Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การงานอาชีพ ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การปฏิบัติงานช่างในบ้าน

การงานอาชีพ ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การปฏิบัติงานช่างในบ้าน

Description: การงานอาชีพ ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การปฏิบัติงานช่างในบ้าน

Search

Read the Text Version

การงานอาชพีการปฏิบัตงิ านช่างในบ้าน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 กลุม่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 7 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 8 THANK YOU โทร. 0949234774 E-mail [email protected] คุณครูกญั ญาณี แสนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ทิ ยา ๖

4หน่วยการเรียนรู้ที่ การปฏิบัติงานช่างในบ้าน ตวั ชี้วดั • อภิปรายข้นั ตอนการทางานที่มีประสิทธิภาพ (ง 1.1 ม.3/1) • ใชท้ กั ษะในการทางานร่วมกนั อยา่ งมีคุณธรรม (ง 1.1 ม.3/2) • อภิปรายการทางานโดยใชท้ กั ษะการจดั การ เพ่อื การประหยดั พลงั งาน ทรัพยากร และส่ิงแวดลอ้ ม (ง 1.1 ม.3/3)

หากไม่เคยปฏิบตั ิงานช่าง และต้องการประกอบช้ันวางโทรทศั น์ ทซ่ี ื้อมาใหม่ด้วยตนเอง ควรเร่ิมต้นอย่างไร ?

ความสาคญั ของงานช่างในบ้าน ประโยชน์ของการปฏบิ ตั งิ านช่างในบ้าน การใช้ การเลือกใช้ การติดต้งั และประกอบผลิตภณั ฑส์ ่ิงของ ซ่อมแซม บารุงรักษา ปรับปรุงแกไ้ ขชิ้นงาน หรือ เคร่ื องใช้ภายในบ้าน รวมถึงการบารุ งรักษา ซ่อมแซม ผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ ใหใ้ ชง้ านไดน้ านข้ึน ดัดแปลง ปรับปรุ ง แก้ไข สร้าง หรื อผลิตชิ้นงาน วัสดุ อุปกรณ์เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ เพื่อให้การดาเนินกิจกรรมใน ใชว้ สั ดุอุปกรณ์ เครื่องมือในงานช่าง เพ่ือสร้างหรือ ชีวติ ประจาวนั ราบร่ืนและมีความสุข ผลิตชิ้นงาน ส่งเสริมความคิดสร้างสรรคแ์ ละจินตนาการในการคิดคน้ หรือการประดิษฐน์ วตั กรรม มีจิตสานึกถึงความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน ฝึก ทกั ษะการทางานและการแกป้ ัญหา ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ รู้จกั รับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี ฝึกทกั ษะนิสยั เรื่องความประหยดั

งานไม้ งานโลหะ งานปูนและคอนกรีต งานไฟฟ้า งานประปา งานเคลือบสี

รอบรู้ ละเอยี ดรอบคอบ รู้ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานช่างและรู้จกั อุปกรณ์ วางแผน ทดลอง ตรวจสอบ เคร่ืองมือ เครื่องใชใ้ นงานช่าง การปฏิบตั ิงานอยา่ งละเอียดรอบคอบ ปลอดภยั เข้าใจ ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง เขา้ ใจข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน สามารถ นาเทคโนโลยมี าปรับปรุง แกไ้ ข คานึงถึงความปลอดภยั ท้งั ต่อตนเองและผรู้ ่วมงาน ปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั และประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏิบตั ิงานเสมอ มีความสามารถ เช่ือมั่นในตนเอง วเิ คราะห์ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ านและ กลา้ คิด กลา้ ตดั สินใจ มุ่งมนั่ สามารถแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ไดด้ ี ที่จะปฏิบตั ิงานใหป้ ระสบผลสาเร็จ คดิ สร้างสรรค์ มวี นิ ัย สร้างสรรค์ ปรับปรุง แกไ้ ข หรือ เกบ็ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ดดั แปลงสิ่งต่าง ๆ ใหเ้ ป็นสิ่งใหม่ ใหเ้ หมาะสมตามประเภทของเคร่ืองมือ ประหยดั มีไหวพริบ ใชท้ รัพยากรที่มีอยา่ งประหยดั พิจารณาวา่ ชิ้นงานถูกสร้างข้ึนได้ คุม้ ค่า และเกิดประโยชนส์ ูงสุด อยา่ งไร สร้างจากความคิดใด

