้นในปี 2561 วิชาวิทยาศาสตร์ สูงขึ้นในปี 2560 และลดลงในปี 2561 ต่างจากวิชาภาษาไทย และ คณติ ศาสตร์ มแี นวโนม้ สงู ขนึ้
36 ตำรำงที่ 12 เปรียบเทียบผลต่างคะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียนขนาดเล็กของอาเภอเหนือคลอง ทมี่ จี ัด การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กับผลคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ เหนอื คลอง 2559 2560 2561 61 ภาษาไทย -6.95 -2.68 -8.20 63 ภาษาอังกฤษ -7.46 -8.93 -8.99 64 คณิตศาสตร์ -8.63 -4.58 -9.22 65 วิทยาศาสตร์ -4.59 -4.54 -4.49 0.00 2559 61 ภาษาไทย 63 ภาษาองั กฤษ 64 คณติ ศาสตร์ 65 วทิ ยาศาสตร์ 2560 2561 -2.00 -4.00 -6.00 -8.00 -10.00 ภาพท่ี 9 เปรียบเทียบผลต่างคะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียนขนาดเล็กของอาเภอเหนือคลอง ที่มีจัดการศกึ ษา ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กบั ผลคะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ จากตารางท่ี 12 และภาพท่ี 9 พบว่า คะแนนเฉล่ียของทุกรายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉล่ียของ ระดับประเทศ โดยมีแนวโน้มสูงข้ึนและลดลงแตกต่างกัน โดย วิชาภาษาไทย และคณิตศาสตร์ สูงขึ้น ในปี 2560 และลดลงในปี 2561 ต่างจากวิชาภาษาอังกฤษมีแนวโน้มลดลง และวิชาวิทยาศาสตร์ มีแนวโน้มสงู ขึน้
ตำรำงที่ 13 37 อำ่ วลกึ 2559 2560 2561 61 ภาษาไทย -1.01 -4.99 -4.87 63 ภาษาองั กฤษ -6.56 -8.01 -7.80 64 คณิตศาสตร์ -5.46 -5.19 -8.48 65 วิทยาศาสตร์ -2.00 -4.75 -3.66 0.00 2559 -1.00 61 ภาษาไทย 63 ภาษาองั กฤษ 64 คณิตศาสตร์ 65 วทิ ยาศาสตร์ 2560 -2.00 2561 -3.00 -4.00 -5.00 -6.00 -7.00 -8.00 -9.00 ภาพที่ 10 เปรียบเทยี บผลต่างคะแนนเฉล่ียของโรงเรียนขนาดเล็กของอาเภออ่าวลึก ทีม่ จี ัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) กับผลคะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ จากตารางท่ี 13 และภาพท่ี 10 พบว่าคะแนนเฉล่ียของทุกรายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของ ระดับประเทศ โดยมีแนวโน้มสูงขึ้นและลดลงแตกต่างกัน โดย วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ และ วชิ าวิทยาศาสตร์ ลดลงในปี 2560 และสูงข้ึนในปี 2561 ต่างจากวิชาคณิตศาสตร์ สูงข้ึนในปี 2560 และ ลดลงมากในปี 2561
38 สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษากระบี่ โดยการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบ่ี และทราบถึงข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี ม มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 1. สรุปผล สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา กระบี่ มีโรงเรียนในสังกัดจานวน 211 โรง ในปีการศึกษา 2562 มีโรงเรียนขนาดเล็ก จานวน 91 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 43.13 จะเห็นได้ว่ามีโรงเรียนขนาดเล็กจานวนมากเกือบครึ่งหนึ่งของโรงเรียน ทั้งหมด และเมื่อย้อนพิจารณาข้อมูลจานวนโรงเรียนขนาดเล็กสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา กระบี่ ในช่วงเวลา 3 ปีย้อนหลัง พบว่า ข้อมูลจานวนโรงเรียนขนาดเล็กมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีดังน้ี ปี การศึกษา 2559 มี 169 โรงเรียน ปีการศึกษา 2560 มี 167 โรงเรียน และปีการศึกษา 2561 มี 168 โรงเรียน มีสภาพปัญหาในการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษากระบ่ี พบว่า มีปัญหามีครูไม่ครบชั้น ครูไม่ตรงสาขาวิชา ครูขาดทักษะในการสอน ขาด แคลนสือ่ วสั ดุ อุปกรณ์ ห้องเรียนไม่เพียงพอ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า และมีปัญหาการอ่าน ไม่ออกเขียนไม่ได้ ส่วนความต้องการในการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงาน เขต พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากระบ่ี พบว่า ต้องการมีครูครบช้ัน ต้องการมีครูท่ีตรงสาขาวชิ าเอก ต้องการ ครูท่ีมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน ต้องการมีห้องเรียนและอาคารเรียนเพียงพอ มี สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ท่ีเพียงพอและทันสมัย และต้องการได้รับการจัดสรรงบประมาณท่ีเพียงพอในการ บรหิ ารจัดการ การศึกษาสรุปผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ใน ปีการศึกษา 2559 - 2561 นาคะแนนเฉลี่ยท้ัง 4 วิชา เฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กโดยจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (DLTV) ในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบ่ี จานวน 79 โรงเรียน มาเปรียบเทียบผลต่างคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนกับประเทศ 3 ปีย้อนหลัง พบว่า คะแนนเฉลี่ยของทุก รายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของระดับประเทศ โดยมแี นวโน้มเพิ่มข้ึนและตา่ ลงแตกต่างกัน วิชาภาษาไทย ปีการศึกษา 2560 สูงข้ึนและลดลงเล็กน้อยในปีการศึกษา 2561 เช่นเดียวกับวิชาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 สูงข้ึน และลดลงในปีการศึกษา 2561 วิชาภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2560 ต่าลงจาก
39 ปีการศึกษา 2559 และสูงข้ึนเล็กน้อยในปีการศึกษา 2561 เช่นเดียวกับวิชาวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 ตา่ ลงจากปีการศึกษา 2559 และสูงข้ึนเลก็ นอ้ ยในปีการศึกษา 2561 2. อภปิ รำยผล จากผลการศึกษาพบประเด็นท่ีน่าสนใจที่ผู้ศึกษาได้นามาอภิปรายผล ดังน้ี 2.1 สภาพการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบ่ี มีโรงเรียนในสังกัดจานวน 211 โรง ในปีการศึกษา 2562 มีโรงเรียน ขนาดเล็ก จานวน 91 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 43.13 จะเห็นได้ว่ามีโรงเรียนขนาดเล็กจานวนมากเกือบ คร่ึงหนึ่งของโรงเรียนท้ังหมด และเม่ือย้อนพิจารณาข้อมูลจานวนโรงเรียนขนาดเล็กสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษากระบี่ ในช่วงเวลา 3 ปีย้อนหลัง พบว่า ข้อมูลจานวนโรงเรียนขนาดเล็กมแี นวโน้ม เพ่ิมข้ึนทุกปีดังนี้ ปีการศึกษา 2559 มี 169 โรงเรียน ปีการศึกษา 2560 มี 167 โรงเรียน และ ปีการศึกษา 2561 มี 168 โรงเรียน มีสภาพปัญหาในการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากระบ่ี พบประเด็นในการบริหารจัดการนานักเรียนมาเรียน คละชั้นในการจัดการการเรียนการสอน DLTV มีการนานักเรียน 2 ห้อง มารวมไว้ในห้องเดียวกัน มีปัญหาการติดต้ังจอทีวีสูงกว่าระดับสายตามาก ทาให้นักเรียนต้องแหงนดูทีวี มีแสงสว่างเข้ามาทาง ประตู หน้าต่าง ส่งผลให้นักเรียนเห็นภาพทีวีไม่ชัดเจน ทีวีรับสัญญาณจาก ภาพ เสียง ไม่ชัดเจน ซึ่งสอดคล้องกับอติพร เกิดเรือง (2560) ได้ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุท่ีมีอิทธิพลต่อนโยบายการจัด การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็กโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษานโยบายการจัด การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก ศึกษาระดับของปัจจัยเชิงสาเหตุท่ีมีอิทธิพลต่อ นโยบายการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก และศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มี อทิ ธิพลต่อนโยบายการจัดการศึกษาทาง ไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก พบว่า นโยบายการจัด การศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก ยังต้องมีการปรับปรุงการดาเนินงานในทุกด้าน ปัจจัยเบ้ืองต้น ผู้บริหาร สถานศึกษามีความพร้อมของอยู่ในระดับดีแต่การจัดทาแผนการนิเทศ กากับ ติดตามการจัดการศึกษาทางไกลยังต้องมีการปรับปรุงแก้ไข ปัจจัยด้านกระบวนการ ได้แก่ การบริหาร จัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล และการมีส่วนร่วม ยังต้องมีการปรับปรุง การดาเนนิ งาน และปัจจัยด้านผลผลติ ได้แก่ ความพึงพอใจของผู้บริหารสถานศึกษาและครผู ู้สอนมีความ พึงพอใจมากที่สุด ส่วนการสร้างความพึงพอใจให้ผู้เรียนและผู้ปกครองยังต้องปรับปรุงการดาเนินงาน และปัจจัยทางบวกท่ีมีอิทธิพลทางตรงต่อนโยบาย การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียน ขนาดเล็ก ได้แก่ ความพร้อมของผู้บรหิ าร ความพร้อมของผูเ้ รียน การบริหารจัดการ การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน การวัดและประเมินผล การมีส่วนร่วม ความ พึงพอใจของผู้บริหารและครูผู้สอน ส่วนปัจจัยทางบวกที่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อนโยบายการจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียน
40 ขนาดเล็ก ได้แก่ ความพร้อมของผู้บริหาร ความพร้อมของครูผู้สอน ส่ือวัสดุอุปกรณ์ คุณภาพของ เครือข่าย การวัดและประเมินผล และการมีส่วนร่วม โดยปัจจัยทางลบท่ีมี อิทธิพลทางตรงและทางอ้อม ต่อนโยบายการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก คอื คุณภาพของเครือข่าย และ ความพร้อมของผเู้ รยี น ตามลาดบั 2.2 ศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษากระบี่ โดยการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) การศึกษาสรุปผลการทดสอบ ระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ในปีการศึกษา 2559 - 2561 นาคะแนน เฉลี่ยท้ัง 4 วิชา เฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กโดยจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในสังกัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบ่ี จานวน 79 โรงเรียน มาเปรียบเทียบผลต่างคะแนน เฉลี่ยของโรงเรียนกับประเทศ 3 ปีย้อนหลัง พบว่า คะแนนเฉล่ียของทุกรายวิชาต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของ ระดับประเทศ โดยมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนและลดลงแตกต่างกัน วิชาภาษาไทย ปีการศึกษา 60 สูงขึ้นและ ลดลงเล็กน้อยในปีการศึกษา 2561 เช่นเดียวกับวิชาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 สูงขึ้น และลดลงใน ปีการศึกษา 2561 วิชาภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2560 ลดลงจากปีการศึกษา 2559 และสูงข้ึนเล็กน้อย ในปีการศึกษา 2561 เช่นเดียวกับวิชาวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 ลดลงจากปีการศึกษา 2559 และ สูงข้ึนเล็กน้อยในปีการศึกษา 2561 ซึ่งจาเป็นต้องศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน รวมทั้งอาจ จาเป็นต้องใช้ข้อมูลย้อนหลังเพ่ิมข้ึน เพ่ือการวิเคราะห์ที่ชัดเจนและตรงประเด็น เพื่อการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาต่อไป 2.3 ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นาการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ความต้องการในการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษากระบี่ พบว่า ต้องการมีครูครบชั้น ต้องการมีครูที่ตรงสาขาวิชาเอก ต้องการครู ที่มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน ต้องการมีห้องเรียนและอาคารเรียนเพียงพอ มีสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ท่ีเพียงพอและทันสมัย และต้องการได้รับการจัดสรรงบประมาณท่ีเพียงพอในการบริหาร จัดการ ซ่ึงสอดคล้องกับชุติกาญจน์ นกเด่น (2554) ซ่ึงส่วนใหญ่มีปัญหาในด้านการบริหารงบประมาณ ในการจัดหาโปรแกรมระบบข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการในสถานศึกษา การจัดสรร งบประมาณสาหรับการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดหาด้านวัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยี สารสนเทศท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน เป็นท่ียอมรับของผู้ใช้งาน ความต้องการในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการบริหารสาหรับโรงเรียนขนาดเล็กโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนใหญ่มีความ ต้องการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านการบริหารวิชาการ ในการดาเนินการจัดเก็บฐานข้อมูล สารสนเทศอย่างต่อเนื่อง นอกจากน้ียังสอดคล้องกับเกียรติศักด์ิ เริงชัยภูมิ (2557) ซึ่งศึกษาการบริหาร โครงการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก ในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสมุทรสาครในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการวางแผนมีการกาหนดผู้รับผิดชอบในการ