ซ่อมแซม ซ่อมแซมทนั ที หากพบวา่ มีอุปกรณ์ เครื่องใช้ ท่ีเกิดการชารุด งดการใชอ้ ุปกรณ์ เครื่องใชท้ ี่ชารุด เพ่ือ ป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดอนั ตรายในระหวา่ งการใช้ สงาานรวจชนิดของวสั ดุและลกั ษณะการชารุดให้ ละเอียด จะไดซ้ ่อมแซมไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ศึกษาจากคู่มือการใชง้ าน หรือแหล่งความรู้อ่ืน ๆ เพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ มูลและวธิ ีซ่อมแซมท่ีถูกตอ้ ง การซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้าตอ้ งปฏิบตั ิดว้ ย ความระมดั ระวงั และละเอียดรอบคอบเสมอ

บารุงรักษา ศึกษาวธิ ีการบารุงรักษาจากคู่มือการใชง้ าน เพ่ือใหส้ ามารถบารุงรักษาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ทาความสะอาดอุปกรณ์ เครื่องใชอ้ ยเู่ สมอ เพ่อื ป้องกนั การสะสมของเช้ือโรคต่าง ๆ อุปกรณ์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าในบา้ นทุกชนิด เมื่อ ใชเ้ สร็จควรถอดปลกั๊ ไฟออกทุกคร้ัง ไม่วางสายไฟฟ้าใกลแ้ หล่งความร้อนและสารเคมี เพราะอาจทาใหฉ้ นวนชารุด หากพบความผดิ ปกติ ใหง้ ดใชง้ านทนั ที เพื่อ ป้องกนั การเกิดอนั ตรายต่อผใู้ ชง้ าน

ติดต้งั และประกอบ ศึกษาลกั ษณะเฉพาะ ส่วนประกอบต่าง ๆ อยา่ ง ละเอียด เพอ่ื ใหต้ ิดต้งั และประกอบไดถ้ ูกตอ้ ง กาหนดตาแหน่งและสถานท่ีท่ีตอ้ งการติดต้งั ให้ เหมาะสมกบั การใชง้ านของอุปกรณ์ ศึกษาวธิ ีการติดต้งั และประกอบผลิตภณั ฑจ์ าก การอ่านคู่มือ หรือคาแนะนาการใชง้ าน เตรียมอุปกรณ์ เคร่ืองมือในงานช่างใหเ้ หมาะสม กบั สภาพพ้ืนท่ีและลกั ษณะงานที่ตอ้ งการติดต้งั ติดต้งั และประกอบผลิตภณั ฑต์ ามคู่มือการใชง้ าน อยา่ งเคร่งครัด เพ่อื ใหเ้ กิดความปลอดภยั

ไม่โยนวสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ สวมใส่อปุ กรณ์ป้องกนั เคร่ืองใช้ต่าง ๆ ให้แก่เพ่ือนร่วมงาน อนั ตรายทุกคร้ัง เช่น หมวกนิรภัย ทดสอบความคมของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ ด้วยไม้ หรือกระดาษเท่าน้ัน เศษวสั ดุ หรือเศษไม้ทเ่ี หลือใช้ ทาความสะอาด จัดเกบ็ อุปกรณ์ ควรทงิ้ ลงในถังขยะให้เรียบร้อย เคร่ืองมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ ให้เรียบร้อย สวมใส่เสื้อผ้ารัดกมุ จะช่วยให้เกดิ ความ กระฉับกระเฉงในขณะปฏบิ ัตงิ าน

ปลุกจิตสานึกอนั ตราย พิจารณาก่อนลงมือปฏิบตั ิงานวา่ สิ่งใดก่อใหเ้ กิดอนั ตรายได้ และควรฝึกจนติดเป็นนิสยั ประเมนิ ความเสี่ยง ประเมินอนั ตรายท่ีอาจเกิดข้ึนในขณะปฏิบตั ิงานวา่ จะเกิดผลอยา่ งไร ปรับเปลยี่ นให้ปลอดภยั เมื่อทราบถึงอนั ตรายท่ีอาจเกิดข้ึนแลว้ ใหค้ ิดวธิ ีการปรับปรุงแกไ้ ข เพื่อใหเ้ กิดความปลอดภยั

หมวกนิรภัย แว่นตานิรภัย ถุงมือ ป้องกนั การกระแทก ป้องกนั อนั ตรายจากการปลิว ป้องกนั การถูกตดั การเจาะทะลุของวสั ดุ การกระเดน็ ของวตั ถุมาถูกดวงตา ขีดขว่ น ถูกสารเคมี ท่ีตกลงมากระทบศีรษะ ถูกความร้อน ไฟฟ้าดูด ทคี่ รอบหูลดเสียง หน้ากากกนั ฝ่ ุน ป้องกนั วตั ถุกระเดน็ เขา้ หู ลดความดงั ป้องกนั ระบบทางเดินหายใจจากฝ่ นุ ของเสียงที่มากระทบกบั แกว้ หู ละอองขนาดเลก็ กล่ินสารเคมี รองเท้า เสื้อผ้า ป้องกนั การถูกตกกระแทก ทบั หนีบ ป้องกนั อนั ตรายจากไฟ ความร้อน ท่ิมแทงจากวสั ดุ ความร้อน สารเคมี โลหะหลอมละลาย สารเคมีกดั กร่อน

ประเมนิ ผล ตรวจสอบวา่ เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนดไวห้ รือไม่ ส่ิงใดท่ีตอ้ งปรับปรุง แกไ้ ข หรือพฒั นาใหด้ ียงิ่ ข้ึน ปฏิบตั ิตามข้นั ตอน ลงมือซ่อมแซม บารุงรักษา ติดต้งั และประกอบผลิตภณั ฑ์ ตามข้นั ตอนท่ีไดศ้ ึกษามาอยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั วางแผนการปฏิบัตงิ าน ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกบั งานท่ีตอ้ งการซ่อมแซม วธิ ีการซ่อมแซม และจดั เตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครื่องใชใ้ หพ้ ร้อม วเิ คราะห์งาน ตรวจสอบการทางานของอุปกรณ์ท่ีตอ้ งการซ่อมแซม สรุปสาเหตุสาคญั และหาวธิ ีซ่อมแซมท่ีเหมาะสม วเิ คราะห์สภาพปัญหา สารวจและวเิ คราะห์สภาพปัญหาจากการใชง้ านของอุปกรณ์ต่าง ๆ

มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั งานช่างหลากหลายสาขา มที กั ษะในการใช้อปุ กรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในงานช่าง แต่ละชนิดอย่างถูกต้อง มคี วามคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ สามารถประยกุ ต์ใช้ความรู้ กบั เทคโนโลยไี ด้อย่างเหมาะสม ตระหนักและเห็นความสาคญั ในเรื่องความปลอดภัย ในขณะปฏิบตั งิ านช่าง ใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า เพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด

ศึกษาคู่มือ จัดเตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์ หรือคาแนะนาการใช้งาน เคร่ืองมือ เครื่องใช้ให้พร้อม ศึกษาทาความเข้าใจ ลงมือปฏบิ ัตงิ าน เกย่ี วกบั ส่วนประกอบต่าง ๆ ตามทไี่ ด้วางแผนไว้ ออกแบบ วางแผน ตรวจสอบและทดลอง การปฏบิ ัติงานเป็ นข้ันตอน ใช้งานผลติ ภณั ฑ์ทตี่ ดิ ต้งั เกบ็ วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ และสถานทใี่ ห้เรียบร้อย

1 ศึกษารูปแบบช้ันวางโทรทศั น์ 2 ศึกษาทาความเข้าใจลาดบั ข้ันตอน การประกอบช้ันวางโทรทศั น์

3 จดั เตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ให้พร้อม วสั ดุ อปุ กรณ์ทใี่ ช้ สว่าน ไขควง ค้อน คตั เตอร์ 1 ไมช้ ิ้นที่ 1, 2 ขนาด 1.5 × 40 × 60 ซม. จานวนอยา่ งละ 1 แผน่ 2 ไมช้ ิ้นที่ 3 ขนาด 1.5 × 34.5 × 55 ซม. จานวนอยา่ งละ 1 แผน่ 3 ไมช้ ิ้นที่ 4 ขนาด 1.5 × 17 × 55.3 ซม. จานวนอยา่ งละ 1 แผน่ 4 ไมช้ ิ้นท่ี 5, 8 ขนาด 1.5 × 10.5 × 55.3 ซม. จานวนอยา่ งละ 1 แผน่ 5 ไมช้ ิ้นที่ 6, 7 ขนาด 1.5 × 40 × 60 ซม. จานวนอยา่ งละ 1 แผน่ 6 แผงเสียบกล่อง CD หรือ DVD จานวน 2 แผง 7 ขารองช้นั วางโทรทศั น์ จานวน 4 ขา 8 พกุ พลาสติก ตะปูเกลียว เกือกมา้ ไขควงปากแฉก