41 ยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนและกาหนดผู้รับผิดชอบในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ด้วยเทคโนโลยีการศึกษา DLTV อย่างเหมาะสม ด้านการนาไปปฏิบัติ โรงเรียนมีปฏิทินการสอนด้วย เทคโนโลยีการศึกษา DLTV อย่างชัดเจน มีปฏิทินการนิเทศ มีการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์อย่างเพียงพอ และด้านการประเมินผล มีการเก็บข้อมูลตามตัวช้ีวัดอย่างครบถ้วนและนาวิเคราะห์ไว้อย่างชัดเจน ในด้านประสิทธิภาพการบริหารโครงการ มีความพึงพอใจในการบริหารเวลาการสอนได้ตรงตามคู่มือ การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม มีความพึงพอใจในด้านคุณภาพผู้เรียนที่มีโอกาสได้เรียนครบทุกวิชาตาม หลักสูตรแกนกลาง มีความพึงพอใจในด้านค่าใช้จ่าย โรงเรียนมีงบประมาณเพียงพอในการติดตั้งอุปกรณ์ เทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม และในดา้ นปริมาณ ส่ือมีจานวนเพียงพอ การจัดเตรยี มใบงาน ใบความรู้เพยี งพอต่อจานวนนกั เรียน 3. ข้อเสนอแนะ 3.1 ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการศึกษาไปใช้ 1) การนาผลการศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษากระบ่ี โดยการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ไปใช้ในสถานศึกษา ผ้บู ริหารต้องสร้างความตระหนักให้เกิดกับครู บุคลากรและผู้เรยี น ให้มีความมุ่งมนั่ ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างแท้จริง โดยนาคู่มือพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ใหไ้ ด้มาตรฐานมาเปน็ แนวทางในการขบั เคล่ือนการดาเนินการ 2) บุคลากรทุกคนในองค์กรควรปฏิบัติหน้าท่ีตามบทบาทของตนเองอย่างเต็มศักยภาพ บูรณาการกับมาตรฐาน ตัวช้ีวัดของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและยุทธศาสตร์สู่ความสาเร็จในทุก ขนั้ ตอน 3.2 ข้อเสนอแนะเพ่ือการศึกษาต่อไป 1) ควรมีการศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาท่ีเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ซ่ึงมี นักเรียนในระดับ มัธยมศึกษา 2) ควรมีการศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมรูปแบบใหม่ (NEW DLTV) เพ่ือทราบผลการนาไปใช้กับระดับชั้นอนุบาล และการศึกษากับทุก ระดับช้นั ทส่ี ามารถย้อนดูเน้ือหาได้ตลอดเวลา
42 บรรณำนุกรม กรมการศึกษานอกโรงเรยี น. (2542). คู่มือกำรตดั โอนชดุ อุปกรณ์รับสัญญำณดำวเทียมแก่หน่วยงำน สงั กดั ต่ำงๆ. กรงุ เทพฯ: ราไพเพรส. กระทรวงศึกษาธิการ.(2551). หลักสตู รกำรศกึ ษำแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำนพุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. เกษศิรินทร์ พลจนั ทร.์ (2554). กำรบรหิ ำรกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียมโรงเรียนวังไกลกังวลของ ผ้บู ริหำรโรงเรยี นสงั กัดสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พน้ื ฐำน จังหวัด ประจวบครี ขี ันธ์. วิทยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภฎั ธนบุรี. เกยี รตศิ ักด์ิ เริงชัยภูม.ิ (2557). กำรศกึ ษำประสิทธภิ ำพโครงกำรจดั กำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ของโรงเรียนขนำดเล็ก ในสังกดั สำนักงำนเขตพนื้ ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำสมุทรสำคร. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ขวญั แก้ว วชั โรทัย. (2549). การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม : การเรยี นรู้ตลอดชวี ิตด้วยเทคโนโลยี วำรสำรสโุ ขทัยธรรมำธิรำช. 2(19) : 10. จรรยา พลสมัคร. (2549). กำรจัดกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียมระดับประถมศึกษำตำมโครงกำร โรงเรียนวังไกลกังวล : กรณีศึกษำกลุ่มโรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ วิทยานิพนธก์ ารศึกษา มหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั บรู พา. ชตุ ิกาญจน์ นกเดน่ . (2554). กำรศกึ ษำสภำพปัญหำและควำมตองกำรกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ เพอื่ กำรบริหำรสำหรบั โรงเรียนขนำดเลก็ สงั กดั สำนกั งำนเขตพ้นื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำ ขอนแกน่ เขต 2. รายงานการศกึ ษาอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . โชติกา วรรณบุรี. (ธนั วาคม 2560-มกราคม 2561).“สภาวะการศึกษาไทยปี ๒๕๕๙/๒๕๖๐ แนวทางการ ปฏริ ูปการศึกษาไทย เพื่อกา้ วสยู่ ุคไทยแลนด์ ๔.๐”วำรสำรกำรศกึ ษำไทย. 15(142) : 7-11. ดษิ ฐล์ ดา ปันคามา. (2551). กำรจดั กำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียมโรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์22. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชียงใหม่. ธรี ะ รุญเจริญ. (2553). ควำมเป็นมืออำชีพในกำรจดั และบริหำรกำรศกึ ษำ ยุคปฏริ ูปกำรศึกษำ. พิมพ์ ครั้งที่ 6.กรงุ เทพฯ : ขา้ งฟ่าง. ประสาท วนั ทนะ. (2552). ควำมคิดเหน็ ของผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำและครูในกำรจัดกิจกรรมกำรศึกษำ ทำงไกลผำ่ นดำวเทียมของโรงเรียนในเขตพ้ืนทกี่ ำรศกึ ษำแมฮ่ ่องสอน เขต 2. วทิ ยานิพนธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
43 พจมาศ ขุมพลอย. (2543). กำรนำเสนอรปู แบบกำรเรียนกำรสอนท่ียึดนักเรียนเป็นศูนย์กลำงด้วย รำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรสอน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์ และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน. (2560). แนวทำงกำรดำเนนิ งำนจัดกำรเรียนกำรสอนโดยใช้กำรศึกษำทำงไกลผ่ำน ดำวเทียม (DLTV) ให้ได้มำตรฐำน. ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ. (2543). เทคนิคกำรวัดผลกำรเรียนรู้. กรุงเทพ ฯ : สวุ ีรยิ าสาส์น. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน). (2560). สรุปผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำ ระดับชำติขน้ั พื้นฐำน (O-NET) ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ 6 ปีกำรศึกษำ 2559. (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก http://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/PDF/ Summary_2559.pdf. (วันท่ีคน้ ข้อมูล 17 มกราคม 2563). สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ. (2546). รูปแบบกำรจดั กำรศึกษำในโรงเรยี นขนำด เลก็ . กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรบั สง่ สนิ ค้าและพสั ดภุ ัณฑ์ (ร.ส.พ.). สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). แนวทำงกำรประเมินคุณภำพตำมมำตรฐำน กำรศึกษำขัน้ พื้นฐำนเพื่อกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ. Burgess, J. R. D & Russell, J. E. A. (2003). The effectiveness of distance learning initiatives in organizations. Journal of Vocational Behavior, 63(1) pp 289-303. Grimes, G. (1993). ‘Going the Distance with Technology...Happy 100th Anniversary to Distance Education’. Retrieved on 16 September 2018, from http://www.oit,itd.umich.edu/reports/DistanceLeam/sectl.html James, J. K. (2004). Distance Education and Technology. Hayward : California State University, USA.Kutluk, F. A. & Gulmez, M. (2012). A research about distance education students’satisfaction with education quality at an accounting program. Procedia –Social and Behavior Sciences, 46(1) pp 2733 – 2737. Mays, T.J. (2016). Designing and developing programmes in open, distance and elearning. Progressio, 38(2), pp 132-150.
Search