4 ลงมอื ตดิ ต้งั และประกอบผลิตภัณฑ์ 4 3 ขั้นตอนที่ การประกอบชิ้นสว่ นท่ีเปน็ โครง เรม่ิ ตน้ ของชน้ั วางโทรทัศน์ ประกอบชิน้ ส่วนช้นิ งานแผ่นไม้ชน้ิ ท่ี 3 เขา้ กบั แผน่ ไมช้ ิ้นท่ี 4 ด้วยตะปเู กลยี วและเดือยพลาสติก โดยการใช้ไขควงปากแฉก หรอื สวา่ นขนั

ข้ันตอนท่ี 4 การประกอบชิ้นไมท้ ี่ 6 และ7 3 7 6 ประกอบทใ่ี ส่ CD หรือ DVD ด้วยตะปูเกลยี วเข้ากบั แผ่นไม้ชิ้นที่ 6 และชิ้นท่ี 7 นาพกุ พลาสตกิ จานวน 4 ตัว ใส่เข้ากบั แผ่นไม้ชิ้นที่ 6 และชิ้นที่ 7 นาแผ่นไม้ชิ้นที่ 6 และชิ้นที่ 7 มาประกอบเข้ากบั แผ่นไม้ชิ้นที่ 3 ด้วยพกุ พลาสตกิ และตะปูเกลยี ว

ข้ันตอนที่ 2 ประกอบโครงนอกของ ช้นั วางโทรทศั น์ 4 8 3 7 5 6 1 นาแผ่นไม้ชิ้นท่ี 1 ซ่ึงเป็ นส่วนฐานของช้ันวางโทรทศั น์มาประกอบกบั แผ่นไม้ทป่ี ระกอบไว้แล้ว ประกอบเดือยพลาสติก 4 อนั เข้ากบั แผ่นไม้ชิ้นท่ี 5 และชิ้นท่ี 8 ประกอบเกือกม้าเข้ากบั แผ่นไม้ชิ้นท่ี 5 และชิ้นที่ 8 ประกอบแผ่นไม้ชิ้นที่ 2 เข้ากบั แผ่นไม้ชิ้นท่ี 5 ชิ้นที่ 4 และชิ้นท่ี 8 แล้วยดึ ด้วยพกุ พลาสตกิ

ข้ันตอนท่ี 2 ประกอบขาของช้นั วางโทรทศั น์ 4 8 3 7 5 6 1 ประกอบขาต้งั ช้ันวางโทรทัศน์จานวน 4 ขา เข้ากบั แผ่นไม้ชิ้นที่ 1

ข้ันตอนท่ี ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ตรวจสอบรูปแบบช้ันวางโทรทศั น์และการยดึ ตดิ แน่นของตะปเู กลยี ว ติดต้งั โทรทัศน์เข้ากบั ช้ันวางโทรทัศน์ เดนิ ระบบเสาอากาศโทรทศั น์และระบบสายไฟฟ้าให้ถูกต้องและปลอดภยั ตาม หลกั การปฏิบัติงานช่างไฟฟ้า

ข้ันตอนท่ี ทดสอบผลิตภณั ฑ์ ทดสอบและทดลองใช้ผลติ ภัณฑ์ช้ันวางโทรทศั น์ จดั เกบ็ อปุ กรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ และสถานทใ่ี ห้สะอาดเรียบร้อย

หากไม่เคยปฏิบตั งิ านช่าง ศึกษาคู่มือ หรือคาแนะนาการใช้งาน และต้องการประกอบช้ันวางโทรทศั น์ ศึกษาทาความเข้าใจเกยี่ วกบั ส่วนประกอบต่าง ๆ ?ท่ซี ื้อมาใหม่ด้วยตนเอง ควรเริ่มต้นอย่างไร ออกแบบ วางแผนการปฏบิ ตั งิ านเป็ นข้ันตอน เตรียมอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ให้พร้อม ลงมือปฏิบัตงิ านตามทไ่ี ด้วางแผนไว้ ตรวจสอบและทดลองใช้งานผลติ ภัณฑ์ทตี่ ดิ ต้ัง เกบ็ อปุ กรณ์ เครื่องมือ สถานทใี่ ห้เรียบร้อย

การงานอาชพีการปฏิบัตงิ านช่างในบ้าน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 กลุม่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 7 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 8 THANK YOU โทร. 0949234774 E-mail [email protected] คุณครูกญั ญาณี แสนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ทิ ยา ๖